OO นโม โพธิสัตวา/ อวโลกิเตศวร OO

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย ?????????, 16 มกราคม 2010.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    [​IMG]
     
  2. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    มหาปรัชญาปารมิตาสูตร


    [VDO]http://palungjit.org/attachments/a.852333/[/VDO]


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    คำ ส ว ด ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร
    ( พระสูตรว่าด้วยปัญญาอันเป็นหัวใจพาไปถึงฝั่งพระนิพพาน )

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    อายาวะโลกิติซัวรา โบดิสัตจัว กรรมบิรัม ปรัชญาปารมิตาจารัม จารา มาโน
    วียาวะโลกิติสมา ปัญจะ สกันดา อะสัตตัสจา ซัวปาวะสูญนิยะ ปาสัตติสมา
    อีฮา สารีบุทรา รูปังสูญญะ สูญนิยะตา อีวารูปา
    รูปานา เวทะสูญนิยะตา สูญญา นายะนา เวทะ ซารูปัง
    ยารูปัง สา สูญนิยะตะยา สูญนียะตา ซารูปัง
    อีวา วีดานา สังญาสัง สการา วียานัม
    อีฮา สารีบุทรา ซาวาดามา สูญนิยะตะ ลักษาณา
    อานุภานา อานิรูตา อะมะระ อะวิมะลา อานุนา อาปาริปุนา
    ทัสมาต สารีบุทรา สูญนิยะตายะ นารูปัง นาวิยานา นาสังญานา สังสการานา วียานัม
    นา จักษุ โสตรา กรรณนา ชิวหา กายา มะนา ซานะรูปัง
    สัพพะ กันดา รัสสัส สปัตตะ วียา ดามา
    นาจักษุ ดาตุ ยาวะนา มะโนวีนยะนัม ดาตุ นาวิดียา นาวิดียา เจียโย
    ยาวัดนา จาระมา ระนัม นะจาระมา ระนัม เจียโย
    นาตุขา สมุดา นิโรดา มาคา นายะนัม นาประติ
    นาอะบิส สะมะยัง ตัสมาตนะ ปรัตติถา โพธิสัตวะนัม
    ปรัชญา ปารมิตา อาสริดะ วิหะรัชชะ จิตตา อะวะระนา
    จิตตา อะวะระนา จิตตา อะวะระนา นัสติ ตวะนะ ทรัสโส
    วิปาริยะซา อาติกันดา นิสทรา เนียวานัม
    ทรียาวะ เรียววะ สิทธะ สาวา บุดดา ปรัชญา ปารมิตา
    อาสวิชชะ อะนุตตะระ สัมยัก สัมโบดิม อะบิ สัมโบดา
    ทัสมาต เนียทาวียา ปรัชญา ปารมิตา มหามันทรา
    มหาวิทยะ มันทรา อะนุตตะระ มันตรา อสมา สมาธิ มันทรา
    สาวา ตุขา ปรัชสา มานา สังญา อามิ เจียจัว
    ปรัชญา ปารมิตา มุขา มันทรา ตะติติยะ
    "คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โบดิซัวฮา"


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร (สันสกฤต वज्रच्छेदिका प्रज्ञापारमितासूत्र, จีน 金剛般若波羅蜜經, อังกฤษ Diamond Sutra)

    พระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของพระพุทธศาสนามหายาน มีชื่อเต็มในภาษาสันสกฤตว่า วัชรัจเฉทิกปรัชญาปารมิตาสูตร หมายถึงพระสูตรว่าด้วยปัญญาญาณอันสมบูรณ์ประดุจเพชรที่จะตัดภาพมายา คืออวิชชาและอุปาทานอันเป็นเครื่องกีดขวางมิให้บุคคลบรรลุถึงความรู้แจ้ง เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น เนื้อหาสาระสำคัญเป็นเรื่องราวการเทศนาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากับพระสุภูติซึ่งเป็นพระอรหันตสาวก ที่พระเชตวันมหาวิหาร ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ จะต้องกระทำด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นการอรรถาธิบายถึงหลักศูนยตา ความว่างเปล่าปราศจากแก่นสารของอัตตาตัวตนและสรรพสิ่งทั้งปวง( ไม่มีธรรมเครื่องปรุงแต่งแบบสามภพ )
    ด้วยเช่นเดียวกัน สรรพสิ่งเป็นแต่เพียงสักว่าชื่อเรียกสมมติขึ้นกล่าวขาน หาได้มีแก่นสารแท้จริงอย่างใดไม่ เพราะสิ่งทั้งปวงอาศัยเหตุปัจจัยประชุมพร้อมกันเป็นแดนเกิด หาได้ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเอง เช่นนี้สิ่งทั้งปวงจึงเป็นมายา พระโพธิสัตว์เมื่อบำเพ็ญบารมีพึงมองเห็นสรรพสิ่งในลักษณะเช่นนี้ เพื่อมิให้ยึดติดในมายาของโลก ท้ายที่สุด พระพุทธองค์ได้สรุปว่าผู้เห็นภัยในวัฏสงสารพึงยังจิตมิให้บังเกิดความยึดมั่นผูกพันในสรรพสิ่งทั้งปวง เพราะ

    สังขตธรรม( ธรรมที่ยังต้องอาศัยเครื่องปรุงแต่ง )นั้นเป็นดั่ง.....
    ภาพมายา ดั่งเงา ดั่งความฝัน ดั่งฟองในน้ำ และดั่งสายฟ้าแลบ เกิดจากการอิงอาศัยไม่มีสิ่งใดเป็นแก่นสารจีรังยั่งยืน


    แนวคิดเรื่องศูนยตานี้ได้พัฒนาต่อไปโดยท่านคุรุนาคารชุนแห่งนิกายมาธยมิกะ จนกลายเป็นความคิดหลักทางพุทธปรัชญาที่ลึกล้ำและโดดเด่นในโลกจนทุกวันนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 14 มีนาคม 2010
  5. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    http://self-aware.net/Sathien/sathien07.pdf

    อรรถกถา แห่ง ปรัชญาปารมิตาฯ
    http://self-aware.net/Sathien/sathien07.pdf


    อรรถกถาปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร​
    นอ้ มประณตคุรุผูเ้มตตา องค์พระศาสดาผูท้ รงคุณ
    พระธรรมสาดส่องหลา้ ฟ้าอรุณ เทิดพระคุณผูพ้ าทั่วฟ้าไกล
    ดรักปา บาลซัง
    ปรัชญาปารามิตาหฤทัยสูตร เป็นพระสูตรดัง เดิมที่สุด กับทัง เป็นมูลฐานของทฤษฎีศูนยตา เป็น พระสูตรสำคัญของ
    ทัง มหายานและวัชรยาน คุรุนาคารชุนผูก้ ่อตัง นิกายมาธยมิก ราว ค​
    ..1 เป็นผูร้ วบรวม อยู่ในมาธยมิกศาสตร์ ท่าน
    กุมารชีพไดแ้ ปลเป็นพากษ์จีน ประ มาณพุทธศตวรรษที่
    10 แพร่หลายมากจนถึงปัจจุบันที่เรียกว่า ซิมเก็ง

    บรรยายความปรัชญาปารามิตาหฤทัยสูตร
    ปรัชญา คือ หลักแห่งความรูชั้น สูงเพื่อใหเ้กิดปัญญา ปัญญานัน แยกออกไดเ้ป็น ​
    2 ทาง คือ สมมุติสัจจ์ หรือปัญญา
    ทางโลกและปรมัตถสัจจ์หรือปัญญาทางธรรม สมมุติสัจจ์ คือ ความจริง ที่เกิดขึน จากการรับรูข้ องอายตนะเป็นความ
    จริงจากการเปรียบเทียบ ปัญญาทางโลก นัน นำพา ความสุข ทางกาย ใจ ในระยะสัน ชั่วครัง ชั่วคราวทำใหม้ นุษย์
    หลงไหลในโลกียะสุข ส่วน ปรมัตถสัจจ์ คือ ความจริงแทดั้ง เดิม ซึ่งลึกลงไป เป็นธรรมชาติแท ้นั่นคือความว่างเปล่า
    หรือ ศูนยตา ปัญญาในทางธรรมนัน เป็นความสุขทางจิต เพื่อไดค้ วามสุขนิรันดร ปัญญาของ มนุษย์ เป็นปัญญาที่ยึด
    ติดอยู่ในความโลภ โกรธ หลง ปัญญาของพระพุทธเจา้ เป็นปัญญา แห่งอิสระ เห็นแจง้ ศูนยตา เพื่อความสุขอัน
    นิรันดร ตามความหมายแห่งพระสูตรนี เป็นไปเพื่อ ใหเ้กิด ปัญญาแห่งพระพุทธเจา้ เพื่อใหผู้ป้ ฏิบัติไดเ้ป็นเช่น
    พระพุทธเจา้ ปารามิตา แปลว่า ขา้ มไป ฝั่งโนน้ ในทางพุทธศาสนาไดแ้ บ่งโลกออกเป็น
    2 ฝั่ง โลกฝั่งนีค ือโลกียะโลก
    โลกแห่งความ หลงติด ยึดมั่น ขาดอิสระ โลกอีกฝั่งคือโลกุตระโลก คือโลกที่ประทับแห่ง พระพุทธเจา้ ทัง หลาย โลก
    แห่งความเห็นแจง้ อิสระ ศูนยตา
    ( ว่างเปล่า ) หฤทัย ความหมาย ทางโลกียะ คือ ใจอัน เป็นแหล่งเก็บปัญญา เพื่อ
    แย่งชิงความสุขทางโลก โดยยึดติด อยู่กับ ความโลภ โกรธ หลง ส่วนหฤทัยตามความหมายแห่งโลกุตระนัน คือ จิต
    แหล่งเก็บ ปัญญา เพื่อไปสู่พระนิพพาน อันจะทำใหเ้ราไดเ้ป็นเช่นพระพุทธเจา้ ในที่สุด ปรัชญาปารามิตาหฤทัย สูตร
    คือ คำสอนหัวใจแห่งปัญญานำพาขา้ มฝากฝั่ง
    พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ เมื่อปฏิบัติซึง ในปรัชญาปารามิตาเพ่งเห็นขันธ์
    5 เป็นความว่างเปล่า จึงขา้ มพน้ ทุกข์
    การเห็น การไดยิ้นของมนุษย์เริ่มดว้ ยการเห็นและไดยิ้นในระดับตืน เห็นผิวเผินก่อนหลัง จากนัน ถา้ เราไดด้ ำเนินการ
    ต่อไปก็จะเห็นและไดยิ้นดว้ ยจิตตามมา เป็นการเห็นและ ไดยิ้นลึกซึง เขา้ ไป อีกระดับหนึ่ง นั่นคือการเพ่งต่อจากการ
    เห็น เมื่อเพ่งเห็นแลว้ ไดป้ ฏิบัติต่อคือการพิจารณา ผล ที่ไดส้ มบูรณ์ คือเห็นลึกซึง ถึงธรรมชาติอันแทจ้ ริงของสรรพสิ่ง
    การเพ่งมองเห็นดว้ ยจิต คือ สมาธิ การพิจารณาต่อมาคือวิปัสสนา ทัง
    2 วิธีคือการเรียนรูแ้ ผนที่เพื่อใชใ้ น การเดินทาง
    เขา้ สู่ ประตูแห่งความเป็นพุทธะการปฏิบัติทัง
    2 วิธี เพื่อใหเ้กิดปัญญา ปัญญาที่ว่าคือปัญญา ในการ อ่านแผนที่อย่าง
    ชำนาญและไม่หลงทาง ดังที่ท่านนาคารชุนโพธิสัตว์ไดก้ ล่าวไวว้ ่า
    ปัญญา คือตา ปฏิบัติคือเทา้ จะไปถึงดินแดนที่
    เย็นสบาย
    (พระนิพพาน)”ปัญญาจากตาคือทฤษฎี ทฤษฎีที่ไม่มีการปฏิบัติ ก็เปล่าประโยชน์ การปฏิบัติที่ไม่มีทฤษฎี
    ก็สับสนหลงทางไดง้ ่าย ดั่งคนตาบอดคลำทาง ดังนัน ปัญญาจากการเพ่ง
    (สมาธิ) ปัญญาจากการคิด(วิปัสสนา)จะให ้
    ผลสมบูรณ์ คือปัญญาที่ไดจ้ ากการปฏิบัติ เราเคยไดอ้ ่าน ไดยิ้นเรื่องศูนยตา เราเคยได ้คิดถึง ความหมายของศูนยตา
    สุดทา้ ยเราเคยไดเ้ขา้ สู่ ศูนยตา นั่นคือผลที่สมบูรณ์ บรรลุความรูแ้ จง้ แลว้ ความว่างเปล่าหรือศูนยตา คือความว่าง
    เปล่า เอกภาพ สันติภาพอันนิรันดร ตามนัยแห่ง พระสูตรนีค วามว่างเปล่ามิใช่ความว่างเปล่า ซึ่งไม่มีสิ่งใดเลยไม่มี
    ความมี และความไม่มี อันเกิดขึน ลอยๆทุกสิ่งสัมพันธ์กัน ความว่างเปล่าเป็นที่เกิดของสรรพสิ่ง สรรรพสิ่งก็เป็นที่เกิด
    ของความว่างเปล่า วินาทีนีเกิดมาจากการดับของวินาทีก่อน และการดับของวินาที นีจ ึง ไดเ้กิดวินาทีหนา้ เกิดดับ
    ดับเกิด วนเวียนตลอดไป คลา้ ยดังมีและคลา้ ยดังไม่มี ความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวเนื่องกันนัน มีในทุกสรรพสิ่งไม่มียกเวน้
    ความสัมพันธ์ของเวลา อดีต ปัจจุบัน อนาคต ความสัมพันธ์ของโลก ธรรมชาติ สังคม สรรพสัตว์ มนุษย์ ความว่าง
    เปล่าเกิดในจิต ของมนุษย์ และก็มีแต่มนุษย์ที่เขา้ ถึงความว่างเปล่าได ้สิทธิพิเศษนีม ิใช่มีไวเ้พื่อใหม้ นุษย์ อยู่เหนือ
    สรรพ สิ่งทัง มวล มนุษย์ไม่ใช่ผูไ้ ดรั้บสิทธิใ นการทำลายลา้ งธรรมชาติ ในการทำลายชีวิตสัตว์ เพื่อ ความสนุกสนาน
    เพราะความหลงในอำนาจของความเป็นมนุษย์ ใชค้ วามเป็นมนุษย์ไปในทาง ที่ไม่ถูกตอ้ ง ธรรมชาติโลกก็ถูกทำลาย
    คนก็ตอ้ งรับภัยพิบัติต่างๆของธรรมชาติ ปฏิกิริยาเรือน กระจก วาตะภัย อุทกภัย ภัยจากเพลิงไหม ้คนทำลายสังคม
    เพียงเพื่อความโลภของตน เหลา้ บุหรี่ ยาเสพติด ประเทศที่รํ่ารวยดว้ ยการส่งออกอาวุธและสารเคมีในการผลิตยา
    เสพติด สุดทา้ ยเยาวชนในประเทศของตนเองก็เป็นผูเ้สพยาเสพติดมากที่สุด สงครามไม่ว่าดว้ ยวิธีใด สงครามดว้ ย
    กำลังพล สงครามเศรษฐกิจดว้ ยกำลังเงิน สงครามทางเทคโนโลยี่ ลว้ นก่อทุกข์ ใหช้ าวโลก เพียงเพื่อสนองกิเลส
    แสวงหาอำนาจความเป็นใหญ่แห่งตน หรือความชอบธรรมใน การจัดการกับผูอื้่นตามแต่ตนพอใจ การเอารัดเอา
    เปรียบของสังคมที่เข็มแข็ง ที่มีกำลัง และ ความคิด ที่ดีกว่า เพียงเพื่อความเหลือกินเหลือใชข้ องตน สิ่งซึ่งผูอ้ ่อนแอ
    กว่าไดรั้บ ก็คือความ ทุกข์ยากลำบาก แต่สิ่งซึ่งผูแ้ ข็งแกร่งไดรั้บก็คือความเย่อหยิ่งลำพอง ความล่มสลายของความ
    สุขพืน ฐาน ความกา้ วรา้ ว ความกระเสือกกระสนเพื่อหาทางเอาเปรียบผูอื้่นอยู่ตลอดเวลา ถา้ ชาวโลกไดเ้ขา้ สู่หนทาง
    แห่งปรัชญาความว่างเปล่า สิ่งเลวรา้ ยทัง หลายก็จะไม่เกิด การกิน เพื่ออยู่ สรา้ งความสมดุลของสรรพสิ่ง การอยู่เพื่อ
    กินไดท้ ำลายความสมดุลของสรรพสิ่ง ผล ของความว่างเปล่าที่สังคมโลกไดรั้บคือสันติภาพอันนิรันดร ผลความว่าง
    เปล่าที่ปัจเจก บุคคล ไดรั้บคือความหลุดพน้ จากทุกข์ทัง มวล มีแต่ผูที้่เห็นแจง้ และเขา้ ถึงซึ่งธรรมชาติแทข้ องความ
    ว่าง เปล่าเท่านัน ที่อยู่เหนือความเลวรา้ ยทัง มวล สามารถอยู่กับความเลวรา้ ยไดโ้ ดยไม่เลวรา้ ย ตาม สภาพแวดลอ้ ม
    รอบตัว ดังเช่นบัวแมเ้กิดในโคลนตม แต่บัวก็ไม่ไดป้ นเปือนดว้ ย โคลนตม เลย ทรัพย์สิน เงินทอง ถา้ เราไม่สามารถ
    เห็นถึง ธรรมชาติแทข้ องมันแทนที่เราจะ เป็นผูใ้ ช ้ทรัพย์สิน เงินทอง เรากลับเป็นผูถู้กทรัพย์สินใช ้เราตอ้ งตกเป็น
    ทาสของมัน ตอ้ งทนทุกข์ ตอ้ งใชค้ วามโลภ โกรธ หลง อย่างที่สุดเพื่อปฏิบัติตามคำสั่งของมัน รักษามัน สรรพ
    สัตว ◌์และสรรพสิ่ง ประกอบกันขึน มาจากขันธ์
    5 รูป และ จิตวิญญาณรูป(ร่างลักษณะ) เวทนา (อารมณ์) สัญญา

    (​
    ความจำ) สังขาร(ความรูสึ้ก) วิญญาณ(จิต) กรรม(การกระทำ) ต่างๆ ทัง หลายทัง ปวงเกิดจากขันธ์ 5 เป็นตัวควบคุม
    ดังเช่นการไดเ้ห็นภาพอันสวยสดงดงาม ความ ชอบความตอ้ งการเป็นเจา้ ของ ก็บังเกิดขึน ต่างกันในขณะที่เห็นภาพ
    ที่น่าเกลียดน่ากลัว ความชอบความอยากไดเ้ป็นเจา้ ของก็ไม่เกิด ปรากฏการณ์ทัง
    2 เกิดจากขันธ์ทัง 5 เป็นตัว
    กำหนด เมื่อใดเราเพ่งเห็นขันธ์
    5 คือความว่างเปล่า สิ่งปรุงแต่งทัง หลายไม่เกิด ภาพที่เห็นดว้ ย ตาจะมีลักษณะใดก็
    ตามจะสวยสดงดงามในจิตเสมอ ดังเช่นภาพพระพุทธ องค์ในรูปดุรา้ ย น่าเกลียดน่ากลัวของชาวพุทธวัชระยาน
    พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ท่านเห็นแจง้ และเขา้ ถึง ซึ่งความว่างเปล่า อยู่เหนือความควบคุมของขันธ์
    5 สามารถใช ้
    ขันธ์
    5 ตามความปารถนา ของตน จึงขา้ มพน้ สรรพทุกข์ ตัวเราก็เช่นกันเห็นแจง้ ในความว่างเปล่าของขันธ์ 5 เราก็
    เป็น เช่นดังองค์พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์
    รูปคือความว่างเปล่า ความว่างเปล่าคือรูป รูปไม่อื่นไปจากความว่างเปล่า ความว่างเปล่าไม่อื่นไปจากรูป เวทนา
    สัญญา สังขาร วิญญาณก็ว่างเปล่า
    ประโยคทัง
    2 นีเ ป็นแก่นแทข้ องพุทธศาสนา เห็นแจง้ ในรูปเป็นความว่างเปล่า เกิดมหาปัญญา เห็นแจง้ ในความว่าง
    เปล่าเป็นรูป เกิดมหากรุณา เมื่อเห็นแจง้ ในรูปเป็นความว่างเปล่า ความ ยึดมั่นในอัตตาย่อมไม่มี ความหลงในสรรพสิ่ง
    ย่อมถูกทำลายไป ธรรมชาติแทข้ องสรรพสิ่ง ก็บังเกิดขึน ในจิต นั่นคือ มหาปัญญา ไดบั้งเกิดขึน และเมื่อไดเ้ห็นแจง้
    ถึงความว่างเปล่าได ้กำเนิดรูป ความรัก ความเมตตากรุณาในสรรพสิ่งที่เป็นธรรมชาติแทย้ ่อมบังเกิดขึน ความ เมตตา
    กรุณาที่เกิดจากปัญญาจะไม่มืดบอด หลงไหล ความรักของพ่อและแม่ที่มีต่อลูกเป็น เช่นเดียวกัน แต่พืน ฐานของการ
    ปฏิบัตินัน ต่างกัน โดยพืน ฐานของผูช้ ายจะแข็งกรา้ ว การ แสดงออกในความรักก็แข็งแกร่งขาดความอ่อนโยน ดุด่า
    เฆี่ยนตี จนบางครัง ผูเ้ป็นลูก ก็ เขา้ ใจผิดว่าสิ่งที่พ่อปฏิบัติกับตนเป็นความเกลียดชัง ส่วนผูเ้ป็นแม่รักลูกดว้ ยความ
    อ่อนโยน ทะนุถนอมลูกส่วนใหญ่เขา้ ใจว่าแม่รักตนเองมากกว่าพ่อ นั่นคือความคิดของปุถุชน ที่ยังยึดติด ในอัตตา ใน
    ขันธ์
    5 ความทุกข์ทรมานใจก็เกิดขึน พรหมวิหารธรรมเป็นบ่อเกิดอันสำคัญ ของ มหาเมตตา เมตตา(ปารถนาใหผู้อื้่น
    พน้ ทุกข์
    ) กรุณา(ปารถนาใหผู้อื้่นเป็นสุข) มุทิตา (ยินดีในความสุขของผูอื้่น) อุเบกขา(ความมีใจเป็นกลาง วางเฉยใน
    สิ่งที่ควรจะเฉย
    ) การมองสภาพของสรรพสัตว์ทัง หลายที่เกิดมาในปัจจุบัน ดว้ ยอุปทานในปัจจุบันว่าผูนี้เ ป็นพ่อ เป็น
    แม่ เป็นญาติ เป็นคนในครอบครัว เป็นคนในชาติเดียวกัน คนนีเ ป็นมิตร คนนีเ ป็นศัตรู แต่ ความเป็นจริงเราไม่รูเ้ลยว่า
    ผูที้่เป็นศัตรูของเราในอดีตชาติหลายกัปหลายกัลป์เคยเป็นพ่อ เป็นแม่ของเรามาก่อนหรือไม่ ดว้ ยการมองโดยโพธิจิต
    ใหม้ องว่าทุกสรรพชีวิต ที่เกิดมาใน ปัจจุบันชาติ ไดเ้คยเป็นบุรพการีของเรามาก่อน ความรัก ความเมตตาต่อสังคม
    ชาวโลก ก็เกิดขึน สันติภาพเกิดขึน ทันที เพียงแต่เรารักชาวโลกที่อายุนอ้ ยกว่าเหมือนนอ้ ง เหมือนลูก ของตน รักผูสู้ง
    วัยกว่าดังพี่ ดังพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ความสุขสันติในสังคมเกิดขึน ความ ขัดแยง้ ถึงแมจ้ ะเกิดขึน ก็เป็นความขัดแยง้ ที่
    เกิดขึน ดว้ ยความรัก มิใช่เกิดขึน ดว้ ยความเกลียดชัง ความเอารัดเอาเปรียบกัน ความมุ่งแต่จะทำลายลา้ งกันก็ไม่บัง
    เกิดขึน สำหรับอุเบกขาธรรมนัน ความวางเฉยความมีใจเป็นกลาง ชนส่วนใหญ่แปลความเพื่อเขา้ ขา้ งตนเอง เพียงใช ้
    ความ หมายว่างความวางเฉย ดังเช่นคำว่าสิทธิมนุษย์ชน มนุษยธรรม
    2 ประโยคนีม ีไวเ้พื่อใชบี้บ บังคับสังคมที่
    อ่อนแอกว่าเท่านัน ธิเบตถูกจีนยึดครองมาหลายสิบปี ไม่เคยมีมหาอำนาจ ใดในโลกนีใ ชค้ ำว่าสิทธิมนุษย์ชนกันชาวธิ
    เบต สิทธิมนุษย์ชน และมนุษยธรรมจะใชก้ ็ต่อเมื่อ ตนเองไดป้ ระโยชน์ และเมื่อตนเองอาจจะตอ้ งเสียประโยชน์ ก็ไม่
    ยอมพูดถึงคำว่ามนุษย์ชนเลย ไม่ว่าใครจะเรียกรอ้ งอย่างไร สันติภาพอันนิรันดรของโลกจึงเป็นแต่เพียงความฝัน
    เท่านัน ใน ความเป็นจริงสันติภาพอันนิรันดร์ของโลกเกิดขึน ไดถ้ า้ ชาวพุทธทั่วโลก เขา้ สู่หัวใจของพุทธ ศาสนาอย่าง
    แทจ้ ริงนั่นคือเขา้ สู่ปรัชญาแห่งความว่างเปล่าเผยแพร่ และชักชวนชาวโลก ใหเ้ขา้ สู่หัวใจของพุทธศาสนาและปฏิบัติ
    กันอย่างจริงจัง ชาวพุทธในบางส่วนก็มุ่งเนน้ ไปทางปัจเจก พุทธะถือเรื่องการหลุดพน้ เป็นเรื่องส่วนตน ไม่เกี่ยวขอ้ ง
    กับสังคมโลก ถึงแมพ้ ระพุทธเจา้ ไดส้ อน ทางเดินใหช้ าวพุทธเดินไปสู่นิพพานมากมาย แต่เสน้ ทางที่พระพุทธเจา้ ได ้
    ปฏิบัติเองเป็น ตัวอย่าง คือ เสน้ ทางเห่งมหาเมตตาและมหาปัญญา การมุ่งแต่มหาปัญญาอย่างเดียว โดย ละทิง
    เสน้ ทางแห่งมหาเมตตาความสุขส่วนตนบังเกิด แต่ความสุขโดยรวมจากสันติภาพอัน นิรันดรก็ไม่สามารถบังเกิดขึน
    ได ้พระนิพพานที่บังเกิดขึน ก็เอนเอียง ดังนัน พระปัญญา และพระเมตตาตอ้ งควบคู่กันไป คนอยู่ สังคมตอ้ งอยู่
    ธรรมชาติตอ้ งอยู่และโลกก็ตอ้ งอยู่ คำสอนของพุทธศาสนาวัชระยาน พระพุทธเจา้ โปรดสรรพสัตว์ตามสภาพของ
    สรรพสัตว์นัน ๆ บางครัง อ่อนโยนนุ่มนวล บางครัง แข็งกรา้ ว บางครัง ดุรา้ ยน่ากลัว บางครัง มาในรูปของสตรีเพศ การ
    แสดงปาฏิหาริย์ปราบชฎิลดาบสก็ดว้ ยเหตุผลนี แต่ทัง ปวงเกิดจากมหาปัญญา ที่เห็นซึง ใน ธรรมชาติของสรรพสัตว์
    นัน ๆ และความรักเมตตาในสรรพสัตว์ทัง หลาย พระพุทธเจา้ ทัง หลาย ทรงมอบพระมหาปัญญาไวใ้ หช้ าวโลกดว้ ยพระ
    มหากรุณา หัวใจของพระพุทธศาสนา หัวใจ ของ การตรัสรูก้ ็คือพระมหาปัญญาธิคุณและพระมหากรุณาธิคุณของพระ
    พุทธองค์นั่นเอง
    โอ สารีบุตร ธรรมทัง ปวงว่างเปล่า ไม่มีรูป ไม่เกิด ไม่ดับ ไม่มัวหมอง ไม่ผ่องแผว้ ไม่เพิ่ม ไม่ลด ในความว่างเปล่าไม่
    มีรูป
    ธรรมในความหมายแรก คือ องค์รวมขันธ์
    5 เป็นสรรพสิ่งทัง หลายทัง ปวง และเป็นความว่าง เปล่าดังไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้
    ธรรมในอีกความหมายหนึ่ง คือ คำสอนของพระพุทธเจา้ อันเป็นแนว ทางในการบรรลุความหลุดพน้ ธรรมใน
    ความหมายทัง
    2 เกาะเกี่ยวสัมพันธ์ อิงซึ่งกัน และกัน อยู่ตลอด เมื่อเราเห็นแจง้ ธรรมแรกเป็นความว่างเปล่า ธรรมที่ 2

    ก็ว่างเปล่าดว้ ย เมื่อสรรพสิ่ง ว่างเปล่า เครื่องมือในการจัดการสรรพสิ่งก็ไม่จำเป็นตอ้ งมีและว่างเปล่าดว้ ย ขณะที่
    ความ ว่างเปล่าบังเกิดสรรพสิ่ง ธรรมทัง ปวงก็ บังเกิดดว้ ย เพื่อจัดการควบคุมสรรพสิ่ง เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็น
    ธรรมชาติ แทข้ องสรรพสัตว์ ในสายตาของผูที้่ยังวนเวียนอยู่ในขันธ์ ​
    5 การเกิด เป็นความปิติยินดี เป็นความบริสุทธิ
    ดังคำพูดที่ว่าเด็กเกิดใหม่บริสุทธิป ราศจากมลทิน ใดๆ การเกิดเป็นความที่ควรปิติจริงๆ แต่จะมีสักกี่คนที่รูค้ ่าของการ
    เกิดที่แทจ้ ริง ค่าที่แทจ้ ริงของ การเกิดคือมีแต่มนุษย์เท่านัน ที่มีโอกาสไดต้ รัสรูห้ ลุดพน้ จากบ่วงของวัฏฏะ ความตาย
    ที่คน ทั่วไปว่าเป็นความหมองมัว โศกเศรา้ การตายโดยที่เรายังไม่ไดพั้ฒนาจิตเลย นัน จึงเป็นความ เศรา้ เสียใจ เมื่อ
    มีชีวิตอยู่เราไดใ้ หอ้ ะไรแก่โลก แก่สังคมโลกบา้ ง เราไดตั้กตวงโอกาส ที่ไดเ้กิด มาโดยพัฒนาจิตวิญญาณของเรามา
    ไดเ้ท่าไร และเราไดม้ อบสิ่งซึ่งเราไดตั้กตวง ไวคื้นใหแ้ ก่ ชาวโลก เป็นจำนวนเท่าไร การเขา้ สู่ภูเขาศักดิส ิทธิแ ลว้
    กลับออกไปดว้ ยมือเปล่า เป็นเรื่องที่ น่าเศรา้ มาก เช่นกันการเขา้ ภูเขาศักดิส ิทธิแ ลว้ ไม่ไดอ้ ะไรเลยแถมยังร่วมกัน
    ทำลายภูเขา ศักดิส ิทธิอ ีกนั่นยิ่งน่าเศรา้ มากกว่า ภูเขาศักดิส ิทธิ คือ โลก การเกิดมาคือการเขา้ สู่ภูเขา ศักดิส ิทธิ ทุกๆ
    วันเราไดเ้ขา้ ร่วมขบวนการทำลายภูเขาอยู่ตลอดเวลาทัง รูตั้วและไม่รูตั้ว การใชท้ รัพยากรอย่างไม่รูคุ้ณค่า การสรา้ ง
    มลภาวะต่างๆ การกอบโกยหาประโยชน์เขา้ ตน โดยไม่คำนึงถึง ผลเสียที่สังคมชาวโลกจะตอ้ งรับนั่น คือ การเขา้ ร่วม
    ขบวนการทำลายภูเขา ศักดิส ิทธิ ขณะเดียวกันเราไดใ้ หอ้ ะไรแก่ภูเขาศักดิส ิทธิบ า้ ง เราเคยรักษาสภาวะแวดลอ้ ม ของ
    โลก หรือไม่ เราเคยร่วมสรา้ งสันติในสังคมบา้ น สังคมประเทศ สังคมโลกหรือไม่ เราเคย ชักชวนชาวโลกใหเ้ขา้ สู่
    หนทางแห่งความสุขอันนิรันดร์ตามแนวแห่งพระศาสนาหรือไม่ ภูเขา ศักดิส ัทธิแ มวั้นหนึ่งขา้ งหนา้ จะตอ้ งสูญสลายไป
    ดว้ ยกฎแห่งอนิจจัง แต่ภูเขาศักดิส ิทธิ ไม่ควร ตอ้ งถูกทำลายลงดว้ ยมือของเรา หนทางที่จะยืดเวลาแห่งกฎอนิจจัง
    ของโลกคือการนำมนุษย์ เขา้ สู่พระนิพพานใหม้ ากที่สุด ก่อนที่ความตายจะมาเยือนเรา สรรพสัตว์ตนใดที่เกิดแลว้ ไม่
    ตอ้ งตาย เมื่อสรรพสัตว์เกิดแลว้ ตอ้ งตาย ทำไมการเกิดจึงบริสุทธิ แลว้ การตายตอ้ งหมองมัว ความบริสุทธิท ี่คนชอบ
    เปรียบเทียบว่าเป็นดังเช่นกระจกเงาที่ไม่มีฝุ่นละออง จับสามารถ มองภาพของตัวเราไดชั้ดเจนทุกชอกทุกมุม สภาพ
    นัน เราตอ้ งมั่นคอยเช็ดคอยถู และคอยดู ตัวเองอยู่ตลอดเวลา ถา้ กระจกเงาไม่มี ตัวเราก็ไม่มี เราก็ไม่ตอ้ งเช็ดถู เราก็
    ไม่ตอ้ งคอยส่อง ดูตัว สภาพเช่นนีไ ม่ดีกว่าหรือ ดังนัน เมื่อขา้ มพน้ สิ่งปรุงแต่งเขา้ สู่ความว่างเปล่า เห็นแจง้ ใน
    ธรรมชาติแทแ้ ลว้ สิ่งทัง หลายทัง ปวงก็ไม่บริสุทธิแ ละไม่ไม่บริสุทธิ ไม่มัวหมองและ ไม่ไม่มัวหมอง ความไม่เพิ่มไม่
    ลด เมื่อเราเขา้ สู่ความว่างเปล่าแลว้ สรรพสิ่งก็ไม่ปรากฏในจิต เราก็ไม่จำเป็นตอ้ งเพิ่มหรือลดสิ่งใด ขณะที่เราอยู่ใน
    สถานที่ที่ว่างเปล่าสักแห่ง เราพอใจ และ เป็นสุขในสภาพนัน เราก็ไม่จำเป็นตอ้ งดิน รนหาสิ่งใดมาเพิ่มหรือรือ ทิง สิ่งใด
    แต่ถา้ เราไม่พอใจ ไม่เป็นสุขในสภาพนัน เราก็ตอ้ งเหนื่อย ดิน รนเพื่อเพิ่มหรือลด เปลี่ยนแปลงสภาพนัน เมื่อเรา อยู่
    เหนือสภาพความพอใจและไม่พอใจแลว้ เราก็ไม่จำเป็นตอ้ งเสาะหาธรรมวิเศษ ใดๆมาเพิ่ม หรือตัดทอนธรรมใดๆ
    พุทธสุภาษิตที่ว่า รูจั้กพอก่อสุขทุกสถานแมเ้ลยล่วงมา มากกว่า
    2500ปี ยังคงความศักดิส ิทธิเ สมอ ความเดือดรอ้ น
    ของมนุษย์ทั่วทัง โลกก็มาจาก คำว่า
    ไม่รูจั้กพอประเทศใหญ่ ไม่พอ ในอำนาจจึงพยายามทอดเงาของตนออกไป
    เพื่อทับเพื่อปกคลุมประเทศ ที่เล็กกว่า คนในประเทศเล็กไม่พอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่ก็รับทุกสิ่งที่ประเทศอันไดชื้่อว่า
    พัฒนา แลว้ ส่งมาให ้ไม่ว่าสิ่งที่ไดรั้บจะเป็นพิษหรือไม่ จะเหมาะสมกับตนหรือไม่ ดว้ ยความดอ้ ย ความรูแ้ ห่งตน เห็น
    ชา้ งขี ขีต ามชา้ ง สุดทา้ ยจึงถูกชา้ งเหยียบตาย ดังนัน พุทธสุภาษิตที่ว่า การ เป็นหนีเป็นทุกข์ในโลกจึงบังเกิดขึน จึง
    เป็นการเพิ่มทุกข์ในทุกข์ พระพุทธเจา้ ไม่เป็นทุกข์ใด เลยเพราะพระองค์อยู่ดว้ ยธรรมเดียวคือ ว่างเปล่า
    ไม่มีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่มีตา หู จมูก ลิน กาย ใจ ไม่มีรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ธรรมารมณ์ ไม่มีจักษุ
    ธาตุ ไม่มีมโนธาตุ
    ตา หู จมูก สิน กาย ใจ เป็นอายตนะภายใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ เป็นอายตนะ ภายนอกที่ต่อเชื่อม
    กัน ตาเห็น หูไดยิ้น ลิน ไดร้ ส กายรับความรูสึ้ก ใจในที่นีใ นทางวิทยาศาสตร์ คือ สมองแหล่งรวมของสรรพสิ่งที่
    อายตนะรับเขา้ มา ทุกส่วนที่ประกอบขึน เป็นกายเนือ เกิดจาก เซลล์ไข่ของแม่และเซลล์อสุจิของพ่อ เซลล์ไดแ้ บ่งตัว
    เป็นอวัยวะต่างๆ และเป็นตัวมนุษย์ใน ที่สุด ในทุกขณะที่เราคงสภาพเป็น มนุษย์อยู่นันเซลล์ในร่างกายตายไป และ
    เกิดใหม่ขึน ทดแทนตลอด เวลา การตาย การเกิดของเซลล์เมื่ออยู่ในสภาพที่สมดุลตามธรรมชาติ ของมัน ก็เกิด
    ความ สมบูรณ์แข็งแรง แต่ถา้ เซลล์ตายมากกว่าเกิด หรือเกิดมากกว่าตาย ความสมดุล ไม่มี เราก็เจ็บไข ้ไดป้ ่วย
    ทรมาน อะไรเป็นสาเหตุหลักของการขาดสมดุลของเซลล์ อาหาร นํา อากาศ ยา อารมณ์ อุตสาหกรรมที่ขาดความรู้
    ขาดการควบคุม เห็นแก่ได ้ปล่อยสารพิษ ลงในนํา ปล่อยควันพิษขึน ไปในอากาศ การใชส้ ารเคมีอย่างมหาศาลใน
    การผลิตอาหาร การใชย้ าเคมีอย่างฟุ่มเฟือย ในการ รักษาโรค การแย่งชิงกันกิน ชิงกันอยู่ ชิงกันมี ทำใหเ้กิด
    ความเครียดอารมณ์เสียเกือบตลอดชีวิต เรากินนําที่เป็นพิษ กินอาหารที่เป็นพิษ หายใจเอา อากาศพิษ แถมดว้ ย
    อารมณ์ที่เกิดขึน ก็เป็นพิษ อีก ทุกสิ่งเกิดขึน จากการกระทำของคน ฉะนัน คนจึงไดรั้บสิ่งเหล่านัน ปลูกถั่วไดถั้่วปลูก
    แตงได ้แตง กฎแห่งกรรมที่หนีไม่พน้ เซลล์ตาย มากกว่าเกิดหรือเซลล์เกิดมากกว่าตายเป็นส่วนที่เกิดกับ กายแต่
    ความรูสึ้ก เจ็บปวดทรมาน เกิดในจิต ถา้ เรายังคงไม่เขา้ ใจใน ธรรมชาติแทข้ องเซลล์เราก็จะตอ้ งประสพ กับความ
    เจ็บ ปวด ทรมานครัง แลว้ ครัง เล่าเมื่อเรารูซึ้ง ถึงธรรมชาติแทข้ องเซลล์ เราก็ปฏิบัติต่อมันได ้อย่างถูกตอ้ ง ความ
    สมดุลก็เกิดตลอดเวลา ความรู้ความไม่รูทั้ง หลายทัง ปวงเกิดขึน ในจิต เท่านัน มีเพียงจิต เท่านัน ที่เห็นหรือไม่เห็น
    ธรรมชาติของเซลล์
    (ความว่างเปล่า) และจิตก็เป็น ผูสั้่งการใหสู้่ การ ปฏิบัติ ดังนัน ความสุขจากความสมบูรณ์
    แข็งแรง หรือความทุกข์จากการ เจ็บปวด จิตจึงเป็น ผูรั้บผลนัน ในผูมี้ปัญญาเมื่อพูดถึงขันธ์
    5 เป็นศูนย์ ความบรรลุก็
    บังเกิด ขึน ทันที ในระดับ รอง เมื่อยังไม่เห็นถึงความว่างเปล่าของสรรพสิ่งก็ตอ้ งพูดใหแ้ คบเขา้ มาอีก ชีใ หเ้ห็นถึง
    ร่างกายเป็นศูนย์ เมื่อซึง แลว้ สรรพสิ่งก็คือศูนย์ จักษุธาตุ
    (ธรรมชาติแทข้ องการเห็น) มโนธาตุ(ธรรมชาติแทข้ องการ
    รับรู
    )้ การรูเ้ห็นในธรรมชาติแทข้ องสรรพสิ่ง รูเ้ห็นในความ ว่างเปล่า ก็ว่างเปล่าเช่นกันไม่มีอวิชชา ไม่มีความสิน ไป
    แห่งอวิชชา ไม่มีความแก่ ความตาย ไม่มีความสิน ไปแห่งความแก่ ความตายอวิชชา ความหมายตามพจนานุกรม
    หมายถึงความ ไม่รู้เฉพาะความไม่รูท้ างแห่งนิพพาน ไม่รูอ้ ดีต อนาคต ไม่รูแ้ จง้ ดว้ ยปัญญา มิใช่การเรียนรู้อวิชชา
    เป็นหัวใจของวงลอ้ แห่งวัฏฏะสงสารเป็นกงกรรมกงเกวียนที่เราตอ้ งเวียนว่าย ใครบา้ งที่ ตอ้ งอยู่ในวงลอ้ แห่งวัฏฏะนี
    คำตอบ คือสรรพสัตว์ใน
    3 ภพ 6 ภูมิ มนุษย์ก็คือหนึ่งในสรรพสัตว์ นัน คำถามต่อมา ทำไมจึงเกิดขึน หรือทำไมเรา
    ตอ้ งเวียนว่ายในวัฏฏะสงสาร เนื่องจากมิจฉาทิฐิ ความสับสน อันเกิดจากอวิชชา อวิชชาทำใหเ้รามองโลกตามโลกียะ
    วิสัย และยึดถือว่าสิ่งเหล่า นัน เป็นตัวตน เป็นความจริงจัง แต่ถา้ พิจารณาใหดี้แลว้ สิ่งเหล่านีเ ป็นเหมือนความฝัน เป็น
    อนิจจัง เป็นสิ่งที่จับตอ้ งไม่ได ้เวลาเราฝันดี เราก็มีสุข อารมณ์ของเราก็คลอ้ ยตามสิ่งที่เราฝัน ถา้ เราฝันรา้ ยเราก็จะ
    เกิดความกลัวหรือกังวล เราไดใ้ หค้ วามรูสึ้กนัน ในภาคความฝัน แต่เมื่อ เราตื่นขึน มา เราก็จะรูว้ ่าสิ่งเหล่านัน ไม่ไดเ้ป็น
    จริง วัฏฏะสงสารก็เหมือนกับตัวเราอยู่ในภาคฝัน สำหรับสรรพสัตว์ที่มีปัญญาอยู่ในโลกียะวิสัยจึงยังคงตอ้ งเวียนว่าย
    อยู่ในกงลอ้ ของวัฏฏะต่อไป เพราะยังคงยึดถือความฝันว่าเป็นจริงอยู่ นัน คือหลงอยู่ในมิจฉาทิฐิ ไม่ว่าภาคของ ความ
    ฝัน หรือ ภาคของการตื่นนัน เกิดขึน ที่จิต ฉะนัน ผูป้ ฏิบัติธรรม คือ ผูที้่พยายามปลุกจิตใหตื้่นนั่นเอง พระพุทธเจา้ ได ้
    ทรงตรัสไวว้ ่า ใจเป็นเอก ในช่วงที่มีการตัง ครรภ์ธาตุของพ่อ และธาตุของ แม่ผสมกันเป็นช่วงที่จิตกำลังจะเขา้ สู่กาย
    เริ่มประกอบธาตุรวมกัน จิตของทารกยังเฉยอยู่ และต่อมาจิตก็เริ่มสั่งการใหมี้การเคลื่อนไหว นั่นคือจิตไดเ้ริ่มปฏิบัติ
    หนา้ ที่ของมันแลว้ กาย วาจา ใจ แมจ้ ะตอ้ งเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน แต่ กาย วาจา จะไม่สามารถทำการใดๆไดถ้ า้ ใจไม่
    สั่ง กายกรรม วจีกรรมจะไม่เกิดถา้ มโนกรรมไม่เกิด ดังนัน สภาพและภพภูมิต่างๆ จึงเกิดขึน จาก ปริมาณอวิชชา ของ
    จิต โดยธรรมชาติแลว้ จิตทุกดวงมีความเป็นพุทธะอยู่ แต่พุทธะในจิตไมส ามารถส่องแสงเปล่งประกายออกมาได ้
    เนื่องดว้ ยเจา้ ของ ดวงจิตยังคงไม่เห็นถึงธรรมชาต ◌ิแทข้ องอวิชชา เมื่อใดที่สามารถเห็นถึงธรรมชาติแทข้ องอวิชชา
    ว่าว่างเปล่า เมื่อนัน ประกาย แสงแห่งพุทธะก็ส่องสว่างออกมาทันที บทความของ
    Heinrich Dumoulin ในชื่อ

    Buddhism in the World ​
    ที่นิวยอร์ค เมื่อปี พ.. 2519 ไดก้ ล่าวไวว้ ่า

    “​
    การเป็นพุทธะหมายถึงการดำรงอยู่ที่ใดก็ไดด้ ว้ ยชีวิตที่รื่นเริง เบิกบาน นับตัง แต่ชั่วโมงเชา้ ที่คุณตื่นขึน จนถึงชั่วโมง
    สุดทา้ ยที่เขา้ นอน แต่การจะเรียกชีวิตที่รื่นเริงยินดีในขณะที่ไม่มีเสือ ผา้ จะใส่ ไม่มีเงินจะใช ้หรือมีความเจ็บป่วยใน
    บา้ นเรือน และเจา้ หนีม าเคาะประตูบา้ นทวงหนี เป็นสิ่งที่ไรส้ าระ

    โดยความเห็นของขา้ พเจา้ แลว้ พุทธภาวะหมายถึงการดำรงอยู่ที่ใดก็ไดด้ ว้ ยชีวิตที่รื่นเริง เบิกบานตลอดเวลา แต่เพิ่ม
    คำว่า โดยปราศจากทุกข์ การไม่ใส่เสือ ผา้ เพราะ ไม่ยอมใส่ หรือ ไม่หามาใส่ หรือไม่มีทางหามาใส่ มันเป็นประเด็นที่
    ต่างกัน การไม่มีเงินใชก้ ็เช่นกัน หาไม่ไดกั้บ ไม่ไดห้ า หรือหาไดน้ อ้ ยแต่ใชม้ าก มันสัมพันธ์กับการที่เจา้ หนีม าทวงหนี
    การเป็นหนีเ ป็นทุกข์ ในโลกพระพุทธเจา้ ทรงตรัสไว ้เป็นหนีอ ยู่แน่นอนพุทธะภาวะไม่เกิด และเช่นกันสภาวะการเป็น
    หนีเ กิดขึน จากการปฏิบัติตัวเกินพอดี พุทธภาวะเกิดขึน ไดใ้ นสภาพที่กายเจ็บป่วย กายป่วยจิต จิตป่วยไปดว้ ยพุทธะ
    ภาวะย่อมไม่บังเกิด แต่ถา้ กายป่วยจิตไม่ป่วยพุทธะภาวะก็บังเกิด การมีหรือ ไม่มีของเสือ ผา้ เงินทอง ไม่ไดแ้ ตกต่าง
    กันเลยในพุทธภาวะ พระพุทธเจา้ อยู่ในพุทธะภาวะ ตลอดเวลาแต่พระพุทธเจา้ ก็อยู่ในเพศภิกขาจารตลอดเวลา
    เช่นกัน เมื่ออวิชชาว่างเปล่า หนทางแห่งความสิน อวิชชาก็ว่างเปล่าดว้ ย เมื่ออวิชชาว่างเปล่าเราก็อยู่เหนือความ
    เป็นไป ของวงลอ้ แห่งวัฏฏะสงสาร เมื่อเราอยู่เหนือวงลอ้ แห่งวัฏฏะสงสาร ความแก่ ความตายก็ไม่มี และไม่
    จำเป็นตอ้ งมีหนทางแห่งความสิน ไปของความแก่ ความตาย เพราะเมื่อพุทธะจิตบังเกิด อวิชชาว่าง การเกิดก็ว่าง การ
    แก่ การตายก็ว่าง
    ไม่ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ไม่มีฌาน ไม่มีการบรรลุ เพราะไม่มีอะไรใหบ้ รรลุ
    พระพุทธเจา้ ไดท้ รงแสดงธรรมครัง แรกแก่ปัจจวัคคีย์ ที่เรียกว่าธรรมจักรกัปปวัตนสูตร คือไดแ้ สดงธรรมชาติแทข้ อง
    ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เมื่อไดเ้ห็นธรรมชาติแทข้ องอริยสัจ ​
    4 แลว้ ปัจจวัคคีย์ ก็บรรลุความเป็นพระอรหันต์ อริยสัจ
    ขอ้ แรก ทุกข์ พระพุทธเจา้ ทรงชีใ หเ้ห็น ว่าสรรพสัตว์ทัง หลายไม่ว่าจะอยู่ในภพภูมิใดก็หนีไม่พน้ ทุกข์ ไม่ว่าจะเป็นภูมิ
    ที่ตํ่า เป็นสัตว์ใน นรกภูมิ ตอ้ งทนทุกข์กับสภาพรอ้ นหนาว เปรตตอ้ งทุกข์ที่มีการหิวโหยอยู่ตลอดเวลา สัตว์ เดรัจฉาน
    มีแต่การเอารัดเอาตัวรอดมีความโง่เป็นหลัก ในอีก
    3ภูมิที่เป็นภูมิที่สูง ก็ยังคงไม่พน้ จากทุกข์ เทพแมจ้ ะไม่ตอ้ งรับรูถึ้ง
    ความหิวโหย เจ็บปวด การแก่ แต่เทพก็ยังคงมีทุกข์ ถึงการ หมดอายุขัยของเทพ เมื่อบุญกุศลของเทพหมดก็จะตาย
    จากภูมิของความเป็นเทพไปเกิดใหม่ ถึงแมเ้ทพท่านจะรูห้ รือไม่รูว้ ่าจะตอ้ งไปเกิดใหม่ที่ไหนเวลาใด แต่ก็ไม่สามารถ
    ควบคุม หรือหยุดสิ่งที่จะเกิดขึน ไดนั้่นคือ ทุกข์ของเทพ อสูร ก็มีทุกข์ มีความอิจฉาริษยา กรา้ วรา้ ว การใชค้ วาม
    รุนแรง ส่วนทุกข์ของมนุษย์ เกิดจากการเกิด แก่ เจ็บ ตาย การไดย้ ศเสื่อมยศ การเกิดเป็นมนุษย์โดยมีอาการครบ
    32

    ประการถือเป็นโชคดี เพราะมีแต่มนุษย์ เท่านัน ที่มี โอกาสปฏิบัติไปสู่ความหลุดพน้ ได ้สวรรค์สะดวกสบายทุกประการ
    หลงติดจึงไม่แสวงหา ทางหลุดพน้ อสูร เอาแต่รบราฆ่าฟัน วางแผนการรบจนไม่มีเวลานึกถึงความหลุดพน้ เดรัจฉาน
    โง่จนไม่มีความคิดใดๆ เปรต ดิน รนหาแต่กินไม่นึกถึงเรื่องการหลุดพน้ นรก ทุกข์ทรมานมาก เกินไปจนไม่นึกถึงการ
    หลุดพน้ เช่นกัน ถา้ แบ่งประเภททุกข์แลว้ จะไดป้ ระเภทใหญ่ๆ ​
    3 ประเภท คือ 1 ทุกข์เกิดจากทุกข์ ดังตัวอย่างทุกข์ที่
    เกิดจากความเจ็บปวด ความเจ็บปวดเป็นทุกข์อยู่แลว้ ความกระวนกระวาย ความกังวล ความเศรา้ โศก ความกลัว เป็น
    ทุกข์ที่เกิดขึน เนื่อง จากความ เจ็บปวดเป็น ทุกข์ในทุกข์
    2 ทุกข์เกิดจากความไม่เที่ยงแท ้เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาทุกคน
    ยินดีปรีดา เป็น สุขอย่างมากมีเงินทองจับจ่ายใชส้ อยกัน ตามแต่ตัวเองพอใจ แต่มาในปีนีเ งินทอง ทรัพย์สิน ที่เคยมี
    ไดอั้นตรธานหายไปหมด ความเสียใจ ความเศรา้ โศก ความทุกข์ไดเ้กิดขึน เหตุการณ์ เช่นนีม ิใช่จะเกิดขึน ในหว้ ง
    เวลาที่นานเป็นปี แต่มันเกิดขึน ตลอดเวลา ในวันหนึ่งๆ เกิดขึน ไดนั้บ ครัง ไม่ถว้ น
    3 ทุกข์จากผลแห่งกรรม ปลูกถั่วได ้
    ถั่ว ปลูกงาไดง้ า ปลูกถั่วเป็นกรรม ผลของกรรม คือ ถั่ว เช่นกันสภาพความเสื่อมของร่างกายก่อนเวลาอันควร เป็นผล
    ของกรรม ที่เราไดรั้บ มลพิษทัง หลาย กรรมคือเราสรา้ งมลพิษใหร้ ่างกาย ผลคือร่างกายเสื่อมก่อนเวลา สมุทัย เหตุ
    แห่งทุกข์
    1 ความอยากได ้2 ความอยากเป็น 3 ความไม่อยากได ้อยากเป็น 4 ความอิจฉาริษยา 5 ความเย่อหยิ่งถือ
    ตัว นิโรธ ผลของการดับทุกข์ คือ พระนิพพาน อันเป็น ผลของการปฏิบัติ อริยสัจขอ้ ที่
    4 มรรค วิธีดับทุกข์
    พระพุทธเจา้ ไดท้ รงสอนวิธีดับทุกข์ ไวถึ้ง
    84000 วิธี หรือ 84000 พระธรรมขันธ์ พระพุทธองค์มิใช่ใหพุ้ทธสาวก
    ทัง หลายปฏิบัติทัง
    84000 วิธีในคนเดียว แต่ใหเ้ลือกวิธีที่เหมาะสำหรับตนเองที่สุดแมเ้พียงวิธีเดียวก็รูแ้ จง้ เห็น จริง
    ดังเช่นพระอรหันต์จุลปาฎก ก่อนการบรรลุท่านเป็นผูที้่มีความจำนอ้ ยที่สุด ท่านไม่สามารถ จำคำสอนของ
    พระพุทธเจา้ ไดเ้ลยแมแ้ ต่ขอ้ เดียว วันหนึ่งท่านไดเ้ขา้ เฝ้าพระพุทธองค์ ไดก้ ราบ ทูลต่อพระพุทธองค์ว่าท่านนัน โง่มาก
    จำคำสอนของพระองค์ไม่ไดเ้ลย พระพุทธเจา้ ทรงตอบว่า คนที่รูว้ ่าตนเองโง่ไม่ใช่คนโง่ แต่คำสอนทัง หลายไม่เหมาะ
    ต่อท่าน พระพุทธเจา้ ไดใ้ หท้ ่าน ปฏิบัติเพียงอย่างเดียวใหท้ ่านกวาดบริเวณอาราม ในขณะที่กวาดก็ใหท้ ่องว่ากวาด
    ขยะออกให ้หมด ท่านไดเ้พียรปฏิบัติตามคำสอนเพียงขอ้ เดียว จนในที่สุดความรูแ้ จง้ ก็บังเกิด กวาดขยะ ออกจากจิต
    จนหมด จิตท่านก็ว่างเปล่า ความสว่างในจิตก็เกิด ท่านไดเ้ป็นพุทธสาวกที่สำคัญ ในการเผยแพร่พระธรรมของ
    พระพุทธเจา้
    (พระพุทธเจา้ ไดย้ กย่องพระอรหันต์จุลปาฎกอย่างมาก ที่รูต้ นเองว่าโง่ความจำไม่ดี) คนโง่ที่รูตั้วเองว่า
    โง่ไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อสังคม แต่คนที่ฉลาด และยกตัวเองว่าฉลาดตลอดเวลานัน เป็นพิษเป็นภัยอย่างมหันต์ต่อสังคม
    โลก คนฉลาดที่ เย่อหยิ่งจะไม่พอใจต่อทุกสิ่งและตอ้ งการไดใ้ นทุกสิ่ง ส่วนคนโง่ที่อวดฉลาด เป็นอันตราย ต่อตนเอง
    และคนรอบขา้ ง ดว้ ยคนโง่แต่อวดฉลาดตอ้ งการกระทำในทุกสิ่ง ดังที่อดีตเจา้ คณะ ใหญ่สงฆ์จีนนิกายรูปที่
    6 พระ
    มหาคณาจารย์ธรรมสมาธิวัตรฯพระอาจารย์ ของขา้ พเจา้ ไดส้ อนขา้ พเจา้ ไวว้ ่า เจ็กฮวบทง บว้ นฮวบทง แจง้ ธรรมหนึ่ง
    ธรรมทัง หมื่นก็แจง้ พระอริยสัจ
    4 ประการสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปสู่ความหลุดพน้ และเช่นกัน ธรรมชาติแทอั้นว่างเปล่า
    ของ สรรพสิ่ง ไม่ยกเวน้ แมค้ วามหลุดพน้ ก็ว่างเปล่า ดังนัน พระอริยสัจ
    4 ก็ว่างเปล่า เมื่อเห็นใน ความว่างเปล่าของ
    อริยสัจแลว้ ยังจะมีอะไรใหบ้ รรลุอีก
    พระโพธิสัตว์ ดว้ ยเหตุดำเนินตาม
    ปรัชญาปารามิตาจิตย่อมไม่สับสนมืดมัว เพราะจิตไม่สับสนมืดมัว จึงไม่มีความ
    กลัว อยู่เหนือความ หลอกลวง มีพระนิพพานเป็นที่สุด
    พระโพธิสัตว์ คือ ผูที้่จะตรัสรูเ้ป็นพระพุทธเจา้ ในอนาคต พระโพธิสัตว์ คือ ผูที้่ทรงไวซึ้่ง มหาเมตตากรุณา ในวิมลเกรี
    ยติสูตรไดก้ ล่าวไวว้ ่า
    โรคของสัตว์โลกเกิดจากกิเลส โรคของ พระโพธิสัตว์เกิดจากมหาเมตตาพระโพธิสัตว์มุ่ง
    รักษาโรคทัง หลายทัง ปวง ทัง ทางกาย และใจแก่สรรพสัตว์ เหตุใดเราจึงเรียกพ่อแม่ว่าเป็นพระโพธิสัตว์ของลูก เมื่อ
    ลูกเจ็บป่วย ความเจ็บป่วยของลูกคือความเจ็บป่วยของพ่อแม่ และถา้ พ่อแม่ลูกเจ็บป่วยพรอ้ มกัน พ่อแม่จะ ไม่รักษา
    ตนเองก่อนที่จะรักษาลูก ความเจ็บป่วยของพระโพธิสัตว์เกิดจากตอ้ งการช่วยสัตว์โลก ตอ้ งการใหสั้ตว์โลกไดรั้บ
    ความสุข พระโพธิสัตว์อยู่เหนือความทุกข์ทัง มวล ที่เป็นทุกข์อยู่ ไม่ใช่ ทุกข์ของตนแต่เป็นทุกข์ของสัตว์โลก เพราะ
    สัตว์โลกเจ็บป่วย ตนจึงเจ็บป่วย ในบรรดาธรรม ของพระพุทธเจา้ ที่ทรงสอนแก่ชาวโลก ศาสตร์แห่งการแพทย์ถือว่า
    เป็นสุดยอด ศาสตร์แห่งการ แพทย์ คือศาสตร์ที่พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ทรงใชอ้ ยู่ตลอดเวลา ทศบารมี
    10 ประการ
    ทาน ศีล ขันติ วิริยะ สมาธิ ปัญญา อุบาย ปณิธาน พละ ฌาน เกิดขึน พรอ้ มกันทันที่ เมื่อไดมี้การ ปฏิบัติศาสตร์แห่ง
    การแพทย์ ดังนัน บุคคลที่มุ่งบำบัดทุกข์ทัง ทางกาย และใจของชาวโลกโดย หวังสิ่งตอบแทน เพียงความสุขของ
    ชาวโลกบุคคลนัน จึงเป็นพระโพธิสัตว์ที่จริงแท ้พระโพธิสัตว์ที่ปฏิบัติตนเช่นนัน ได ้ก็ดว้ ยเห็นแจง้ ถึงธรรมชาติของ
    สรรพสิ่งที่เป็นความว่างเปล่า แพทย์ในโลกียะวิสัยเมื่อเจ็บป่วยตอ้ งรักษาตนเองใหห้ ายก่อนจึงจะรักษาผูอื้่นต่อไป แต่
    แพทย์ โพธิสัตว์ถึงแมต้ นจะเจ็บป่วยอยู่ก็จะรักษาผูอื้่นไปเรื่อยๆ เพราะท่านทรงเห็นแจง้ ในธรรมชาติ ความว่างเปล่า
    ของความเจ็บป่วยนัน และดว้ ยมหาเมตตาที่ท่านมีอยู่ โดยปรกติแลว้ คนทั่วโลก กลัวความมืด ในความมืดไม่สามารถ
    เห็นสิ่งใด ใจก็คอยระแวงว่าจะมีภัยอันตรายอย่างนี อย่างนัน เกิดขึน คนที่ไม่กลัวความมืดคือคนที่นอนหลับในช่วงที่
    นอนหลับคือช่วงที่ใจว่างที่สุด จึงไม่กลัวความมืด เช่นกัน เมื่อใจว่างแมอ้ ยู่ในที่มืดใจก็สว่าง พระโพธิสัตว์ จิตของ
    ท่านว่าง เปล่า ท่านจึงไม่มีความมืด ความสว่าง จิตของพระโพธิสัตว์ว่างเปล่า ท่านจึงไม่มีสิ่งใด ตอ้ งกลัว อยู่เหนือ
    ความหลอกลวง ความหวาดระแวง มายาภาพเกิดจากการปรุงแต่งของจิต นั่นคือเท็จและจริงเกี่ยวพันกันอยู่
    ตลอดเวลา และนั่นก็คือธรรมชาติแทข้ องสรรพสิ่งอันว่างเปล่า ดังในประวัติปรมาจารย์นิกายเซ็นองค์ที่
    6 ของประเทศ
    จีน ท่านฮุ่ยเลง้ มีพระอาจารย์ท่านหนึ่ง ไดก้ ล่าวว่า ร่างกายคือตน้ โพธิ จิตใจคือกระจกเงา ตอ้ งหมั่นเช็ดถูทุกเวลา
    อย่าใหฝ้ ุ่นละออง มาเกาะติด นั่นคืออภิญญาจิตแต่มิใช่สุดยอดแห่งนิพพาน ท่านฮุ่ยเลง้ ไดแ้ กบ้ ทขา้ งบนว่า ตน้ โพธิ
    นัน มิใช่โพธิ อีกทัง กระจกเงาก็ไม่มี จะตอ้ งเช็ดถูอะไร มีอะไรใหฝ้ ุ่นละอองเกาะ พระนิพพานบังเกิดขึน ในจิตนี ท่านฮุ่
    ยเลง้ ไดบ้ รรลุเห็นแจง้ และไดเ้ป็นปรมาจารย์ นิกายเซ็น องค์ที่
    6 ไดท้ ำคุณประโยชน์แก่พุทธศาสนาอย่างมากมาย
    พระนิพพาน มีผูน้ ำไปแปลความ หมายว่า การดับสูญ เป็นความเขา้ ใจความหมายที่แคบเกินไป การดับสูญกิเลสของ
    ปัจเจก บุคคลเป็นพระนิพพานในความหมายนี การสูญสิน ของกิเลสพรอ้ มกับ การจรรโลงโลก ธรรมชาติ สังคม ใหค้ ง
    อยู่ เพื่อสรรพสัตว์ไดพ้ บบรมสุข อยู่ในสันติภาพอันนิรันดร์ มีโอกาสเขา้ สู่พุทธเกษตร นั่นจึงเป็นพระนิพพานอัน
    แทจ้ ริง
    พระพุทธเจา้ ทัง
    3 กาลดว้ ยเหตุดำเนินตาม ปรัชญาปารามิตา จึงไดบ้ รรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาน
    พระพุทธเจา้ ทัง
    3 กาล ดว้ ยความหมายตามตัวอักษร 3 กาลคือ อดีต ปัจจุบัน อนาคต แต่ความหมาย ในทางพระสูตร
    นี หมายถึงกาลไม่สิน สุด พระพุทธเจา้ ในความหมาย นีม ิใช่ หมายถึง พระศากยะมุนี พุทธเจา้ เพียงพระองค์เดียว ใน
    จำนวนสัตว์โลกที่นับไม่ถว้ น ตัง แต่ ก่อนมีประวัติศาสตร์นานนับไม่ถว้ น พระพุทธเจา้ ก็ไดบั้งเกิดขึน มานับไม่ถว้ นแลว้
    เช่นกัน ดว้ ยสรรพสัตว์ทัง หลายที่มีอยู่และเคยมีอยู่ในโลกนีล ว้ นมีความเป็นพุทธะอยู่ในตัว และพรอ้ ม ที่จะบรรลุมรรค
    ผลไดต้ ลอดเวลา พระทีปังกรพุทธเจา้ ในอดีต พระศากยะมุนีพุทธเจา้ ในปัจจุบัน และศรีอริยเมตตรัยพุทธเจา้ ใน
    อนาคต พระอรหันต์ทัง ปวง พระปัจเจกพุทธเจา้ อีกมากมาย มนุษย์โลกในปัจจุบันในจำนวนหลายพันลา้ นคนย่อมมี
    ผูส้ ำเร็จมรรคผลเกิดขึน อยู่ตลอดเวลา ดังนัน การปฏิบัติตนของชาวพุทธทัง หลายควรวางตนใหถู้กตอ้ งเหมาะสม และ
    มีทัศนะคติที่ ถูกตอ้ งต่อชาวโลก ปฏิบัติต่อผูอื้่นดังผูอื้่นเป็นพุทธะ และปฏิบัติต่อตนเอง ดังตนเองเป็น พุทธะ
    เช่นเดียวกัน เราเชื่อมั่นในพระธรรมเช่นไรเราก็เชื่อมั่นว่าชาวโลก ทุกผูค้ นเป็นผูใ้ หธ้ รรมะ แก่เราเช่นกัน อนุตรสัมมา
    สัมโพธิญาณ คือความรูแ้ จง้ อันสูงสุด ไม่มีความรูใ้ ดสูงกว่า พระ พุทธเจา้ ท่านหยิบก็ขึน ปล่อยก็วาง ไม่มีสิ่งใดสัมผัส
    ไม่ได ้และก็ไม่มีสิ่งใดยึดติดได ้พรอ้ มทัง มอบหนทางความเป็นพุทธะใหช้ าวโลกทัง หลาย จึงสำเร็จอนุตรสัมมา
    สัมโพธิญาณ
    จึงทราบว่า
    ปรัชญาปารามิตาเป็นมหาศักดาธารณี เป็นมหาวิทยาธารณี เป็นอนุตรธารณี เป็นอสมธารณี สามารถดับ
    สรรพทุกข์
    ธารณีหรือมนตร์หรือคาถา คือ คำศักดิส ิทธิ คำสวด คำสอนของพระพุทธเจา้ ทุกคำถือเป็น คำศักดิส ิทธิ มหาศักดา
    ธารณี คือคำศักดิส ิทธิท รงฤทธิอ ำนาจในการทำลายอวิชชาทัง มวล เขา้ สู่สภาวะสูงสุด คือพระนิพพาน มหาวิทยา
    ธารณี คือ วิชาการอันจริงแทแ้ น่นอน ไม่มี กาลเวลา เพราะทันสมัยอยู่เสมอไม่ว่าวิทยาศาสตร์จะนำไปสู่ดาวอังคาร
    แลว้ วิทยาการนี ก็ยังคงเป็นยานพาหนะสำคัญนำพาเราไปสู่ฝั่งนิพพานตลอดเวลาตลอดกาล ไม่เคยเสื่อม สภาพหรือ
    ชำรุดใชก้ ารไม่ได ้อนุตรธารณี คือ ธารณีนีท รงความศักดิส ิทธิส ูงสุดไม่มีธารณี ใดสูงกว่า อสมธารณี คือ ไม่มีธารณีใด
    เทียบเท่า
    สัจจะธรรมไม่ผิดพลาด ฉะนัน จึงประกาศ
    ปรัชญาปารามิตาธารณีดังนี
    ตายาถา โอม คะเต คะเต ปารา คะเต ปารา สัง คะเต โบ ธิ โซ ฮา
    คำสวดนีเ ป็น คาถาหัวใจของปรัชญาปารามิตาสูตร เลียนคำมาจากสันสฤตโบราณ ฉะนัน จึง ไม่ขอแปลความหมาย
    บทธารณีในภาษาจีนไดจ้ บเพียงเท่านี แต่ในสันสฤตไดมี้อีกประโยคว่า ไดก้ ล่าวปรัชญาปารามิตาสูตรจบแลว้ ใน
    ภาษาธิเบตมีการบรรยายที่มาของพระสูตร และ บท สรุปของพระสูตรนี ดังที่พระพุทธเจา้ ไดต้ รัสไวใ้ นสังยุตตนิกายว่า

    “​
    ดูกรกัจจนะโลกนีต ิด อยู่กับสิ่งสองประการ คือ ความมีและ ความไม่มีผูใ้ ดเห็นความเกิดขึน ของสิ่งทัง หลาย ใน
    โลกตามความเป็นจริงและดัวยปัญญา
    ความไม่มีอะไรในโลกจะไม่มีแก่ผูนั้น ดูก่อนกัจจนะ ผูใ้ ดเห็นความดับของสิ่ง
    ทัง หลายในโลกตามความเป็นจริงและดว้ ยปัญญา
    ความมีอะไรในโลกจะไม่มีแก่ผูนั้น เมื่อพระอัสสชิ ไดรั้บคำ
    ขอรอ้ งจากพระสารีบุตรใหย้ ่อคำสอน ของพระพุทธเจา้ ลงในคาถาเดียว ท่านไม่กล่าวถึง อริยสัจ
    4 หรือ มรรคมีองค์ 8

    แต่ท่านกล่าว ถึงความว่างเปล่าของปฎิจจสมุปบาทซึ่งเป็นธรรมที่ลึกซึง ที่สุดเช่นกันท่านนาคารชุนโพธิสัตว์ ก็ไดใ้ ช ้
    ธรรมนีฟ ืนฟูพุทธศาสนาขึน มาอีกครัง หลังจากถูกศาสนา อื่นโจมตีจนแทบสูญสลาย ไปจากโลก การรูศู้นยตาเป็น
    ปัญญาสูงสุด การบรรลุศูนยตานี คือ ตรัสรู้ปัญญา คือ พ่อ เมตตากรุณา คือ แม่ โดยความรักของพ่อและแม่ บุคคลก็
    จะบรรลุความเป็นพุทธะโดยสมบูรณ์ ปัญญาที่ปราศจากความศรัทธา ความรูที้่ปราศจากความรัก เหตุผลที่ปราศจาก
    ความกรุณา นำไปสู่ความสูญเปล่า ศรัทธาที่ปราศจากเหตุผล ความรักที่ปราศจากความรู้ความกรุณา ที่ปราศจาก
    ปัญญา นำไปสู่ความยุ่งยาก เสื่อมสลาย แต่ในที่ใดที่ปัญญา กรุณา และความรัก อันลึกซึง รวมตัวกัน ในที่นัน ย่อมมี
    ความสมบูรณ์และบรรลุความตรัสรูอั้นสูงสุด การบำเพ็ญ เพียรตามปรัชญาปารามิตานี มิใช่ใหแ้ กลง้ เห็นธรรมชาติแท ้
    คือความว่างเปล่า เพื่อเป็นขอ้ อา้ ง ใหไ้ ม่ทำอะไรเลย เกียจครา้ นต่อหนา้ ที่ การงาน โดยคิดว่าเมื่อว่างแลว้ จะตอ้ งทำ
    อะไรอีก ทำไปทำไม ทุกสิ่งทุกอย่างว่างหมด การคิดเช่นนัน ผิดอย่างมหันต์ การรูแ้ จง้ ในปรัชญา ปารามิตา เพื่อให ้
    เกิดปัญญารูส้ ภาพที่แทจ้ ริงของสรรพสิ่ง เมื่อเรารูธ้ าตุแทข้ องเพื่อนเรา ย่อม ยินดี รักใคร่ สุขใจ ในความเป็นเพื่อนกัน
    และเต็มใจที่จะกระทำการเพื่อเพื่อน เช่นกันการรูแ้ จง้ ในธรรมชาติของสรรพสิ่ง เพื่อใหเ้กิดความรักต่อสรรพสิ่ง ยินดี
    และเต็มใจประกอบการใดๆ เพื่อสรรพสิ่งใหยื้นยงคงอยู่ สรรพสิ่งอยู่ที่ใจ ความรูแ้ จง้ อยู่ที่ใจ การทำการงานดว้ ยใจที่รู้
    แจง้ ความเบื่อหน่าย ความรูสึ้กถูกบังคับใหท้ ำย่อมไม่เกิดขึน เราจะทำงานดว้ ยความเป็นสุข
    พระพุทธเจา้ หลังจากตรัสรูแ้ ลว้ ก็ทำงานของพระองค์อย่างขยันขันแข็ง ไม่ยอมหยุดจน ถึงวาระสุดทา้ ยก่อนปรินิพพาน
    ก็ยังปฏิบัติงานอยู่โดยสอนบรรดาสาวกที่ชุมนุมกันอยู่ว่า​
    “​
    ความเสื่อมมีอยู่ในสังขารทัง หลาย จงยังประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านใหถึ้งพรอ้ มดว้ ยความไม่ประมาทเถิด

    แลว้ จึงเขา้ สู่ปรินิพพานการหลอกตัวเองว่าไดเ้ห็นแจง้ ในความว่างเปล่าแลว้ ไม่ทำอะไรเลยนั่นเป็น เดรัจฉานจิต อยู่รอ
    ความตาย มิใช่รูแ้ จง้ ในนิพพานจิต ศูนยตาสภาวะ หรือ สภาวะแห่งความว่าง เปล่าจึงเป็นสภาวะแห่งเอกภาพของ
    สังคมโลก สันติภาพอันนิรันดร บรมสุขของมนุษย์ ในสภาพ ที่จิตและกายยังคงยึดเหนี่ยวกันอยู่ และเป็นผูค้ วบคุมวง​
    ลอ้ แห่งวัฏฏะของตน เมื่อจิต และกาย แยกจากกันแลว้

     
  6. ?????????

    ????????? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +5,893
    คำแปล ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร


    พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ผู้ประกอบด้วยโลกุตรปัญญาอันลึกซึ้ง
    ได้มองเห็นว่า โดยธรรมชาติแท้แล้ว ขันธ์ทั้งห้านั้นว่างเปล่า
    และด้วยเหตุที่เห็นเช่นนั้น จึงได้ก้าวล่วง พ้นจากความทุกข์ทั้งปวงได้
    สารีบุตร รูปไม่ต่างจากความว่าง ความว่าง ก็ไม่ต่างไปจากรูป
    รูปคือความว่างนั่นเอง และความว่างก็คือรูปนั่นเอง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็เป็นดังนี้ด้วย
    สารีบุตร ธรรมทั้งหลาย มีธรรมชาติแห่งความว่าง ไม่ได้เกิดขึ้นและไม่ได้ดับลง
    ไม่ได้สะอาดและไม่ได้สกปรก ไม่ได้เพิ่มขึ้นไม่ได้ลดลง

    ดังนั้น ในความว่างจึงไม่มีรูป ไม่มีเวทนา หรือสัญญา ไม่มีสังขาร หรือวิญญาณ
    ไม่มีตาหรือหู ไม่มีจมูกหรือลิ้น ไม่มีกายหรือจิต ไม่มีรูปหรือเสียง ไม่มีกลิ่นหรือรส
    ไม่มีโผฏฐัพพะหรือธรรมารมณ์ ไม่มีโลกแห่งผัสสะ หรือวิญญาณ
    ไม่มีอวิชชา และไม่มีความดับลงแห่งอวิชชา ไม่มีความแก่และความตาย
    และไม่มีความดับลงซึ่งความแก่ และความตาย ไม่มีความทุกข์
    และไม่มีต้นเหตุแห่งความทุกข์ ไม่มีความดับลงแห่งความทุกข์
    และไม่มีมรรคทางให้ถึง ซึ่งความดับลงแห่งความทุกข์
    ไม่มีการประจักษ์แจ้งและไม่มีการลุถึง เพราะไม่มีอะไรที่จะต้องลุถึง

    พระโพธิสัตว์ผู้วางใจในโลกุตรปัญญา จะมีจิตที่เป็นอิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    เพราะจิตของพระองค์เป็นอิสระจาก อุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    พระองค์จึงไม่มีความกลัวใดๆ ก้าวล่วงพ้นไปจากมายาหรือสิ่งลวงตา
    ลุถึงพระนิพพานได้ในที่สุด พระพุทธในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
    ผู้ทรงวางใจในโลกุตรปัญญา ได้ประจักษ์แจ้งแล้วซึ่งภาวะอันตื่นขึ้น
    อันเป็นภาวะที่สมบูรณ์และไม่มีใดอื่นยิ่ง ดังนั้น จงรู้ได้เถิดว่า โลกุตรปัญญา
    เป็นมหามนต์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นมนต์แห่งความรู้อันยิ่งใหญ่
    เป็นมนต์อันไม่มีมนต์อื่นยิ่งกว่า เป็นมนต์อันไม่มีมนต์อื่นใดมาเทียบได้ซึ่งจะตัดเสียซึ่งความทุกข์ทั้งปวง
    นี่เป็นสัจจะ เป็นอิสระจากความเท็จทั้งมวล ดังนั้น จงท่องมนต์แห่งโลกุตรปัญญา
    คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิ สวาหา
    ไป ไป ไปยังฟากฝั่งโน้น ไปให้พ้นอย่างสิ้นเชิง ลุถึง การรู้แจ้ง ความเบิกบาน



    ………………………………………………………………………………
    อานิสงส์ที่จากการสวดมนต์ภาวนา ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร
    1.เพื่อเพิ่มพูนสติปํญญาให้สามารถเห็นแจ้งในธรรมะ
    2.เพื่อการบรรลุภาวะการเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรม
    3.เพื่อการตรัสรู้และการบรรลุนิพพานโลกธาตุในที่สุด
    สำหรับผู้ที่มีเวลาน้อย เดินทางเสี่ยงต่ออันตราย หรือ เผชิญภาวะฉุกเฉิน
    และ ต้องการตั้งสติขจัดความตื่นกลัวออกไปโดยเร็ว ควรบริกรรม โดยใช้บทสวดมนต์ย่อว่า
    “คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิสวาหา”
    ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ท่านหลวงจีนเฮียงจั๋ง (พระถังซำจั๋ง) ท่านกล่าวว่า
    ท่านสวดบทนี้เมื่อท่านอยู่ในภาวะคับขันในการเดินทางข้ามทะเลทราย
    ท่านเชื่อว่าทำให้มีสติตั้งมั่น เกิดปํญญา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง
     
  7. ?????????

    ????????? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +5,893
    ....สรุปคือ การจะกล่าว ดั่งเนื้อความแปล แห่งวัชรปรัชญาปารมิตาได้นั้น


    จิต ต้องเคยเข้าถึงสภาพของอสังขตธาตุ - อสังขตธรรม คือ สภาวะที่ไม่ปรุงแต่งด้วยปัจจัยต่างๆ

    จึงกล่าวได้ว่า " ว่าง " ..ว่างจากสิ่งปรุงในแบบภพสาม


    ที่ว่า ไม่มีฌาณ ญาณ การบรรลุใดๆ ก็เพราะ....

    ขณะกล่าว จิตเข้าถึงสภาวะของธรรม ที่ไม่ใช่ของคู่

    เป็นสันทิฐิโก อกาลิโก เอหิปัสสิโก ปัจจัตตัง

    ไม่มีการเปรียบเทียบใดๆ



    ไม่ใช่ "ว่าง " ในลักษณะแห่งการรู้ การเข้าใจ การสัมผัส ของผู้ยังอยู่ใน
    การครอบงำของขันธ์5 และ สามโลก


    ไม่เช่นนั้น ..จะขัดแย้งกับธรรมอันเป็นแก่นแห่งการหลุดพ้นในพระไตรปิฎก คือ
    ปฏิจจสมุปบาท


    OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOO


    <TABLE style="FONT-FAMILY: 'MS Reference Sans Serif'" border=0 cellPadding=1 width=694 align=center><TBODY><TR><TD height=55 width=688>
    พุทธพจน์ตรัสเตือนไว้ ไม่ให้ประมาทหลักปฏิจจสมุปบาทนี
    </TD></TR><TR><TD height=88 width=688 align=left>
    มีพุทธพจน์ตรัสเตือนไว้ ไม่ให้ประมาทหลักปฏิจจสมุปบาทนี้ว่าเป็นหลักเหตุผลที่เข้าใจง่าย เพราะมีเรื่องที่พระอานนท์เข้าไปกราบทูลพระองค์ และพระองค์ได้ตรัสตอบ มีความดังนี้
    </TD></TR><TR><TD height=38 width=688 align=left>
    "น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาเลยพระเจ้าข้า หลักปฏิจจสมุปบาทนี้ถึงจะเป็นธรรมลึกซึ้ง และปรากฏเป็นของลึกซึ้ง แต่ก็ยังปรากฏแก่ข้าพระองค์เหมือนเป็นธรรมง่ายๆ"
    </TD></TR><TR><TD height=38 width=688 align=left>
    "อย่ากล่าวอย่างนั้น อย่ากล่าวอย่างนั้น อานนท์ ปฏิจจสมุปบาทนี้เป็นธรรมอันลึกซึ้ง และปรากฏเป็นของลึกซึ้ง เพราะไม่รูไม่เข้าใจ ไม่แทงตลอดหลักธรรมข้อนี้แหละ หมู่สัตว์นี้จึงวุ่นวายเหมือนเส้นด้ายที่ขอดกันยุ่ง..........ฯลฯ."
    </TD></TR><TR><TD width=688><DIV align=center>(ที่มา สํ.นิ. ๑๖/๒๒๔-๕/๑๑๐-๑)

    OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOO

    <FONT face=Tahoma><FONT color=#666666><TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%"><TBODY><TR><TD height="100%" vAlign=top width="85%">ปฏิจจสมุปบาท เป็นธรรมอันลึกซึ้ง ที่หลังจากแรกตรัสรู้ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงน้อมที่จะไม่แสดงธรรมแก่เหล่าสรรพสัตว์ เพราะมีพุทธดําริในแรกเริ่มว่าจะไม่เผยแผ่ธรรมที่ท่านตรัสรู้ ก็เนื่องจากความลึกซึ้งของ "ปฏิจจสมุปบาทและนิพพาน" ว่าเป็นที่รู้เข้าใจได้ยากแก่สรรพสัตว์ (พระไตรปิฎก เล่ม๑๒/ข้อ๓๒๑) เหตุที่กล่าวแสดงดังนี้ เพื่อให้ท่านได้พิจารณาธรรมนี้โดยละเอียดและแยบคายจริงๆ ไม่เกิดความประมาทว่าเป็นของง่ายๆ ดังปรากฎแก่พระอานนท์มหาเถระมาแล้ว [​IMG] จึงจักเกิดประโยชน์สูงสุดขึ้นได้ และควรกระทําการพิจารณา(ธรรมวิจยะ)โดยละเอียดและแยบคายด้วยความเพียรพยายามอย่างยิ่ง เพราะพระพุทธองค์ทรงตรัสไว้แล้วว่า"ยากและลึกซึ้ง" แต่เรามีแนวทางปฏิบัติของท่านแล้ว จึงเป็นสิ่งอันพึงปฏิบัติได้ แต่กระนั้นเราผู้เป็นปุถุชนจึงมิควรประมาทว่าเข้าใจแล้วโดยการอ่าน, การฟังแต่เพียงอย่างเดียวโดยเด็ดขาดเพราะเกินกำลังอำนาจของปุถุชน จักต้องทําการพิจารณาโดยละเอียดและแยบคายจริงๆ(โยนิโสมนสิการ)จึงจักบังเกิดผลอย่างแท้จริงปฏิจจสมุปบาท ดำเนินเป็นไปตามหลักธรรมอิทัปปัจจยตา ที่มีพระพุทธพจน์ ตรัสสอนไว้ว่า
    <TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=top>เมื่อเหตุนี้มี ผลนี้จึงมี</TD><TD vAlign=top>เพราะเหตุนี้เกิดขึ้น ผลนี้จึงเกิดขึ้น</TD></TR><TR><TD vAlign=top>เมื่อเหตุนี้ไม่มี ผลนี้จึงไม่มี</TD><TD vAlign=top>เพราะเหตุนี้ดับ ผลนี้จึงดับ</TD></TR></TBODY></TABLE>อันแลดูเป็นธรรมดา แต่กลับแสดงถึงสภาวธรรมหรือสภาวธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ตามความเป็นจริงถึงขั้นสูงสุด(ปรมัตถ์) ถึงปัจจัยอันเนื่องสัมพันธ์กันจึงเป็นผลให้เกิดอีกสิ่งหนึ่งขึ้น อันเป็นหัวใจสําคัญในพุทธศาสนาที่ยึดในหลักธรรมที่ว่า" สิ่งทั้งหลายทั้งปวงล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัย" หรือ " ธรรม(สิ่งหรือผล)ใด ล้วนเกิดแต่เหตุ" อันเป็นเฉกเช่นเดียวกับหลักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันนั่นเอง แตกต่างกันแต่ว่าหลักวิทยาศาสตร์นั้นส่วนใหญ่ครอบคลุมแต่เพียงด้านวัตถุธรรมหรือรูปธรรมเพียงด้านเดียว แต่ธรรมของพระพุทธองค์นั้นครอบคลุมถึงขั้นปรมัตถ์คือตามความเป็นจริงขั้นสูงสุด จึงครอบคลุมโดยบริบูรณ์ ทั้งฝ่ายรูปธรรม(วัตถุ)และนามธรรม(จิต,นาม), ปฏิจจสมุปบาทก็เนื่องมาจากหลักธรรมอิทัปปัจจยตาหรือกฎธรรมชาตินี้ แต่เป็นหลักธรรมที่เน้นเฉพาะเจาะจงถึงเหตุปัจจัยให้เกิดผล อันคือความทุกข์(ฝ่ายสมุทยวาร) และการดับไปแห่งทุกข์(ฝ่ายนิโรธวาร) โดยตรงๆ แต่เพียงเรื่องเดียว
    ช่างยนต์ ต้องรู้เรื่องเครื่องยนต์อย่างดี จึงจักซ่อมบํารุงได้ดี ฉันใด
    ผู้ที่ต้องการดับทุกข์ จึงต้องกำหนดรู้เรื่องทุกข์ และการดับทุกข์อย่างดี จึงจักดับทุกข์ได้ดี ฉันนั้น
    พระองค์ท่านได้ตรัสไว้ว่า ท่านสอนแต่เรื่องทุกข์และการดับทุกข์ ที่สอนให้รู้เรื่องทุกข์ต่างๆ มิใช่เพื่อให้เป็นทุกข์ แต่เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องทุกข์ ไปใช้ในการดับทุกข์ อันเป็นสุขอย่างยิ่ง
    ปฏิจจสมุปบาท เป็นธรรมในรูปกฎแห่งธรรมชาติขั้นสูงสุด คือเป็นสภาวธรรม<FONT face=Tahoma>จริงแท้แน่นอนอย่างที่สุดหรือมันต้องเป็นเช่นนั้นเองจึง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 มีนาคม 2010
  8. ?????????

    ????????? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +5,893
    [​IMG]
     
  9. ?????????

    ????????? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +5,893
    [​IMG]
     
  10. ?????????

    ????????? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +5,893
    [​IMG]
     
  11. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    ปรัชญาปารมิตามหาฤทัยสูตร

    Mahaprajna Paramita Hridaya Sutra
    (The Heart Sutra)




    Avalokiteshvara Bodhisattva, practicing deep
    prajna paramita,clearly saw that all five
    skandhas are empty, transforming all suffering
    and distress.

    Shariputra, form is no other than emptiness,
    emptiness no other than form.
    Form is exactly emptiness, emptiness exactly
    form.Sensation, thought, impulse,
    consciousness are also like this.

    Shariputra, all things are marked by
    emptiness - not born, not destroyed,
    not stained, not pure,
    without gain, without loss.
    Therefore in emptiness there is no form, no
    sensation, thought, impulse, consciousness.
    No eye, ear, nose, tongue, body, mind.
    No color, sound, smell, taste, touch,
    object of thought.
    No realm of sight to no realm of thought.
    No ignorance and also no ending of ignorance
    to no old age and death and also no ending of
    old age and death.
    No suffering, and also no source of suffering,
    no annihilation, no path.
    No wisdom, also no attainment.
    Having nothing to attain, Bodhisattvas live
    prajna paramita with no hindrance in the mind.
    No hindrance, thus no fear.
    Far beyond delusive thinking, they attain
    complete Nirvana.
    All Buddhas past, present and future live
    prajna paramita and thus attain
    anuttara samyak sambodhi.

    Therefore, know that prajna paramita is the
    great mantra, the wisdom mantra, the
    unsurpassed mantra, the supreme mantra,
    which completely removes all suffering. This is
    truth, not deception. Therefore set forth the
    prajna paramita mantra, set forth this mantra
    and say:

    GATE GATE PARAGATE PARASAMGATE
    BODHI SVAHA



    OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOO



    กาลครั้งนั้นพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชกูฏ กรุง
    ราชคฤห์ ท่ามกลางที่ประชุมสงฆ์ และมหาโพธิสัตว์ ในขณะ
    นั้น พระพุทธเจ้าได้เข้าสมาธิปฏิบัติธรรมอันลึกซึ้งสุดยอด

    ที่มีชื่อเรียกว่า“ประกายแห่งปัญญา” และในขณะนั้น
    พระอวโลกิเตศวร มหาโพธิสัตว์ หรือพระแม่กวนอิม เมื่อได้
    ปฏิบัติธรรมอันลึกซึ้งชื่อว่า “ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ”
    ได้เพ่ง เห็นธรรมชาติของขันธ์ 5 คือความว่างเปล่า

    ในขณะนั้น ได้บรรลุหนทาง แห่งพระโพธิญาณด้วย
    พุทธบารมี พระอรหันต์สารีบุตรเถระ ได้ทูลถาม พระอวโลกิเต
    ศวรพระโพธิสัตว์

    “ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิก ทั้งปวง จะฝึกฝนตน
    เองเพื่อให้เกิดปัญญาอย่างไร ในพระสูตร “ ปรัชญาปารมิตา ”

    พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ได้ทรงตอบต่อพระอรหันต์
    สารีบุตรเถระว่า

    เมื่อพระองค์ได้ปฏิบัติซึ้งแล้ว ซึ่ง “ปรัชญาปารมิตา”
    ปัญญาบารมี ได้เพ่งเห็นขันธ์ทั้ง 5 มีความเป็นศูนย์ ศูนย์คือ
    สูญญตา หรืออนัตตา หรือความว่างเปล่า จึงข้ามพ้นสรรพ
    ทุกข์ทั้งปวงได้


    ท่านสารีบุตร “ รูปไม่อื่นไปจากความศูนย์ ความศูนย์
    ไม่อื่นไปจากรูป ” “ รูปก็คือความศูนย์ (ความว่างเปล่า)
    ความศูนย์ก็คือรูปนั่นเอง ” เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ก็ล้วนเป็นความศูนย์เช่นเดียวกัน

    ท่านสารีบุตร ‘ ธรรมทั้งปวงมีความศูนย์เป็นลักษณะ ’
    ไม่เกิด ไม่ดับ ไม่มัวหมอง ไม่ผ่องแผ้ว ไม่เพิ่มขึ้น ไม่ลดลง
    เพราะฉะนั้นแหละในความศูนย์จึงไม่มีรูป ไม่มีเวทนา สัญญา
    สังขาร วิญญาณ ไม่มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั่นคืออายตนะ
    ภายใน 6 อย่าง ไม่มีรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และ
    ธรรมารมณ์ นั่นคืออายตนะภายนอกทั้ง 6 ไม่มีจักษุธาตุ คือ
    ไม่มีจักษุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา
    วิญญาณ กายวิญญาณ และมโนวิญญาณ จนกระทั่งไม่มี
    มโนธาตุ ไม่มีอวิชชา ปฏิจจสมุปบาทสิบสอง

    ปฏิจจสมุปบาทสิบสอง คือ


    ไม่มีอวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร

    ไม่มีสังขารเป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ

    ไม่มีวิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป

    ไม่มีนามรูปเป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ

    ไม่มีสฬายตนะ คืออายตนะ 6 เป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ

    ไม่มีผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา

    ไม่มีเวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา

    ไม่มีตัณหาเป็นปัจจัยให้เกิดอุปทาน

    ไม่มีอุปทานเป็นปัจจัยให้เกิดภพ

    ไม่มีภพเป็นปัจจัยให้เกิดชาติ

    ไม่มีชาติเป็นปัจจัยให้เกิดชรา มรณะ ความเศร้า
    การแสดงความเศร้า ทุกข์ โสมนัส ความลำบาก
    ความไม่สงบ ชรา มรณะเป็นปัจจัยให้เกิดอวิชชา

    ไม่มีความสิ้นไปแห่งอวิชชา กระทั่งไม่มีความแก่
    ความตาย คือไม่มี การ เกิด แก่ เจ็บตาย
    และก็ไม่มีความสิ้นไปแห่งความตาย

    เมื่อนั้นไม่มีทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
    ไม่มีญาณ หรือปัญญา และก็ไม่มีการได้อะไร
    เพราะไม่มีอะไรจะได้

    พระโพธิสัตว์ ด้วยเหตุดำเนินตามปรัชญาปารมิตา
    จิตย่อมไม่ ขัดข้อง เพราะจิตไม่ขัดข้องจึงไม่มีความสะดุ้ง
    กลัว ละจากความวิปลาสและความเพ้อฝัน มีพระนิพพาน
    เป็นที่สุด

    พระพุทธเจ้าในทศทิศสามกาล แต่ล้วนดำเนินตาม
    ปัญญาปารมิตาจึงได้บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
    ฉะนั้นจงทราบว่า ‘ปรัชญาปารมิตา’ เป็นมหาศักดามนตร์
    เป็นมหาวิทยามนตร์ เป็นอนุตตรมนตร์ และเป็น อสมสม
    มนตร์ สามารถดับสรรพทุกข์ได้ นี้เป็นสัจจะ

    จึงประกาศปัญญาปารมิตามนตร์ดังนี้


    ด้วย ‘รูปคือความศูนย์’ คำว่าศูนย์ในพระสูตรนี้ไม่ใช่
    ความสูญสิ้น ว่างเปล่า ไม่ใช่ความไม่มีอะไร แต่เป็นคำที่
    พระสูตรนี้ใช้แสดงความหมายอย่างหนึ่ง

    ถ้าจะอธิบายคำว่า “ ศูนย์ ” มีความหมาย เป็นอะไร
    นั้นไม่เพียงแต่ไม่ใช่ของง่าย เหตุปัจจัยมีความสำคัญมาก
    ในเรื่องความศูนย์ ถ้าไม่ทราบความหมายของเหตุปัจจัย
    ก็ไม่อาจจะทราบความหมายของความศูนย์ได้

    “ สรรพธรรมเป็นเหตุของปัจจัย ”

    ประโยคนี้เป็นความจริงที่ลึกซึ้ง ยากที่จะอธิบายได้

    มีท่านผู้หนึ่งกล่าวว่า ........

    ‘ เมื่อทราบเหตุปัจจัยก็ทราบพระพุทธธรรม ’


    ยิ่งกว่านั้นเราจะกล่าวว่า เพราะพระพุทธเจ้าทรงเห็นแจ้ง
    ในหลักของปัจจัย จึงสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า

    พระศาสดาทรงพบ ‘สรรพสิ่งเกิดจากเหตุปัจจัย’ ซึ่งเป็น
    สัจธรรม ที่เหนือธรรมดา เหตุผลของเหตุปัจจัยไม่ใช่คิดขึ้น
    ด้วยพระองค์ แต่ทรงค้นพบเหตุปัจจัย เมื่อทรงเห็นเหตุปัจจัย
    แล้วก็สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าทันที และการนำเอาเรื่องเหตุ
    ปัจจัยมาสั่งสอนแก่มหาชนนั้นก็คือ พระพุทธศาสนา

    ‘เหตุปัจจัย’ ก็คือความสัมพันธ์ในระหว่างเหตุ
    กับปัจจัย และผล

    ‘เหตุ’ คือสาเหตุ เป็นพลังที่ทำให้เกิดผลโดยตรง

    ‘ปัจจัย’ เป็นสิ่งช่วยเหตุ เป็นพลังที่ทำให้เกิดผลโดยทางอ้อม

    ตัวอย่างเช่น เมล็ดข้าวเปลือกเป็นเหตุ ถ้าหากไปวางบน
    โต๊ะจะ นานสักเท่าใดก็ยังเป็นข้าวเปลือก แต่ถ้านำไปปลูกไว้
    ที่ดินประกอบด้วย ฝน น้ำค้าง แสงแดด และปุ๋ยซึ่งเป็นปัจจัย
    เมล็ดข้าวเปลือกก็จะกลาย เป็นรวงข้าว นี้คือความสัมพันธ์
    ระหว่างเหตุปัจจัย และผล

    ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงหมุนเวียนอยู่ตลอดเวลา ในโลกนี้ไม่
    มีอะไรที่เป็นนิจ ทุกๆสิ่งทรงอยู่โดยมีการเปลี่ยนแปลง
    ฉะนั้นถ้าจะกล่าวว่าที่มีอยู่ ทรงอยู่นั้น เป็นการยืมมาเป็นครั้ง
    เป็นคราวก็ไม่ผิดอะไร ถือว่าทุกสิ่งที่มีอยู่นั้นเป็นการสมมุติ
    เป็นการมีอยู่ชั่วคราว ที่ว่ามีอยู่อย่างยั่งยืน มีอยู่อย่างเป็น
    นิจนั้นไม่มีเลย

    ดอกซากุระ เต็มไปทั้งต้น แต่ในไม่ช้านานดอกร่วงไป
    ใบก็ร่วงตาม เหมือนกันต้นไม้แห้งต้นหนึ่ง แต่ในไม่ช้านาน
    ดอกก็ผลิออกมาอีก แล้วก็ล่วงไปอีก หมุนเวียนไปเช่นนี้
    ส่วนต้นนั้นก็ยังคงความเป็นต้น ซากุระอยู่

    มีท่านผู้หนึ่งถามท่านอาจารย์ว่า ที่ว่าพระพุทธศาสนานั้น
    ความจริง พระพุทธเจ้าอยู่ที่ใด ? ท่านอาจารย์ตอบว่าอยู่ที่
    หน้าอกนี้เอง ผู้นั้นก็ชักมีดเล็กออกมาตรงเข้าไปหาอาจารย์
    แล้วกล่าวว่า ‘ ขอผมดูหน่อย’

    ท่านอาจารย์ตอบด้วยความสงบว่า .......

    "ดอกซากุระที่ออกอยู่ทุกปี ตอนนี้ท่านลองไปผ่ามันออกมา
    ดูซิว่ามีดอกอยู่หรือเปล่า? "

    ในที่สุดชายผู้นั้นกลับ ยอมแพ้แก่อาจารย์ และมอบตัว
    เป็นศิษย์ของอาจารย์

    เป็นความจริงอย่างยิ่ง ‘ ทุกสิ่งที่เกิดจากเหตุ ปัจจัย ’
    เป็นความศูนย์ อยู่ในสภาพความศูนย์ ผ่าต้นซากุระออกมา
    ดูซิ ว่ามีดอกอยู่หรือเปล่า แม้แต่ในฤดูหนาว ซึ่งเป็นฤดูที่
    ดอกซากุระจะผลิดอก ก็ไม่มีดอก นั้นแหละ ‘รูปคือความศูนย์’
    แต่ถ้าตอนต้นฤดูใบไม้ผลิ บนยอดกิ่งก็มีรอยยิ้มของดอก
    ซากุระ แล้วนี่คือ ‘ความศูนย์ก็คือรูป’ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรม
    ใดที่จะมีอยู่ตลอดไปนั้น เป็นความคิดที่ผิดแน่ แต่จะถือว่า
    ทุกอย่างเป็นศูนย์ ทุกอย่างไม่มีอยู่ ก็ผิดเช่นกัน

    ต้องพูดอย่างปริศนาว่า........

    ‘ เหมือนมีแต่ไม่มี เหมือนไม่มีแต่มี ’

    นี่คือสภาพแท้จริงของโลกเรา นี่ไม่ใช่พูดตามเรื่องแต่ก็ไม่
    ใช่ทฤษฎี ของพุทธศาสนา เป็นสัจธรรมของโลกนั้น
    เป็นข้อเท็จจริงที่เราเห็นอยู่

    *** ความจริง

    ‘ ความมีอยู่นั้นเป็นความมีที่ไม่อื่นไปจากศูนย์
    ความศูนย์นั้นเป็นความศูนย์ที่ไม่อื่นไปจากความมีอยู่ ’

    “ ศูนย์กับมีอยู่ ” คือหน้าและหลังของกระดาษแผ่นหนึ่ง ”

    เกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิดเป็นสภาพแท้จริงของชีวิตมนุษย์
    เกิดแล้วดับ ดับแล้วเกิดเป็นปรากฏการณ์ของโลก

    อย่างไรก็ตามคนเราเมื่อพูดถึงว่า ‘มี ’ ก็จะยึดอยู่ในความมี
    เมื่อพูดว่า ‘ศูนย์’ ก็มักจะยึดอยู่ในความศูนย์

    *** ฉะนั้นในหลักหฤทัยสูตรจึงต้องกล่าวว่า

    ‘รูปไม่อื่นไปจากศูนย์ ศูนย์ไม่อื่นไปจากรูป’

    *** เพื่อให้ผู้ยึดใน ‘ความศูนย์’ ว่า ศูนย์นั่นแหละมีความ
    มีอยู่แล้ว ก็ให้ผู้ที่ยึดในความ ‘มีอยู่’ นั้นว่า รูปนั้นแหละ
    ไม่อื่นไปจากศูนย์ ความตอนนี้ในพระสูตรนี้ เป็นการแสดง
    ให้เห็นถึงการแสดงออกอย่างชัดแจ้ง คือ สรรพธรรม
    ‘รูปคือความศูนย์ ’ ‘ความศูนย์คือรูป’

    “ สรรพสิ่งย่อมเกิดขึ้น ตั้งอยู่ชั่วขณะหนึ่งและดับไป ”

    ~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~

    ปรัชญาปารมิตามหาฤทัยสูตร
    ( พระสูตรว่าด้วยปัญญาอันเป็นหัวใจพาไปถึงฝั่งพระนิพพาน )

    อายาวะโลกิติซัวรา โบดิสัตจัว กรรมบิรัม ปรัชญา
    ปารมิตาจารัม จารา มาโน
    วียาวะโลกิติสมา ปัญจะ สกันดา อะสัตตัสจา ซัวปาวะสูญนิยะ
    ปาสัตติสมา
    อีฮา สารีบุทรา รูปังสูญญะ สูญนิยะตา อีวารูปา
    รูปานา เวทะสูญนิยะตา สูญญา นายะนา เวทะ ซารูปัง
    ยารูปัง สา สูญนิยะตะยา สูญนียะตา ซารูปัง
    อีวา วีดานา สังญาสัง สการา วียานัม
    อีฮา สารีบุทรา ซาวาดามา สูญนิยะตะ ลักษาณา
    อานุภานา อานิรูตา อะมะระ อะวิมะลา อานุนา อาปาริปุนา
    ทัสมาต สารีบุทรา สูญนิยะตายะ นารูปัง นาวิยานา นาสังญา
    นา สังสการานา วียานัม
    นา จักษุ โสตรา กรรณนา ชิวหา กายา มะนา ซานะรูปัง
    สัพพะ กันดา รัสสัส สปัตตะ วียา ดามา
    นาจักษุ ดาตุ ยาวะนา มะโนวีนยะนัม ดาตุ นาวิดียา นาวิดียา
    เจียโย
    ยาวัดนา จาระมา ระนัม นะจาระมา ระนัม เจียโย
    นาตุขา สมุดา นิโรดา มาคา นายะนัม นาประติ
    นาอะบิส สะมะยัง ตัสมาตนะ ปรัตติถา โพธิสัตวะนัม
    ปรัชญา ปารมิตา อาสริดะ วิหะรัชชะ จิตตา อะวะระนา
    จิตตา อะวะระนา จิตตา อะวะระนา นัสติ ตวะนะ ทรัสโส
    วิปาริยะซา อาติกันดา นิสทรา เนียวานัม
    ทรียาวะ เรียววะ สิทธะ สาวา บุดดา ปรัชญา ปารมิตา
    อาสวิชชะ อะนุตตะระ สัมยัก สัมโบดิม อะบิ สัมโบดา
    ทัสมาต เนียทาวียา ปรัชญา ปารมิตา มหามันทรา
    มหาวิทยะ มันทรา อะนุตตะระ มันตรา อสมา สมาธิ มันทรา
    สาวา ตุขา ปรัชสา มานา สังญา อามิ เจียจัว
    ปรัชญา ปารมิตา มุขา มันทรา ตะติติยะ

    "คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โบดิซัวฮา"

    คำแปล ปรัชญาปารมิตามหาฤทัยสูตร

    พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ผู้ประกอบด้วยโลกุตรปัญญา
    อันลึกซึ้ง ได้มองเห็นว่า โดยธรรมชาติแท้แล้ว ขันธ์ทั้งห้านั้น
    ว่างเปล่า และด้วยเหตุที่เห็นเช่นนั้น จึงได้ก้าวล่วง พ้นจาก
    ความทุกข์ทั้งปวงได้

    "สารีบุตร รูปไม่ต่างจากความว่าง ความว่าง ก็ไม่ต่างไป
    จากรูป รูปคือความว่างนั่นเอง และความว่างก็คือรูปนั่นเอง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็เป็นดังนี้ด้วย

    สารีบุตร ธรรมทั้งหลาย มีธรรมชาติแห่งความว่าง ไม่
    ได้เกิดขึ้นและไม่ได้ดับลง ไม่ได้สะอาดและไม่ได้สกปรก ไม่
    ได้เพิ่มขึ้นไม่ได้ลดลง

    ดังนั้น ในความว่างจึงไม่มีรูป ไม่มีเวทนา หรือสัญญา
    ไม่มีสังขาร หรือวิญญาณ ไม่มีตาหรือหู ไม่มีจมูกหรือลิ้น ไม่มี
    กายหรือจิต ไม่มีรูปหรือเสียง ไม่มีกลิ่นหรือรส ไม่มีโผฏฐัพพะ
    หรือธรรมารมณ์ ไม่มีโลกแห่งผัสสะ หรือวิญญาณ ไม่มีอวิชชา
    และไม่มีความดับลงแห่งอวิชชา ไม่มีความแก่และความตาย
    และไม่มีความดับลงซึ่งความแก่ และความตาย ไม่มีความ
    ทุกข์ และไม่มีต้นเหตุแห่งความทุกข์ ไม่มีความดับลงแห่ง
    ความทุกข์ และไม่มีมรรคทางให้ถึง ซึ่งความดับลงแห่งความ
    ทุกข์ ไม่มีการประจักษ์แจ้งและไม่มีการลุถึง เพราะไม่มีอะไรที่
    จะต้องลุถึง

    พระโพธิสัตว์ผู้วางใจในโลกุตรปัญญา จะมีจิตที่เป็น
    อิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดกั้น เพราะจิตของพระองค์เป็นอิสระ
    จาก อุปสรรคสิ่งกีดกั้น พระองค์จึงไม่มีความกลัวใดๆ ก้าวล่วง
    พ้นไปจากมายาหรือสิ่งลวงตา ลุถึงพระนิพพานได้ในที่สุด
    พระพุทธในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ผู้ทรงวางใจในโลกุ
    ตรปัญญา ได้ประจักษ์แจ้งแล้วซึ่งภาวะอันตื่นขึ้น อันเป็นภาวะ
    ที่สมบูรณ์และไม่มีใดอื่นยิ่ง

    ดังนั้น จงรู้ได้เถิดว่า โลกุตรปัญญา
    - เป็นมหามนต์อันศักดิ์สิทธิ์
    - เป็นมนต์แห่งความรู้อันยิ่งใหญ่
    - เป็นมนต์อันไม่มีมนต์อื่นยิ่งกว่า
    - เป็นมนต์อันไม่มีมนต์อื่นใดมาเทียบได้

    ซึ่งจะตัดเสียซึ่งความทุกข์ทั้งปวง นี่เป็นสัจจะ เป็นอิสระจาก
    ความเท็จทั้งมวล

    ดังนั้น จงท่องมนต์แห่งโลกุตรปัญญา

    <CENTER>
    คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิ สวาหา

    ไป ไป ไปยังฟากฝั่งโน้น
    ไปให้พ้นอย่างสิ้นเชิง
    ลุถึง การรู้แจ้ง ความเบิกบาน
    </CENTER>


    อานิสงส์ที่จากการสวดมนต์ภาวนา 心經


    1.เพื่อเพิ่มพูนสติปํญญาให้สามารถเห็นแจ้งในธรรมะ
    2.เพื่อการบรรลุภาวะการเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรม
    3.เพื่อการตรัสรู้และการบรรลุนิพพานโลกธาตุในที่สุด

    สำหรับผู้ที่มีเวลาน้อย เดินทางเสี่ยงต่ออันตราย หรือ
    เผชิญภาวะฉุกเฉิน และ ต้องการตั้งสติขจัดความตื่นกลัวออก
    ไปโดยเร็ว ควรบริกรรม โดยใช้บทสวดมนต์ย่อว่า

    <CENTER>
    "คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิสวาหา"
    </CENTER>
    ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ท่านหลวงจีนเฮียงจั๋ง (พระถังซำจั๋ง)
    ท่านกล่าวว่า ท่านสวดบทนี้เมื่อท่านอยู่ในภาวะคับขันในการ
    เดินทางข้ามทะเลทราย ท่านเชื่อว่าทำให้มีสติตั้งมั่น เกิด
    ปัญญา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง
     
  12. Namushakamunibutsu

    Namushakamunibutsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,347
    ค่าพลัง:
    +2,618
    [​IMG]
     
  13. Namushakamunibutsu

    Namushakamunibutsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,347
    ค่าพลัง:
    +2,618
    [​IMG]
     
  14. Namushakamunibutsu

    Namushakamunibutsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,347
    ค่าพลัง:
    +2,618
    [​IMG]
     
  15. Namushakamunibutsu

    Namushakamunibutsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,347
    ค่าพลัง:
    +2,618
    [​IMG]
     
  16. Namushakamunibutsu

    Namushakamunibutsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,347
    ค่าพลัง:
    +2,618
    [​IMG]

    โอม มณี ปทฺเม หูม หฺรีหฺ: (Om mani padme hum hrih)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2010
  17. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    ท่านผู้เจริญทั้งหลาย

    ที่มุ่งหวังในพระโพธิญาณในหมวดนี้


    เมื่อโอกาสคบหาพระโพธิสัตว์ที่เที่ยงแท้ เป็นมิตร หาได้ยาก เพราะ เหตุหลายประการ

    ...ก็ศึกษาธรรมอันดีเป็นกุศล จากท่าน เป็นมิตรทางใจ

    เป็นเครื่องอยู่ เป็นที่พึ่งทางใจ เป็นทางดำเนิน
    ปฏิบัติอยู่แล้ว บารมี30ทัศน์ ไม่ถอยหลัง
    ก็ให้อาศัยธรรมนั้น

    เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงกำลังใจให้มั่นในพระโพธิญาณยิ่งขึ้นๆๆๆๆ เทอญ<!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->
     
  18. ?????????

    ????????? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +5,893
    สำหรับมหาโพธิสัตว์ ผู้ยิ่งใหญ่ด้วยใจที่หลอมรวมกับธรรม

    ท่านมิต้องหวังในการทำนายใดๆแล้ว

    การสำเร็จพระโพธิญาณแค่เอื้อม

    แต่ กลับเอา เสียงทุกข์ หรือ ความทุกข์ ของสรรพสัตว์ เป็นเกณฑ์ตัดสิน


    ...ตราบใด ไม่สิ้นเสียงร่ำร้องขอความช่วยเหลือ ตราบใดยังมีสัตว์นรก
    ไม่ขอสำเร็จพระโพธิญาณ

    ...ยังคงมีผู้ที่จิตใจมั่นคงเช่นนี้ วัฏฏะสงสารที่แสนโหดร้าย จึงยังมีบ่อน้ำเย็น
    ให้สรรพสัตว์คลายทุกข์
     
  19. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    [​IMG]
     
  20. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    [​IMG]
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...