สำนักวัดนาป่าพงคึกฤทธิ์และสาวกพลาด! สร้าง" พุทธวจน " ปลอม

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย เสขะปฎิสัมภิทา, 7 กรกฎาคม 2015.

  1. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    เพราะเราผิดเอง ที่ปล่อยเวลาให้สูญเปล่าไปอย่างไรก็ประโยชน์ จะต้องพยายามให้มากกว่านี้
    48404104_176212120003324_3233245182790991872_n.jpg
    จะปล่อยอีกกระทู้เดียวนะ สุดท้าย เพื่อให้พวกเขาคนที่มีวาสนาได้รู้ มาวันเดียว เท่านั้น ถ้าเขาคิดถึง หรือสหธรรมิกสงสัยในธรรมที่เราแสดงไว้ เราจึงจะตอบ ไอ้เรื่องที่จะตำหนิคึกด่าคึกนั่นเรื่องธรรมดาไป ตอนนี้เป็นห้วงตัดสินลงทัณฑ์แล้ว หมดโอกาสแก้ตัวแล้ว ได้แต่ช่วยเหลือผู้ที่ติดค้างตามกาลเพียงเท่านั้น ปฎิสัมภิทา คำนี้ จะอยู่ในใจเขา เขาจะเอ่ยคำนี้ ชาติหน้า หรืออนาคตเราหวังว่า เขาจะได้พบผู้ที่บรรลุปฎิสัมภิทาญานสูงกว่าเรามาโปรด พร้อมด้วยปาฎิหาริย์3ประกอบ ทรมานเขาด้วยฤทธิ์ให้เกิดความหวาดกลัวเพื่อละทิฏฐิได้ เขาจึงจะเชื่อ เพราะเราผิดเองที่ทำได้เพียงเท่านี้ มีอีก15ระดับ ก็คงตามไปกันมา เพราะกึ่งพุทธกาลแล้ว 2501ปีนี้ ประเทศไทยนับเกินไป60ปี
     
  2. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201

    แต่ที่นี้ หลังแต่นั้นในการสอบสวนตรวจทาน ของผู้มีอุตริมนุสธรรมของผู้บรรลุธรรมทางพระวินัย

    จะมีการสอบถามว่า ท่านตรัสรู้และบรรลุธรรมอันใด ท่านตัดกิเลสอันใดได้ รวมทั้งสภาวะต่างๆ

    แต่ไคล์แม๊กน่ะมันอยู่ตรงที่ คณะผู้ตรวจสอบ ผู้เชี่ยวชาญวสี๕ จะเข้าฌานทำสมาธิตามไปดู เรื่องราวโดยอดีคตังสญาน จับกระแสวิมุตติ คราวนี้ ถ้าไม่ได้สมตามราคาคุย ในธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์ หรือธรรมของมนุษย์ผู้ยวดยิ่ง ได้แก่ คุณวิเศษซึ่งมนุษย์ธรรมดาไม่สามารถมีหรือเป็นได้ มิใช่วิสัยของมนุษย์ทั่วไป แต่เป็นวิสัยของผู้บรรลุธรรมขั้นสูงแล้ว ซึ่งก็คือ ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค และผล ก็ได้รับ
    ปาราชิกเป็นของแถมกลับบ้านเก่าไป

    ทีนี้ ใครก็ตาม อย่าอวดตนบรรลุธรรมโง่ๆ อวดเป็นพระโพธิสัตว์ อวดเป็นนั้นนี่ พระอริยะ โสดาอรหันต์ แต่ไม่ได้รู้ ในเรื่องราวเหล่านี้ ก็เท่ากับฆ่าตนเอง ก็เลือกเอาระหว่าง
    จริงกับเท็จเพียงเท่านั้น


    สำหรับเจ้ากรรมนายเวร ที่ไม่รู้เรื่องรู้ราวห่าเหวอะไรๆ ก็ถือว่าซวยไป ที่สำคัญตนผิด



    ให้คุณให้โทษคนจัญไรจนถึงแก่ชีวิตมามากแล้ว

    พวกที่ยังไม่รู้ตัวเองว่าใครที่ต้องชดใช้กรรม ถึงเวลาก็เป็นปฎิปักษ์ดิ้นพลาดๆร้อนทั้งกายทั้งใจ หมดสิ้นคุณความดีที่สั่งสมมา ต้องเวียนว่ายในวัฎสงสาร ในภพภูมิที่ได้แสวงหาไว้ ด้วย กาย วาจา ใจ ที่สกปรกโสมม

    นภญฺจ ทูเร ปฐวี จ ทูเร
    ปารํ สมุทฺทสฺส ตทาหุ ทูเร
    ตโต หเว ทูรตรํ วทนฺติ
    สตญฺจ ธมฺโม อสตญฺจ ราช.

    เขากล่าวว่า ฟ้ากับดินไกลกัน และฝั่งทะเลก็ไกลกัน แต่ธรรมของสัตบุรุษกับอสัตบุรุษไกลกันยิ่งกว่า.
    (พฺราหฺมณ) ขุ. ชา. อสีติ ๒๘/๑๔๓.

    ฟ้ากับดินนั้นไกลกัน หมายความว่า ช่องว่างระหว่างฟ้ากับดินนั้นไม่สามารถจะวัดได้ คือไม่รู้ว่ากว้างและยาวหรือสูงเพียงใด คำว่า ดิน คือพื้นโลกทั้งหมดที่คนอาศัยอยู่ ส่วนฟ้านั้นก็กว้างใหญ่จนหาขอบเขตที่สุดไม่ได้คือหาจุดจบของช่องว่างไม่ได้ จึงเรียกอีกว่า อวกาศ การที่จะให้ดินกับฟ้านั้นมาบรรจบกันจึงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น จึงเปรียบเทียบสิ่งที่แตกต่างกันมากว่า ราวฟ้ากับดิน

    ฝั่งทะเลก็ไกลกัน หมายความว่า เมื่อเราไปอยู่ริมฝั่งทะเลหรืออยู่กลางเรือในทะเลก็ตาม เราจะมองหาฝั่งหรืออีกฟากหนึ่งไม่เห็นเลย เพราะความกว้างใหญ่ของทะเลนั่นเอง
    ความแตกต่างระหว่างฟ้ากับดินก็ดี ความห่างไกลกันของฟากฝั่งทะเลก็ดี แม้จะแตกต่างกันหรือห่างกันมากจนสุดประมาณก็ตาม แต่เมื่อเทียบกับ
    ความแตกต่างกันของสัตบุรุษกับอสัตบุรุษแล้ว จะยิ่งกว่าฟ้ากับดิน จะยิ่งกว่าฟากฝั่งกับทะเล เพราะสัตบุรุษคือผู้เป็นบัณฑิตมีชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาทคือสำรวมกายวาจาใจอยู่เสมอไม่ละเมิดอกุศลธรรมทั้งปวง มีกายสุจริต วาจาสุจริต และใจสุจริต มีความเพียรในการศึกษา และปฏิบัติธรรมอยู่เสมอ เพื่อเข้าถึงพระสัทธรรม ตรงข้ามกับอสัตบุรุษที่มีชีวิตอยู่ด้วยความประมาท ไม่สำรวมกาย วาจา ใจ ประพฤติล่วงละเมิดอกุศลธรรมอยู่เสมอ ย่อมไม่มีโอกาสเข้าถึงพระสัทธรรมได้.

    ก็เพราะการเกี่ยวข้องกับ
    คนพาล คนเลวๆด้วยเล่ห์กลมารยานี่แหละ จะทำให้ต้อง พระอริยะจึงต้องเสียสละตนพลั้งมือฆ่าคนพาลและปลิดชีพฆ่าตนเองด้วยบุพกรรมมามากมายนับต่อนักแล้ว





    3333 145.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  3. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  4. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ก็บอกแล้วว่า..เรื่องบางเรื่อง ถ้าได้รู้แล้ว..จะหนาว สดุ้ง กันไปทั้งโลกา

     
  5. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    3333 139.jpg

    เมื่อคืนทำสวรรค์วุ่น ร้อนไปทั้งบาง ต้องมารุมล้อมซ่อมเส้นทางใหม่ กันเลยทีเดียว นัดกัน ๗ วันว่าจะเสร็จ เอากันล่ะสิทีนี้
     
  6. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ปิดปรับปรุง ฮ่าๆ ล้างบาง

    ไม่บอกดีกว่า หึหึ!

    กระทำตนให้มีจิตใจผ่องใสเหมือนเด็กอ่อนที่ต้องการความรักและน้ำนมจากมารดา

    ความหลงในมานะจึงหมด เหลือเพียงมานะธรรม อัตตาธรรม

    เพราะมีจิตใจเสมอสัตว์ทั้งปวงนั้นเอง ในที่นี้คือ สรรพสัตว์ทั้งหลายต่างเป็นเพื่อนร่วมโลกกัน


    (
    อหังการวิเศษมาร เริ่มเคลื่อน เมื่อคืนมันก็มาโชว์ออฟ ขอดูเศษตังค์ที่ตก พอมันอ้างเป็นเจ้าของเลยให้มันไป เพราะไม่อยากได้ ยังมีการมาอ้างว่า เราเป็นพวกเดียวกันนะ )

    ใครพวกเอ็ง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  7. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  8. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ขอให้มีความสุขความเจริญในธรรมนะท่าน สหธรรมกัลยาณมิตร

    3333 142.jpg
     
  9. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ใครก็จะมาตำหนิเรามิได้ เพราะว่าเราพยายามอยู่
    หัวเดียวกระเทียมลีบ

     
  10. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201


    ให้ทุกข์แก่ใคร ทุกข์นั้นย้อนคืนสู่ตน คนเนรคุณ

    สุดท้าย
    ต้องให้เก็บน้ำมะพร้าวมาล้างให้เหมือนเดิม วันข้างหน้านั้นน่ะนะ

    เมตตาบารมี นี่สำคัญจริง จะโกรธจะเกลียดจะชังอย่างไร? จนท้ายที่สุด โผล่ออกมาทุกที แต่นิยามมันไม่มีทางเหมือนเดิม
     
  11. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    บรรลุธรรมภาษาอะไร? จึงไม่ปรากฎวิมุตติ และไม่สามารถเสวยวิมุตติได้

    มีแต่
    อสัทธรรมหรือสัทธรรมปฎิรูปนอกและในพระศาสนาเพียงเท่านั้น

    สุดท้ายก็
    มิจฉาวิมุตติ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  12. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201




    พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๒ - หน้าที่ 377
    ในเถรวาทแห่งอันเตวาสิกของท่าน กล่าวว่า การเปิดเผยโดยการออกด้วยสติ ชื่อว่า การรื้อถอนออก เพราะความเป็นผู้ต้องอาบัติ. สำหรับในที่นี้ ภิกษุเห็นปานนี้ ชื่อว่า ย่อมเห็นโทษทั้งหลายมีประมาณน้อย โดยความเป็นโทษ โดยความเป็นภัย. เพื่อแสดงซึ่งโทษมีประมาณน้อย โดยความเป็นโทษ โดยความเป็นภัยนั้น ท่านกล่าวมาตรา (ประมาณ) ดังนี้. ๑.ชื่อว่า ปรมาณู ๒.ชื่อว่า อณู ๓.ชื่อว่า ตัชชารี ๔.ชื่อว่า รถเรณู ๕.ชื่อว่า ลิกขา ๖.ชื่อว่า โอกา (อูกา) ๗.ชื่อว่า ธัญญมาส ๘. ชื่อว่า อังคุละ ๙.ชื่อว่า วิทัตถิ ๑๐.ชื่อว่า รตนะ ๑๑.ชื่อว่า ยัฏฐิ ๑๒.ชื่อว่า อุสภะ ๑๓.ชื่อว่า คาวุต ๑๔.ชื่อว่า โยชน์ แปลว่า บรรดาชื่อเหล่านั้น ชื่อว่า ปรมาณู เป็นส่วนแห่งอากาศ (อนุภาคที่เล็กที่สุดซึ่งเห็นด้วยตาเนื้อไม่ได้ เห็นได้ด้วยทิพยจักษุ) ไม่มาสู่คลองแห่งตาเนื้อ ย่อมมาสู่คลองแห่งทิพยจักษุเท่านั้น. ชื่อว่า อณู คือ รัศมีแห่งพระอาทิตย์ที่ส่องเข้าไปตามช่องฝา ช่องลูกดาล เป็นวงกลม ๆ ด้วยดี ปรากฏ หมุนไปอยู่. ชื่อว่า ตัชชารี (สิ่งที่เกิดจากอณูนั้น) เพราะเจาะที่ทางโค ทางมนุษย์ และทางล้อแล้วปรากฏพุ่งไปเกาะที่ข้างทั้งสอง. ชื่อว่า รถเรณู (ละอองรถ) ย่อมติดอยู่ที่รถนั้น ๆ นั่นแหละ. ชื่อว่า ลิกขา (ไข่เหา) เป็นต้นปรากฏชัดแล้วทั้งนั้น. ก็ในคำเหล่านั้น พึงทราบประมาณดังนี้ ๓๖ ปรมาณู ประมาณ ๑ อณู ๓๖ อณู ประมาณ ๑ ตัชชารี (สิ่งที่เกิดจากอณูนั้น) ๓๖ ตัชชารี ประมาณ ๑ รถเรณู (ละอองรถ) ๓๖ รถเรณู ประมาณ ๑ ลิกขา (ไข่เหา) ๗ ลิกขา ประมาณ ๑ โอกา (ตัวเหา) ๗ โอกา ประมาณ ๑ ธัญญมาส (เมล็ดข้าวเปลือก) ๗ ธัญญมาส ประมาณ ๑ อังคุละ (นิ้ว) ๑๒ อังคุละ ประมาณ ๑ วิทัตถิ (คืบ) ๑๒ วิทัตถิ ประมาณ ๑ รัตนะ (ศอก) ๗ รตนะ ประมาณ ๑ ยัฏฐิ (หลักเสา) ๒๐ ยัฏฐิ ประมาณ ๑ อุสภะ (ชื่อโคจ่าฝูง) ๘๐ อุสภะ ประมาณ ๑ คาวุต ๔ คาวุต ประมาณ ๑ โยชน์ ๑๐,๐๖๘ โยชน์ (ส่วนสูง) ประมาณ ๑ ภูเขาสิเนรุราช.

    ดวงตาเห็นธรรม.jpg
     
  13. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    บัวอมนุษย์สัตตานังมี ๓ เหล่า.jpg บัว ๓ เหล่าสำนักคึก ยังมีคนหลงเชื่ออีกหรือ
    "พระพุทธองค์ทรงแสดงพระสัทธรรมเพื่อหงายของที่คว่ำ ส่วน ไอ้คึกฤทธิ์แสดงอสัทธรรมคว่ำของที่หงาย"


    ไปเสือกการพิจารณาธรรมของพระพุทธเจ้ากับพระพรหมอีกแล้ว

    เจอกับพระมหาบัวที่ครอบงำโลกทั้งหลายหน่อย มีปัญญาไหม? ทศพลญาน ๑๐ และ คุณวิเศษของพระพุทธเจ้าทั้งหลายฯ

    ภิกษุ ท.! โลกธรรม มีอยู่ในโลก. ตถาคต ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งโลกธรรมนั้น; ครั้นตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้ว ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ.

    ภิกษุ ท.! ก็อะไรเล่า เป็นโลกธรรมในโลก?

    ภิกษุ ท.! รูป เป็นโลกธรรมในโลก. ตถาคต ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งรูปอันเป็นโลกธรรมนั้น; ครั้นตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้วย่อ...มบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ.

    ภิกษุ ท.! บุคคลบางคน แม้เราตถาคตบอก แสดง บัญญัติ ตั้งขึ้นไว้เปิดเผย จำแนกแจกแจง ทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ อยู่อย่างนี้ เขาก็ยังไม่รู้ไม่เห็น. ภิกษุ ท.! กะบุคคลที่เป็นพาล เป็นปุถุชน คนมืด คนไม่มีจักษุคนไม่รู้ไม่เห็น เช่นนี้ เราจะกระทำอะไรกะเขาได้.

    (ในกรณีแห่ง เวทนา, สัญญา, สังขาร และวิญญาณ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำที่มีหลักเกณฑ์ในการตรัส อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่กล่าวแล้วนั้นทุกประการ)

    ภิกษุ ท.! เปรียบเหมือน ดอกอุบล หรือดอกปทุม หรือดอกบัวบุณฑริกก็ดี เกิดแล้วเจริญแล้วในน้ำ พ้นจากน้ำแล้วดำรงอยู่ได้โดยไม่เปื้อนน้ำ, ฉันใด; ภิกษุ ท.! ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน เกิดแล้วเจริญแล้ว ในโลกครอบงำโลกแล้วอยู่อย่างไม่แปดเปื้อนด้วยโลก.


    บัว ๔ เหล่า (บุคคล ๔ จำพวก)
    บุคคล ๔ จำพวก คือ
    ๑. อุคฆฏิตัญญู (อุก-คะ-ติ-ตัน-ยู)
    ๒. วิปจิตัญญู (วิ-ปะ-จิ-ตัน-ยู)
    ๓. เนยย (เนย-ยะ)
    ๔. ปทปรมะ (ปะ-ทะ-ปะ-ระ-มะ)
    ก็เปรียบเหมือนดอกบัว ๔ เหล่านั้นแล.
    ในบุคคล ๔ จำพวกนั้น
    บุคคลที่ตรัสรู้ธรรมพร้อมกับเวลาที่ท่านยกขึ้นแสดง ชื่ออุคฆฏิตัญญู.
    บุคคลที่ตรัสรู้ธรรมเมื่อท่านแจกความแห่งคำย่อโดยพิสดาร ชื่อว่าวิปจิตัญญู.
    บุคคลที่ตรัสรู้ธรรมโดยลำดับด้วยความพากเพียรท่องจำ ด้วยการไต่ถาม ด้วยทำไว้ในใจโดยแบบคาย ด้วยคบหาสมาคมกับกัลยาณมิตร ชื่อว่าเนยย. บุคคลที่ไม่ตรัสรู้ธรรมได้ในชาตินั้น แม้เรียนมาก ทรงไว้มาก สอนเขามาก ชื่อว่าปทปรมะ.
    ความหมายของบัวสี่เหล่าตามนัยอรรถกถา
    1.( อุคคฏิตัญญู ) พวกที่มีสติปัญญาฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้ และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ เมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็เบ่งบานทันที
    2.( วิปจิตัญญู ) พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติม จะสามารถรู้และเข้าใจได้ในเวลาอันไม่ช้า เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำซึ่งจะบานในวันถัดไป
    3.( เนยยะ ) พวกที่มีสติปัญญาน้อย แต่เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อ มีสติมั่นประกอบด้วยศรัทธา ปสาทะ ในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ในวันหนึ่งข้างหน้า เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำ ซึ่งจะค่อยๆ โผล่ขึ้นเบ่งบานได้ในวันหนึ่ง
    4.( ปทปรมะ ) พวกที่ไร้สติปัญญา และยังเป็นมิจฉาทิฏฐิ แม้ได้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือรู้ตามได้ ทั้งยังขาดศรัทธาปสาทะ ไร้ซึ่งความเพียร เปรียบเสมือนดอกบัวที่จมอยู่กับโคลนตม ยังแต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลา ไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบาน
    คึกฤทธิ์แห่งสำนักวัดนาป่าพง อาศัยฐานะอะไร?ไปวุ่นวายกับการพิจารณา ดอกบัวของพระพุทธเจ้า นี่เป็นการวิสัชนาธรรมในเรื่องการรู้แจ้งใน ฐานะและอฐานะ ที่จะมีจะได้จะเป็นในมรรคผลคำสั่งสอนของพระองค์ท่าน ระหว่างพระพุทธเจ้าและท้าวสหัมบดีพรหม
    ว่าพระองค์ทรงตรัสรู้เห็นจริงลึกซึ้งยิ่งกว่า ที่ท้าวมหาพรหมแสดงมาเพื่อให้ทูลขอทรงเปิดประตูอริยมรรคพระนิพพาน
    ใช่หน้าที่เหรอ มีหรือเปล่า ปฎิสัมภิทาญาน น่ะ ไม่มีแล้วไปวุ่นวายไป รบกวนหมิ่นการพิจารณาพระองค์ท่านทำไม ?เกี่ยวอะไรด้วย?
    ฐานะบุคคลประเภทอื่นก็มี อะไรทำไมจึงมาตกม้าตายกับบัว ๓ เหล่า ๔ เหล่า ตีความก็ไม่เป็น นั่นเรื่องของพระพุทธเจ้า เรื่องของสาธุชนคือตั้งใจ ศึกษาพระธรรม
    บุคคลที่เปรียบเป็นดอกบัว ของพระพุทธเจ้ามีความกว้างขวางมากมายนัก สำนักที่ไม่มีปฎิสัมภิทา ๔ แต่ไปรวมรวบพระพุทธวจน ตีความอย่างผิดๆ
    สำนักนั้นคิดว่าสัตว์ทั้งหมดสอนได้สินะ ! ทำลายพระพุทธวจนเองยังไม่พอ ยังสอนให้ผู้อื่นเชื่อตาม มีจิตคับแคบไม่กว้างขวางในโลก
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๔ จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก
    ๔ จำพวกเป็นไฉน คือ อุคฆฏิตัญญู ผู้อาจรู้ธรรมแต่พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง ๑
    วิปจิตัญญู ผู้อาจรู้ธรรมต่อเมื่อท่านอธิบายความแห่งหัวข้อนั้น ๑ เนยยะ
    ผู้พอแนะนำได้ ๑ ปทปรมะ ผู้มีบทเป็นอย่างยิ่ง ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    บุคคล ๔ จำพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
    ไม่มีปทปรมะ ก็ไม่มีผู้ที่มีมิจฉาทิฎฐิ ไม่มีคนว่ายากสอนยาก หรือไม่มีคนที่สอนไม่ได้ ไม่มีผู้ที่ได้รู้จักพระพุทธศาสนาแต่ไม่ได้ถือพระรัตนตรัย ไม่มีผู้ที่ได้รู้จักพระศาสนาแต่ก็ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ และก็ต้องไม่มีคนนอกศาสนาอันไกลโพ้นที่ไม่เคยรู้จักพระพุทธศาสนาเลย โลกของบัว ๓ เหล่าในสำนักนั้น จึงเป็นโลกที่ไม่มีศาสนาอื่น มีแต่พุทธหนึ่งเดียวในโลก เป็น ภวทิฏฐิ และ วิภวทิฏฐิ อันมี สัสสตทิฏฐิ และ อุทเฉททิฏฐิ เป็นต้นฯ
    เพราะจริตธรรมยังอ่อนนักในการพิจารณาถึงบัวขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า " ฟังคำ อ่านคำไทย อย่างซื่อๆ แต่ไม่ถึงภาษาธรรม "
    จึงไม่มีทางเห็นบัวเหล่าอื่นที่ทรงสอนออกมาพร้อมกัน เพราะเห็นแต่บัว บางเหล่า แต่ไม่เอา บัวที่ไม่ทรงสงเคราะห์ลง ในบัว โดยเฉพาะคำว่า บางเหล่า นี่ แสดงว่ามีเยอะแยะมากมาย กว้างขวางมาก เมื่อไม่รู้ศัพท์ภาษายิ่งไปคิดว่าภาษาไทยระบุชัดว่าเป็น ๓ เหล่าจริงๆ ก็จะไม่ใช่ฐานะที่จะนำมาแย้งกันได้ในกรณีนี้

    บัวที่ไม่เอ่ยถึง(เนยยัตถะ) บัวที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า(เนยยัตถะ) ต้องไขความ
    บัวที่มองด้วยใจ(นีตัตถะ) บัวที่กล่าวถึงแล้วโดยธรรม(นียัตถะ)ไม่ต้องไข
    ในพระสูตรนี้จริงๆแล้ว บัวมีเพียงสองประเภทใหญ่ๆ บัวที่เป็นนียัตถะ และ บัวที่เป็นเนยยัตถะ


    "สารีบุตร เธอไม่สามารถให้กรรมฐานลูกศิษย์ที่เป็น
    พุทธเวไนยะ ได้พวกนี้ ต้องฟังจากตถาคตเท่านั้น "
    ครั้นเมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าทรงบำเพ็ญเพียรจนได้บรรลุพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ทรงเข้าถึงความเป็นพระพุทธเจ้าตรัสรู้ชอบ โดยพระองค์เองในวันรุ่งเดือน ๖ ณ ใต้ร่มมหาโพธิบัลลังก์ ทรงหมดสิ้นซึ่งอาสวะกิเลส เมื่อพระพุทธองค์ทรง บรรลุเป็นพระ
    สัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ได้ทรงเสวยวิมุตติสุขเนิ่นนานอยู่ ทรงคำนึงว่าธรรมที่พระองค์ตรัสรู้นี้ ล้ำลึกนัก ยากที่สัตว์อื่นจะรู้ตาม
    จึงท้อพระทัยที่จะสั่งสอนสัตว์ ฝ่ายท้าวสหัมบดีพรหมทรงวิตกว่า พระพุทธองค์จะทรงละเลยกิจที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายใน
    อดีตได้ทรงปฏิบัติ คือ ทรงจะแสดงพระสัทธรรมโปรดหมู่เวไนยสัตว์ในภพทั้งหลาย (พรหมภูมิ สวรรค์ภูมิ มนุษย์ภูมิ) ด้วยเมื่อ พระโพธิสัตว์ทรงบรรลุธรรมแล้วจะทรงน้อมพระทัยไปสู่การเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เหตุนั้น ท้าวสหัมบดีพรหม จึงได้ชักชวน
    หม่ พรหมและทวยเทพในภพสวรรค์ เสด็จมาชุมนุมต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระบรมศาสดา แล้วกล่าวคำทูลอารธนาให้ทรง แสดงธรรมว่า
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าได้โปรดแสดงธรรมเถิด”
    พระพุทธองค์ทรงพิจารณาหมู่เวไนยสัตว์
    พระพุทธองค์ได้ทรงตรึกตรอง ทรงคำนึงว่าธรรมที่พระองค์ตรัสรู้นี้ ลึกซึ้งมาก ยากที่สัตว์อื่นจะรู้ตาม จึงยังทรงมิได้รับคำทูล
    อารธนาทีเดียว แต่ได้ทรงพิจารณาโดยพระญาณก่อนว่า เวไนยสัตว์นั้นจำแนกเหล่าใดที่จะรองรับพระสัทธรรมได้เพียงใด จำนวนเท่าใด ทรงจำแนกด้วยพระญาณว่าเหล่าเวไนยสัตว์บุคคลที่จะรับพระสัทธรรมได้ และไม่ได้มีอยู่ ๔ จำพวก เปรียบได้
    ดังดอกบัวสี่เหล่า อันหมายถึง ปัญญา วาสนา บารมี และอุปนิสัย ที่สร้างสมมาแต่อดีตของบุคคล ซึ่งบัว ๔ เหล่านั้นคือ
    ๑. ดอกบัวที่พ้นน้ำแล้ว รอแสงพระอาทิตย์จะบานวันนี้
    ๒. ดอกบัวที่ปริ่มน้ำ จะบานวันพรุ่งนี้
    ๓. ดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำ ยังอีก ๓ วันจึงจะบาน
    ๔. ดอกบัวที่เพิ่งงอกใหม่จากเหง้าในน้ำ จะยังไม่พ้นภัยจากเต่าและปลา
    บุคคลที่เปรียบได้กับดอกบัวดอกที่ ๑,๒,๓ นั้นสามารถให้อนุศาสโนวาทแล้วสามารถบรรลุมรรค ผล นิพพาน ได้เร็วช้าต่างกัน
    ก็ด้วยปัญญา วาสนา บารมี และอุปนิสัยที่ต่างกัน ซึ่งจำแนกเป็น พุทธเวไนย์ สาวกเวไนย์์ ธาตุเวไนย์ ตามลำดับ ส่วนบุคคลซึ่ง เปรียบเป็นบัวประเภทที่ ๔ ไม่สามารถบรรลุอะไรได้ในชาตินี้ ด้วยขาดซึ่งปัญญา แต่จะเป็นอุปนิสัย วาสนา บารมีต่อไปในภาย ภาคหน้า เมื่อทราบด้วยพระญาณดังนั้นแล้ว ด้วยพระกรุณาคุณ ทรงเล็งเห็นว่าโลกนี้ผู้ที่พอจะรู้ตามได้ก็คงมีอยู่บ้าง เมื่อเล็งเห็น เหตุนี้ จึงตกลงพระทัยจะสอนธรรมให้แก่สัตว์ทั้งปวง จึงรับอารธนาของท้าวสหัมบดีพรหม
    พระพุทธเจ้าทรงนึกถึงผู้ที่ควรโปรดก่อนคือ อาฬารดาบส กับ อุทกดาบส ผู้เป็นอาจารย์ แต่ท่านเหล่านี้ก็สิ้นชีวิต ไปแล้วจะมีอยู่ ก็แต่ปัญจวัคคียทั้ง ๕ มีชื่อว่า ๑. โกณฑัญญะ ๒. วัปปะ ๓. ภัททิยะ ๔. มหานามะ ๕. อัสสชิ ซึ่งท่านโกณฑัญญะเป็นหัวหน้า ปัญจวัคคีย์ ซึ่งท่านผู้นี้ได้เป็นพราหมณ์คนหนึ่งในจำนวน พราหมณ์ ๑๐๘ คน ที่มาประชุม ทำนายพระลักษณะ เมื่อพระ
    พุทธเจ้าได้ประสูติแล้ว ๕ วัน พราหมณ์เหล่านี้พากันทำนายว่าพระองค์จะมีคติ เป็น ๒ คือ ถ้าอยู่ครองฆราวาสจะได้เป็นพระ
    เจ้าจักรพรรดิ พระราชาเอกในโลก แต่ถ้าออกทรงผนวชจะได้เป็นศาสดาเอก ของโลก ส่วนท่านโกณฑัญญะเป็นพราหมณ์หนุ่ม ที่สุดในหมู่พราหมณ์นั้นได้ทำนายไว้ คติเดียวว่าจะเสด็จออกทรงผนวช จะได้เป็น ศาสดาเอกในโลก เพราะฉะนั้นจึงได้คอยฟัง ข่าวพระโพธิสัตว์อยู่เสมอ จนเมื่อพระโพธิสัตว์เสด็จออกทรงผนวช ท่านโกณฑัญญะก็ได้ชักชวนบุตรของพราหมณ์ที่มาประชุม
    ทำนายพระลักษณะในคราวนั้นได้อีก ๔ คน รวมเป็น ๕ ออกคอยติดตามพระโพธิสัตว์ และเมื่อพระโพธิสัตว์ได้ทรงบำเพ็ญ ทุกรกิริยาก็เป็นที่สบอัธยาศัยของท่านทั้ง ๕ ซึ่งนิยมในทางนั้น ก็พากันไปคอยเฝ้าปฏิบัติ ครั้นพระองค์ได้ทรงเลิกละเสีย
    ท่านทั้ง ๕ นั้น ก็เห็นว่าพระองค์ได้ทรงเวียนมาเป็นผู้มักมาก จะไม่สามารถตรัสรู้พระธรรมได้ ก็พากันหลีกไปพักอยู่ที่ตำบล
    อิสิปตนมฤคทายวันนั้น ซึ่งเมื่อพระพุทธองค์ได้บำเพ็ญจนสำเร็จเป็นพระอนุตรสัมพุทธเจ้าแล้วจึงพิจารณาที่จะแสดงธรรมโปรด ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ก่อน จึงเสด็จออกเดินจากควงไม้พระศรีมหาโพธิ์ที่ประทับอยู่ มุ่งพระพักตร์เสด็จไปยังป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี
    การที่เสด็จจากตำบลพระศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งถึงกรุงพาราณสี แสดงให้เห็นพระวิริยอุตสาหะอันแรงกล้า และการตั้งพระทัย แน่วแน่ที่จะประทานปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์เป็นพวกแรกอย่างแท้จริง เพราะระยะทางระหว่าง ตำบลพระศรีมหาโพธิ์ถึง
    พาราณสีนั้นไกลมาก ซึ่งการเสด็จดำเนินด้วยพระบาทเปล่าอาจใช้เวลาหลายวัน แต่ปรากฏว่าพอตอนเย็น วันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน อาสาฬหะ นั้น พระพุทธองค์ก็เสด็จถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี อันเป็นที่อยู่ของปัจจวัคคีย์
    ทรงโปรดเหล่าปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕
    เมื่อเหล่าปัญจวัคคีย์มองเห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมาแต่ไกล ก็นัดหมายกันว่าจะไม่ทำการลุกต้อนรับ ไม่ให้ทำการอภิวาทและไม่ รับบาตรจีวร แต่ให้ปูอาสนะไว้ ถ้าทรงประสงค์จะนั่งก็นั่ง แต่ถ้าไม่ประสงค์ก็แล้วไป แต่ครั้นพระองค์เสด็จถึง ต่างก็ลืมกติกาที่ตั้ง กันไว้ พากันลุกขึ้นและอภิวาทกราบไหว้ และนำน้ำล้างพระบาท ตั่งรองพระบาท ผ้าเช็ดพระบาท มาคอยปฏิบัติ พระพุทธเจ้าได้ เสด็จประทับบนอาสนะ ทรงล้างพระบาทแล้วเหล่าปัญจวัคคีย์ก็เรียกพระองค์ด้วยถ้อยคำตีเสมอ คือเรียกพระองค์ว่า อาวุโส
    ที่แปลว่า ผู้มีอายุ หรือแปลอย่าง ภาษาไทยว่า คุณ โดยไม่มีความเคารพ พระองค์ตรัสห้ามและทรงบอกว่าพระองค์ทรงตรัสรู้ แล้ว จะแสดงอมตธรรมให้ท่านทั้งหลายฟัง เมื่อท่านทั้งหลายตั้งใจฟัง แล ปฏิบัติโดยชอบก็จะเกิดความรู้จนถึงที่สุดทุกข์ได้
    เหล่าปัญจวัคคีย์ก็กราบทูลคัดค้านว่า เมื่อทรงบำเพ็ญทุกรกิริยายังไม่ได้ตรัสรู้ เมื่อทรงเลิกเสียจะตรัสรู้ได้อย่างไร พระพุทธเจ้า ก็ยังตรัสยืนยันเช่นนั้น และเหล่าปัญจวัคคีย์ก็คงคัดค้านเช่นนั้นถึง ๓ ครั้ง พระพุทธองค์จึงตรัสให้ระลึกว่า แต่ก่อนนี้พระองค์ได้ เคยตรัสพระวาจาเช่นนี้หรือไม่ เหล่าปัญจวัคคีย์ก็ระลึกได้ว่าพระองค์ไม่เคยตรัสพระวาจาเช่นนี้ เมื่อเป็นเช่นนี้จึงได้ยินยอมเพื่อ จะฟังพระธรรม พระพุทธเจ้าเมื่อทรงเห็นว่าเหล่าปัญจวัคคีย์พากันตั้งใจเพื่อจะฟังพระธรรมของพระองค์แล้ว จึงได้ทรงแสดง ปฐมเทศนา คือ เทศนาครั้งแรก โปรดเหล่าปัญจวัคคีย์ พระองค์ได้ทรงแสดงปฐมเทศนานี้ในวันรุ่งขึ้นจากที่เสด็จไปถึง คือ ได้ ทรงแสดงใน วันเพ็ญของเดือน อาสาฬหะ หรือ เดือน ๘ ก่อนวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน ซึ่งเป็นวันที่ประกอบพิธี อาสาฬหบูชา ดังที่ ได้กำหนดตั้งขึ้นเป็นวันบูชาวันหนึ่ง
    ทรงแสดงปฐมเทศนา
    ปฐมเทศนา “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” นับเป็นเทศนากัณฑ์แรกที่ทรงแสดงทางที่พระองค์ทรงปฏิบัติ ได้ทรงแสดงธรรมที่ได้ ตรัสรู้ ได้ทรงแสดง ญาณ คือ ความรู้ของพระองค์ที่เกิดขึ้นในธรรมนั้น โดยใจความปฐมเทศนานี้
    ตอนที่ ๑ พระพุทธเจ้าได้ทรงชี้ทางที่บรรพชิต คือ นักบวชซึ่งมุ่งความหน่าย มุ่งความสิ้นราคะ คือ ความติด ความยินดี
    มุ่งความตรัสรู้ มุ่งพระนิพพาน ไม่ควรซ่องเสพ อันได้แก่ กามสุขัลลิกานุโยค คือ ความประกอบตนด้วยความสุข สดชื่นอยู่ในทางกาม และ อัตตกิลมถานุโยค คือ ประกอบการทรมานตนให้ลำบากเดือดร้อนเปล่า เหล่านี้เป็นข้อ ปฏิบิตีที่เป็นของต่ำทรามเป็นกิจของปุถุชน มิใช่กิจของบรรพชิตผู้มุ่งผลแห่งที่สุด
    ตอนที่ ๒ ได้ทรงแสดงธรรมะที่ได้ตรัสรู้ เมื่อละทางทั้งสองข้างต้น และมาเดินทางสายกลาง เรียกว่า “มัชฌิมาปฏิปทา" คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นกลางที่เป็นข้อปฏิบัติอันสมควร แล้วทรงแสดงทางสายกลาง หรือ อริยมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ได้แก่
    ๑. สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ
    ๒. สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ
    ๓. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ
    ๔. สัมมากัมมันตะ คือ ทำการงานชอบ
    ๕. สัมมาอาชีวะ คือ เลี้ยงชีพชอบ
    ๖. สัมมาวายามะ คือ มีความเพียรชอบ
    ๗. สัมมาสติ คือ ระลึกชอบ
    ๘. สัมมาสมาธิ คือ ตั้งใจชอบ
    ดูแต่บัวที่พระพุทธเจ้าทรงพิจารณา แต่ไม่ดูพระธรรมคำสั่งสอน อาศัยฐานะอะไร?ไปวุ่นวายกับการพิจารณา ดอกบัวของพระพุทธเจ้า
    ใช่หน้าที่เหรอ มีหรือเปล่า ปฎิสัมภิทาญาน น่ะ ไม่มีแล้วไปวุ่นวายไป รบกวนหมิ่นการพิจารณาพระองค์ท่านทำไม ?เกี่ยวอะไรด้วย?
    ฐานะบุคคลประเภทอื่นก็มี อะไรทำไมจึงมาตกม้าตายกับบัว ๓ เหล่า ๔ เหล่า ตีความก็ไม่เป็น นั่นเรื่องของพระพุทธเจ้า เรื่องของสาธุชนคือตั้งใจ ศึกษาพระธรรม
    เราเป็นประเภท พุทธะเวไนย ปัจเจกอริยบุคคล ใครมาสอนเราไม่ได้หรอก เราสาวกภูมิ ไม่เอาตามใคร? ถ้าเหมือนกัน ก็ถือว่าใช้ได้ เรายิงสายตรงพิจารณาตาม สมเด็จพระบรมมหาศาสดาเพียงผู้เดียว
    บุคคลที่เปรียบเป็นดอกบัว ของพระพุทธเจ้ามีความกว้างขวางมากมายนัก ท่านอย่าเอาสำนักที่ไม่มีปฎิสัมภิทา ๔ แต่ไปรวมรวบพระพุทธวจน ตีความอย่างผิดๆเลย แค่เรื่องการบำเพ็ญทุกรกิริยา สำนักนั้นหรือสำนักไหนๆก็ ที่เห็นว่าไม่สามารถบรรลุได้ เข้าใจผิดหมดแล้ว
    สำนักนั้นคิดว่าสัตว์ทั้งหมดสอนได้สินะ ! ทำลายพระพุทธวจนเองยังไม่พอ ยังสอนให้ผู้อื่นเชื่อตาม มีจิตคับแคบไม่กว้างขวางในโลก
    มีผู้ค้านชัดเจนไปแล้ว เรื่องนี้ เรื่องดอกบัว๓ หรือ ๔ และอย่าเอาไปรวมกับเรื่อง ฐานะประเภท พุทธเวไนย์ สาวกเวไนย์์ ธาตุเวไนย์
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๔ จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก
    ๔ จำพวกเป็นไฉน คือ อุคฆฏิตัญญู ผู้อาจรู้ธรรมแต่พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง ๑
    วิปจิตัญญู ผู้อาจรู้ธรรมต่อเมื่อท่านอธิบายความแห่งหัวข้อนั้น ๑ เนยยะ
    ผู้พอแนะนำได้ ๑ ปทปรมะ ผู้มีบทเป็นอย่างยิ่ง ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    บุคคล ๔ จำพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
    ไม่มีปทปรมะ ก็ไม่มีผู้ที่มีมิจฉาทิฎฐิ ไม่มีคนว่ายากสอนยาก หรือไม่มีคนที่สอนไม่ได้ ไม่มีผู้ที่ได้รู้จักพระพุทธศาสนาแต่ไม่ได้ถือพระรัตนตรัย ไม่มีผู้ที่ได้รู้จักพระศาสนาแต่ก็ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ และก็ต้องไม่มีคนนอกศาสนาอันไกลโพ้น ที่ไม่เคยรู้จักพระพุทธศาสนาเลย
    โลกของบัว ๓ เหล่าในสำนักนั้น จึงเป็นโลกที่ไม่มีศาสนาอื่น มีแต่พุทธหนึ่งเดียวในโลก เป็น ภวทิฏฐิ และ วิภวทิฏฐิ อันมี สัสสตทิฏฐิ และ อุทเฉททิฏฐิ เป็นต้นฯ
    ระดับสูงกว่านั้นก็มีไล่ลงมาตามลำดับอีก คือ บุคคล ๕ จำพวก
    บุคคล ๕ จำพวกที่เชื่อแน่ในธรรมนี้ คือ สัตตักขัตตุปรมโสดาบัน ๑ โกลังโกละโสดาบัน ๑ เอกพีชีโสดาบัน ๑ พระสกทาคามี ๑ พระอรหันต์ในปัจจุบัน ๑
    บุคคล ๕ จำพวกที่เชื่อแน่ในภพสุทธาวาสในธรรมนึ้ คือ อันตราปรินิพพายีอนาคามีบุคคล ๑ อุปหัจจปรินิพพายีอนาคามีบุคคล ๑ อสังขารปรินิพพายีอนาคามีบุคคล ๑ สสังขารปรินิพพายีอนาคามีบุคคล ๑ อุทธังโสโตอกนิฏฐาคามีบุคคล ๑
    ดูที่พระธรรมคำสั่งสอน ดูที่แนวทางคำสั่งสอน ไม่ใช่ไปวุ่นวายกับดอกบัวของพระพุทธเจ้า ไม่มีปฎิสัมภิทา ๔ อย่าไปมั่ว
    หวังดีแต่โชว์ห่วย จะกลายเป็นประสงค์ร้าย พาสัตว์ไปพบกับความทุกข์
    สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ
    สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชินาติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ
    การให้ธรรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง
    รสแห่งธรรม ชนะรสทั้งปวง
    ความยินดีในธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง
    ความสิ้นไปแห่งตัณหา ชนะทุกข์ทั้งปวง
    ผู้ใดให้ธรรมเป็นทาน ผู้นั้นชื่อว่าให้พระนิพพานแก่คนทั้งหลาย
    ทรงจำแนกสอน"แก่น"ธรรม" แตกต่างกันที่หัวข้อวัตรปฎิบัติ ระหว่าง พระธรรมคำสั่งสอนที่เป็นทางสายกลาง และ นอกเหนือจากหลักธรรมที่ทรงแสดง ซึ่งเป็นที่น้อมนอมให้เหล่านักบวชนอกพระศาสนาพิจารณาเห็น"แก่น ธรรม" ที่พราหมณ์ไม่มีและถึงมีก็เป็นอย่างอื่นไม่เหมือนกัน ตามพระดำรัส
    ซึ่งเป็นพระธรรมคำสั่งสอนที่จำเป็นแก่เราและท่านบัณฑิตผู้เจริญทั้งหลาย ทั้งที่ต่างสถานะฯ และฐานะธรรมจะต้องทราบและต้องรู้อย่างยิ่ง
    นั่นก็เพื่อปรามตนเองและผู้อื่นที่หลงเข้าใจผิด ไม่รู้จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนานั้นด้วย
    "ตรัสแก่พระภิกษุ"
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พรหมจรรย์นี้เราประพฤติมิใช่เพื่อ
    หลอกลวงคน มิใช่เพื่อเรียกร้องคน (ให้มานับถือ) มิใช่เพื่ออานิสงส์ ลาภ
    สักการะ และความสรรเสริญ มิใช่เพื่ออานิสงส์เป็นเจ้าลัทธิและแก้ลัทธิอย่าง
    นั้นอย่างนี้ มิใช่เพื่อให้คนรู้จักตัวว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ที่แท้พรหมจรรย์นี้
    เราประพฤติเพื่อสังวร เพื่อปหานะ (ความละ) เพื่อวิราคะ (ความหายกำหนัด
    ยินดี) เพื่อนิโรธะ (ความดับทุกข์)
    "ตรัสแก่พราหมณ์"
    ดูก่อนพราหมณ์ พรหมจรรย์นี้
    ไม่ใช่มีลาภสักการะและความสรรเสริญเป็นอานิสงส์
    ไม่ใช่มีความถึงพร้อมแห่งศีลเป็นอานิสงส์
    ไม่ใช่มีความถึงพร้อมแห่งสมาธิเป็นอานิสงส์
    ไม่ใช่มีญาณทัสสนะเป็นอานิสงส์
    พรหมจรรย์นี้ มีเจโตวิมุติอันไม่กำเริบ
    เป็นประโยชน์
    เป็นแก่น
    เป็นที่สุด
    พระธรรมคำสั่งสอน ไม่ใช่ของอวด ของแข่งดีแข่งเด่น กับศาสนาอื่น ต่างชาติบ้านเมือง แต่เป็นไปเพื่อความสุขของเหล่าเวไนยสัตว์ที่มีความรักและศรัทธา ในพระรัตนตรัยอันเป็น แก้วสามประการ ของ พระพุทธศาสนา
    " ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ ".
    " เป็นสิ่งที่พึงรู้ได้เฉพาะตน ".
    ตามความหมายแล้ว หมายถึง การทำได้และเข้าถึงของคนคนเดียวเท่านั้น ให้ใครบรรลุธรรมแทนเราก็ไม่ได้ เป็นมรดกตกทอดก็ไม่ได้
    ใครทำใครได้ นอกเหนือจากผู้ที่บรรลุธรรมในระดับเดียวกันหรือสูงกว่าแล้ว...ผู้ที่ได้บรรลุธรรมคนนั้นนั่นแหละ เป็นผู้ที่รู้และเข้าใจสภาวะธรรมที่ตนทำได้และเข้าถึงได้ดีกว่าใครอื่นที่ยังไม่ได้บรรลุธรรมทั้งหมด เมื่อบรรลุธรรมแล้ว เข้าใจแล้วก็สามารถนำความรู้ความเข้าใจนั้นมาอบรมสั่งสอนคนอื่นให้เข้าใจตามได้ ทุกแง่ทุกมุม ทั้งขั้นตอน วิธีการ เรียงลำดับก่อนหลัง มีที่มาที่ไปอย่างไร ผลที่ได้เป็นอย่างไร ก็สามารถนำมาบอกกล่าวกันได้
    เมื่อหลงเชื่อว่าบุคคลมีเพียง๓ประเภท จะขัดกับพระสูตรอื่น ที่กล่าวถึง อฐานะ ทั้งหมดฯ
    บอกแล้วว่าถ้าเป็นมิจฉาทิฎฐิมันจะเป็นแมลงมุมสางใยพันตนเอง
    คิดได้เท่านี้เหรอ ระวัง เป็นโคเดินตามโค อย่าคิดว่าเป็นลูกโคแล้วจะเก่ง เดินไม่ดูทาง เขาขโมยเชือดพ่อโคทิ้ง ลูกโคจะหลงทาง หาทางกลับคอกไม่ถูก
    ทำได้แค่นี้เหรอ สติปัญญา ไม่เห็นได้อะไร?ที่เจริญขึ้นมาเลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  14. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    บัวกระจอกจัง 1437122786-1369652041-o.jpg
     
  15. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ถึงความฉิบหายละ สัตตานัง

    สัตว์มีกรรมเป็นทายาท เพราะมีกรรมดำ กรรมขาว


    แต่ผู้มีกรรมไม่ดำไม่ขาวนั้นสิ้นกรรมแล้ว ย่อมไม่ถือว่าเป็นสัตว์

    กรรมดำกรรมขาว ๔

    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรปุณณะ กรรม ๔ ประการนี้
    เราทำให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตาม ๔ ประการนั้นเป็นไฉน

    ดูกรปุณณะกรรมดำมีวิบากดำมีอยู่ กรรมขาวมีวิบากขาวมีอยู่ กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาว มีอยู่

    กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว เป็นไปเพื่อความสิ้นกรรมมีอยู่
    ดูกรปุณณะ ก็กรรมดำมีวิบากดำ เป็นไฉน ดูกรปุณณะ บุคคลบางคนในโลกนี้ ประมวลกายสังขาร อันมีความทุกข์

    ประมวลวจีสังขาร อันมีความทุกข์ ประมวลมโนสังขาร อันมีความทุกข์ ครั้นแล้ว เขาย่อมเข้าถึงโลกอันมีความทุกข์ ผัสสะอันประกอบด้วยทุกข์ ย่อมถูกต้อง

    เขาผู้เข้าถึงโลกอันมีทุกข์ เขาอันผัสสะประกอบด้วยทุกข์ถูกต้อง ย่อมเสวยเวทนาอันประกอบด้วยทุกข์ อันเป็นทุกข์โดยส่วนเดียวดุจสัตว์นรก ฉะนั้น ดูกรปุณณะ เพราะกรรมที่มีดังนี้แล ความอุปบัติของสัตว์จึงมี

    สัตว์ทำกรรมใดไว้ ย่อมเข้าถึงเพราะกรรมนั้น ผัสสะย่อมถูกต้องเขาผู้เข้าถึงแล้ว ดูกรปุณณะ แม้เพราะอย่างนี้เราจึงกล่าวว่า สัตว์มีกรรมเป็นทายาท ข้อนี้ เรากล่าวว่ากรรมดำมีวิบากดำ.

    ดูกรปุณณะ ก็กรรมขาว มีวิบากขาว เป็นไฉน ดูกรปุณณะ บุคคลบางคนในโลกนี้ประมวลกายสังขาร อันไม่มีความทุกข์ ประมวลวจีสังขาร อันไม่มีความทุกข์ ประมวลมโนสังขาร

    อันไม่มีความทุกข์ ครั้นแล้ว เขาย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความทุกข์ ผัสสะอันไม่มีความทุกข์ย่อมถูกต้อง เขาผู้เข้าถึงโลกอันไม่มีความทุกข์ เขาอันผัสสะไม่มีความทุกข์ถูกต้องแล้ว ย่อมเสวยเวทนาอันไม่มีความทุกข์ เป็นสุขโดยส่วนเดียวดุจเทพชั้นสุภกิณหะ ฉะนั้น

    ดูกรปุณณะเพราะกรรมที่มีดังนี้แล ความอุปบัติของสัตว์จึงมี สัตว์ทำกรรมใดไว้ ย่อมเข้าถึงเพราะกรรมนั้นผัสสะย่อมถูกต้องเขาผู้เข้าถึงแล้ว

    ดูกรปุณณะ แม้เพราะอย่างนี้ เราจึงกล่าว สัตว์มีกรรมเป็น
    ทายาท ข้อนี้ เรากล่าวว่า กรรมขาว มีวิบากขาว.


    ดูกรปุณณะ ก็กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาวเป็นไฉน ดูกรปุณณะ บุคคลบางคนในโลกนี้ ประมวลกายสังขาร อันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง ประมวลวจีสังขารอันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง ประมวลมโนสังขาร อันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง ครั้นแล้ว เขาย่อมเข้าถึงโลกอันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง ผัสสะอันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง ย่อมถูกต้องเขา ผู้เข้าถึงโลก อันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง

    เขาอันผัสสะที่มีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง ถูกต้องแล้ว ย่อมเสวยเวทนาอันมีความทุกข์บ้าง ไม่มีความทุกข์บ้าง มีทั้งสุขและทุกข์ระคนกัน ดุจพวกมนุษย์ เทพบางเหล่า และสัตว์วินิบาตบางเหล่า ฉะนั้น ดูกรปุณณะ เพราะกรรมที่มีดังนี้แล ความอุปบัติของสัตว์จึงมี สัตว์

    ทำกรรมใดไว้ ย่อมเข้าถึงเพราะกรรมนั้น ผัสสะย่อมถูกต้องเขาผู้เข้าถึงแล้ว ดูกรปุณณะแม้เพราะอย่างนี้ เราจึงกล่าวว่า สัตว์มีกรรมเป็นทายาท ข้อนี้เรากล่าวว่า กรรมทั้งดำทั้งขาว
    มีวิบากทั้งดำทั้งขาว.


    ดูกรปุณณะ ก็กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นกรรมนั้นเป็นไฉน ดูกรปุณณะ บรรดากรรม ๓ ประการนั้น เจตนาเพื่อละกรรมดำ มีวิบากดำ เจตนาเพื่อ
    ละกรรมขาว มีวิบากขาว เจตนาเพื่อละกรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาวนั้นเสีย ข้อนี้เรากล่าวว่า กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม ดูกรปุณณะ
    กรรม ๔ ประการนี้แล เราทำให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้ตาม.
    25561114-121208.jpg

    ไปตายไหนละสัตตานัง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  16. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  17. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ทุกๆอย่างจะเจริญไปตามลำดับขั้นตอน




    ขอให้ท่านพิจารณาเนื้อความดูเถิด ถึงความวิบัติขาดสูญในมูลเหตุของการที่ไม่มี
    [องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]

    {O}แสดงปัญหาข้อติดขัดในธรรมที่ชัดเจนที่ส่งผลร้ายแรงที่สุดของเรื่องการบรรลุธรรม{O}



    "ขอจงเป็นธรรมทายาทของพระผู้ทรงทศพลญญาณ"

    ท่านทั้งหลายต้องเข้าใจว่าในกาลบัดนี้ ไม่มีผู้ใดอีกที่จะทรงพระทศพลญาณ ๑๐ อย่างองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่จะสั่งสอนคอยชี้แนะแนวทางการปฎิบัติให้เราเข้าถึงได้อย่างถึงที่สุดธรรมอันเป็นเลิศ


    "เมื่อมีกำลังนี้พระทศพลณญาน๑๐นี้ ผู้ที่ควรบรรลุ หรือแม้แต่ผู้ที่หลงทาง และหมดสติปัญญาจะหาทาง ตลอดจนผู้ที่ไม่อยู่ในฐานะก็ตาม หากพระองค์ทรงพระประสงค์ ณ ที่ของพระองค์ บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น จึงได้ที่พึ่งที่ดี จึงย่อมบรรลุฐานะธรรมที่ควรบรรลุสมความปรารถนาของตน โดยไม่มีที่อื่นไปยิ่งกว่าที่จะมีผู้ใดสามารถ ชี้แจง แนะนำ ผลักดันเพิ่มเติม ในหลักการพิจารณาแก้ไขปัญหาถึงสภาวะที่ติดขัดเพื่อให้ถึงจุดมุ่งหมายคือ การสำเร็จธรรมให้ได้ให้ถึงในที่สุด "

    เพราะท่านรู้ด้วยพระปรีชาญานดังนี้แล พระสาวกผู้เจริญในสมัยพุทธกาลท่านจะสงสัยขัดในธรรมอันใดและต่อมากสักเพียงไร ท่านก็ชี้ทางสว่างได้ั แต่มาจวนจนปัจจุบันนี้เมื่อไม่มีกำลังพระทศพลณญาน๑๐ นี้แล้ว"[ เราก็ต้องทำใจยอมรับชะตากรรม]"ที่ต้องพึ่งพาอาศัยตนเองเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมด้วยตนเองให้จงได้ เมื่อรู้ดังนี้ แสดงว่ามีความเข้าใจขึ้นมาบ้างแล้ว สามารถรับรู้เรื่องราวสำคัญเช่นนี้ได้ ท่านทั้งหลายย่อมเจริญในธรรมขึ้นอย่างมากมายอย่างแน่นอน!

    " พระองค์ตรัสว่า ใครจะสอนถูกสอนผิดช่างเถิด เราตถาคตจะแสดงธรรมให้ฟัง "

    {O}พระทศพลญาณ๑๐{O}


    ทศพลญาณ (บาลีเรียก ตถาคตพลญาณ 10 คือ พระญาณอันเป็นกำลังของพระตถาคต 10 ประการ ที่ทำให้พระองค์สามารถบันลือสีหนาท ประกาศพระศาสนาได้มั่นคง


    1. ฐานาฐานญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ฐานะและอฐานะ คือ รู้กฏธรรมชาติเกี่ยวกับขอบเขตและขีดขั้นของสิ่งทั้งหลายว่า อะไรเป็นไปได้ อะไรเป็นไปไม่ได้ และแค่ไหนเพียงไร โดยเฉพาะในแง่ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล และกฎเกณฑ์ทางจริยธรรมเกี่ยวกับสมรรถวิสัยของบุคคล ซึ่งจะได้รับผลกรรมที่ดีและชั่วต่างๆ กัน


    2. กรรมวิปากญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ผลของกรรม คือ สามารถกำหนดแยกการให้ผลอย่างสลับซับซ้อน ระหว่างกรรมดีกับกรรมชั่ว ที่สัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมต่างๆ มองเห็นรายละเอียดและความสัมพันธ์ภายในกระบวนการก่อผลของกรรมอย่างชัดเจน


    3. สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ข้อปฏิบัติที่จะนำไปสู่คติทั้งปวง คือ สุคติ ทุคติ หรือพ้นจากคติ หรือปรีชาหยั่งรู้ข้อปฏิบัติที่จะนำไปสู่อรรถประโยชน์ทั้งปวง กล่าวคือ ทิฏฐธัมมิกัตถะ สัมปรายิกัตถะ หรือ ปรมัตถะ คือรู้ว่าเมื่อปรารถนาจะเข้าถึงคติหรือประโยชน์ใด จะต้องทำอะไรบ้าง มีรายละเอียดวิธีปฏิบัติอย่างไร


    4. นานาธาตุญาณ (ปรีชาหยั่งรู้สภาวะของโลกอันประกอบด้วยธาตุต่างๆ เป็นเอนก คือ รู้สภาวะของธรรมชาติ ทั้งฝ่ายอุปาทินนกสังขารและฝ่ายอนุปาทินนกสังขาร เช่น รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของชีวิต สภาวะของส่วนประกอบเหล่านั้น พร้อมทั้งลักษณะและหน้าที่ของมันแต่ละอย่าง อาทิการปฏิบัติหน้าที่ของขันธ์ อายตนะ และธาตุต่างๆ ในกระบวนการรับรู้ เป็นต้น และรู้เหตุแห่งความแตกต่างกันของสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น


    5. นานาธิมุตติกญาณ (ปรีชาหยั่งรู้อธิมุติ คือ รู้อัธยาศัย ความโน้มเอียง ความเชื่อถือ แนวความสนใจ เป็นต้น ของสัตว์ทั้งหลายที่เป็นไปต่างๆ กัน

    6. อินทริยปโรปริยัตตญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย คือ รู้ว่าสัตว์นั้นๆ มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา แค่ไหน เพียงใด มีกิเลสมาก กิเลสน้อย มีอินทรีย์อ่อน หรือแก่กล้า สอนง่ายหรือสอนยาก มีความพร้อมที่จะตรัสรู้หรือไม่


    7. ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ความเศร้าหมอง ความผ่องแผ่ว การออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิและสมาบัติทั้งหลาย


    8. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ปรีชาหยั่งรู้อันทำให้ระลึกภพที่เคยอยู่ในหนหลังได้


    9. จุตูปปาตญาณ (ปรีชาหยั่งรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลายอันเป็นไปตามกรรม

    10. อาสวักขยญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
     
  18. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    กรรมส้นมือส้นเท้าแบบไหนจะมาตามกิน รอดูบุพกรรมของเรา

    เมื่อถึงเวลาเราจะประจานความชั่วช้าเลวทรามทั้งหมดของเราให้ดูอีกทีอย่างถึงที่สุดโดยพิศดาร เพราะเราเคยสร้างกระทู้ความชั่วของเราไปแล้ว สมัยใช้ชื่อ มหาวัฎร แต่ทีมงานเขาลบทิ้ง

    เรามิเคยนึกที่จะปกปิดเลย



    ไม่ใช่พรหมที่มีมิจฉาทิฏฐิ


    ราคาคุย ของคนรอบวช
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 เมษายน 2015



    เรื่องกรรม ผมน่ะมีแน่นอนครับ แต่ทว่า.. !!
    เพราะผมกำลังเข้าสู่กรรมไม่ดำไม่ขาวครับ ถ้าไม่ถึงก็ไม่เกิน ๗ ชาติครับ ท่านหวังผิดคนแล้ว ตำหนักสวรรค์ผมมีครับ พึ่งตายจากมา ตอนนี้ว่างด้วยครับ ชั้นไหนไม่รู้ครับ ทั่วท้องฟ้ามีตำหนักเดียวครับ ปราสาทมุกสวรรค์ เป็นจตุรมุข ที่เงียบสงบครับ หาผู้รู้ก่อนเถอะครับ เอาเท้าออก เลยต้อง ผ่าท้องเกิดครับ รู้สึกตัว๒เวลาครับ ในครรภ์ และแรกเกิดครับ ผมขี้คุยไหม?ครับ พระอรหันต์มี๔หมวดครับมี ปฎิสัมภิทา นี่ ญาณทัสนะของปุถุชนคนว่ายากสอนยากหรือครับ ศึกษาเถอะครับ ผมอยู่มาได้เพราะกรรม และอิทธิบาท ๔ ครับ ไม่งั้นตายไปแล้วครับ หรือเคยเห็นคนธรรมดา มีปฎิสัมภิทาหรือครับ พามาดูหน่อย? ถ้าท่านรู้ได้ตามแล้ว อย่าเปลืองตัวครับ อันตราย ผมบอกแล้วผมขอรับเองบาปน่ะ อะไรที่ไม่เคยรู้เคยเห็นอย่าด่วนสรุป

    พระภิกษุรูปใดที่ มีบุญสัมพันกันทางจริตธรรมผมมองเห็น ท่านสอนอย่างอื่นผมฟังครับ แต่ถ้าไม่มี (พระทศพลญาณ ๑๐) ]อย่ามาสอน อย่ามาเสนอ อย่ามาบังคับ เรื่อง{พระนิพพาน}แก่ผม นอกเหนือที่จารึกไว้ในพระไตรปิฏกที่[พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า]ทรงตรัสไว้ดีแล้ว



    ยังไม่รวมชาติพระราชปาล เจอนางแก้วบ้าๆ พาหนีบวช จะระลึกชาติได้ใหม่ก็ตอนออกบวชแล้วนั่นแหละ เพราะขอไว้ มันเจ็บปวดเหมือน พึ่งได้เป็นได้กระทำไปเพียงชั่วพริบตา ใครจะทานทน พระอาจารย์มหาโมคคัลลาของเรายัง มิอาจทานทน

    ใครจะคำนึงถึงความรู้สึกท่านในตอนนั้น ยุคนี้ หาได้ยากนัก

    ยถา พฺรหฺมา ความว่า พระพรหมโดดเดี่ยวเดียวดาย เว้นจากผู้กวนใจ อยู่สำราญด้วยฌานสุขเนืองนิจทีเดียวฉันใด.

    ภิกษุอยู่รูปเดียวย่อมเป็นเหมือนพรหม อยู่ ๒ รูป
    เหมือนเทวดา อยู่ ๓ รูปเหมือนชาวบ้าน อยู่ด้วยกันมาก
    กว่านั้น ย่อมมีความโกลาหลมากขึ้น เพราะฉะนั้น ภิกษุ
    ควรเป็นผู้อยู่แต่รูปเดียว.



    https://palungjit.org/threads/พร่องในศีล-ไม่มีหวังที่จะทรงสมาธิเพื่อฌานสมาบัติได้เลย-ไม่ได้สำเร็จผลใดๆ-แม้แต่ฌานโลกีย์ก็ไม่ได้.548335/page-4

    48364634_2241681869411854_6991627731871989760_n.jpg__nc_cat=103&_nc_ht=scontent.fbkk2-8.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  19. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  20. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    อวชฺเช วชฺชมติโน
    วชฺเช อวชฺชทสฺสิโน
    มิจฺฉาทิฏฐิสมาทานา
    สตฺตา คจฺฉนฺติ ทุคฺคตึฯ
    วชฺชญฺจ วชฺชโต ญตฺวา
    อวชฺชญฺจ อวชฺชโต
    สมฺมาทิฏฺฐิสมาทานา
    สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ ฯ

    สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีความรู้ว่ามีโทษในธรรมที่หาโทษมิได้
    มีปกติเห็นว่าหาโทษมิได้ในธรรมที่มีโทษ
    เป็นผู้ถือด้วยดีซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ย่อมไปสู่ทุคติ”


    สัตว์ทั้งหลาย รู้ธรรมที่มีโทษโดยความเป็นธรรมมีโทษ
    รู้ธรรมที่หาโทษมิได้ โดยความเป็นธรรมหาโทษมิได้
    เป็นผู้ถือด้วยดีซึ่งสัมมาทิฏฐิ
    ย่อมไปสู่สุคติ.


    {O}
    จงข่มผู้ที่ควรข่ม เพ่งโทษในธรรมที่มีโทษ โดยปราศจาก อคติ ๔ และ อุปกิเลส ๑๖ ถ้าตนนั้น ได้กระทำตนให้ บริสุทธิคุณและมีปัญญาญานสามารถเพียงพอ พอยกเหล่าเพื่อนพรหมจรรย์ ออกจากอสัทธรรม {O}



    เมื่อรู้คติที่ไปแล้ว เรื่องพลีชีพจะเอาแบบสมสีสี ฯลฯ ขี้ปะติ๋ว จะตายโหงตายห่ายังไงก็มาเถอะ

    แต่หน้าที่ ยังมีบังคับ เลยยังไปไม่ได้ กลัวอะไรแค่ตาย ใครๆเขาก็ตายกัน แถมตายเปล่าอีกตะหาก

    กลัวที่ไหน?

    product-20110104-220501.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018

แชร์หน้านี้

Loading...