วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 17 กรกฎาคม 2006.

  1. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2216635 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Xorce<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2216635", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Oct 2007
    ข้อความ: 1,062
    ได้ให้อนุโมทนา: 1,173
    ได้รับอนุโมทนา 8,529 ครั้ง ใน 961 โพส
    พลังการให้คะแนน: 321 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2216635 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ถึงคุณ โทสะ ครับ

    ขอถามท่าน Xorce นอกเรื่องครับ ขออภัยที่ถามเรื่องส่วนตัว ขอเป็นวิทยาทานเพื่อนำไปปรับแบบปฏิบัติของตนเอง *-*
    1. ชื่อท่านนี่แปลว่าอะไร

    จริงๆ ผมชื่อ ชัด ครับ
    ส่วนชื่อล็อกอิน เนื่องจากผมสมัครชื่อไหนๆ ก็มีแต่คนใช้แล้ว
    ผมจึงนำคำว่า force มาเปลี่ยน f เป็น x ก็เลยเป็น xorce ครับ
    คิดชื่อไม่ออกว่างั้นก็ได้ครับ

    2. ท่านเป็นสงฆ์ หรือ ฆราวาส

    ฆราวาสครับ

    3. ท่านมีวิธีปฏิบัติแบบใด เช่น สวดมนต์ก่อนมั้ย ค่อยเข้าสมาธิ หรือเข้าสมาธิเลย เข้านานแค่ไหน ท่านมักเข้าสมาธิเวลาใด

    ผมเน้นปฏิบัติตลอดเวลา ในทุกๆอิริยาบถครับ
    และผมจะพยายามแนะนำให้ทุกๆคนฝึกปฏิบัติอยู่ตลอดเวลา
    และพัฒนาจิตจนไปถึงจุดที่จิตสามารถทรงอยู่ในอารมณ์ปฏิบัติได้ตลอดเวลา

    ลองพิจารณาว่า ในวันนึง เรามีเวลา24ชั่วโมง ถ้าเราจะรอตอนเวลาว่าง
    เราจะปฏิบัติได้ไม่เกิน 2-3 ชั่วโมง ก่อนนอน หรือตอนตื่น
    ซึ่งร่างกายเราก็เหนื่อยล้ามาทั้งวัน พอมาทำสมาธิก็อาจจะเพลียจนหลับได้
    ซึ่งก็จะไม่เกิดผลในการปฏิบัติเท่าที่ควร

    แต่หากเราหันมามองใหม่ว่าการปฏิบัตินี้เราจะต้องทำตลอดเวลา ตั้งแต่เราตื่นจนเราหลับ


    ตั้งแต่ตื่นขึ้นมาเราเข้าห้องน้ำทำความสะอาดร่างกาย
    เราก็พิจารณาว่า ร่างกายของเรา มีความสกปรกแบบนี้ พิจารณาทั้งภายในร่างกาย และภายนอกร่างกาย
    ดูทั้งปอด ตับ ไต ลำไส้ น้ำเลือด น้ำเหลือง น้ำหนอง
    ถ้าร่างกายเราสะอาดจริง เราจะต้องมาคอยแปรงฟัน อาบน้ำทุกวันไหม
    ถ้าร่างกายเราสะอาดจริง ดีจริง เราก็ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องแปรงฟัน ไม่ต้องขับถ่าย

    แต่เราก็ทำไม่ได้ ไม่นานร่างกายก็จะมีกลิ่นเหม็น และเกิดความสกปรก
    ก็แปลว่าร่างกายนี้สกปรกจริงๆ
    ความสกปรกนี้ ก็เป็นเรื่องธรรมดาของร่างกาย
    ร่างกายของเราสกปรก ร่างกายของคนอื่นๆก็สกปรก
    เมื่อจิตของเราเห็นความสกปรก อันเป็นธรรมดาของร่างกายแล้ว
    จิตของเราควรที่จะปล่อยวางไม่ปรารถนาทั้งในร่างกายของเราและผู้อื่น เพราะมีความสกปรก เป็นธรรมดา เหมือนกันหมด

    พอเรารับประทานอาหาร เราก็พิจารณาว่าอาหารที่เรากินนี้
    พอผ่านลำคอของเราลงไป ก็ต้องกลายเป็นของสกปรกเน่าเหม็น ที่เราไม่พึงปรารถนาอีก
    แต่ของสกปรกเหล่านี้ ก่อนที่เราจะทานลงไป เราก็ไปหลงว่ามันสวย มันเป็นของดี รสอร่อย

    ถ้ามันดีจริง ทำไมเราจึงไม่แม้แต่อยากจะมองอุจจาระ ปัสสาวะของตัวเราเอง
    เราก็เห็นความธรรมดา ว่าของสกปรก หรือของสะอาด แท้ที่จริงก็คือของชิ้นเดียวกัน มีสภาพไม่ต่างกัน
    เราไม่ควรจะไปติดทั้งในการกิน และรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส

    จิตเห็นเป็นความธรรมดาของวัตถุ ไม่รัก ของสวย และไม่รังเกียจในของสกปรก
    จากนั้นก็พิจารณาต่อว่า สัตว์ทั้งหลายที่สละชีวิตให้เรากิน พ่อค้า แม่ค้า ชาวนาที่ปลูกข้าว คนเลี้ยงสัตว์ มีพระคุณต่อเรา ไม่อย่างนั้นเราก็ไม่มีข้าวกิน
    ก็ให้เราตั้งจิตแผ่เมตตาความรักอันไม่มีที่สิ้นสุดไม่มีประมาณออกไปยังทั้งคนและสัตว์
    จนจิตใจของเราชุ่มเย็นเป็นสุข
    ทานอาหารไปทรงอารมณ์เมตตาไป ประคองใจให้เป็นสุข

    บุคคลใดที่ทำกสิณได้ ภาพพระเป็นเพชรได้ ก็ตั้งจิตเพิ่ม
    อธิษฐานว่าขออาหารที่เรากินนี้เป็นอาหารทิพย์
    นึกภาพให้เห็นว่าอาหารที่เรารับประทานนี้เป็นเพชร
    และน้อมถวายต่อพระรัตนตรัย เพื่อให้สัตว์และคนทั้งหลายได้อานิสงค์ไปด้วย

    พอทานอาหารเสร็จ เราก็ออกมาทำงาน ระหว่างเดินทาง เราก็ประคองจิตให้เป็นสมาธิตลอดการเดินทาง
    การเดินทางของเราจะมีความปลอดภัย ไม่มีอุปสรรคใดๆ

    จากนั้นพอถึงที่ทำงาน เราก็ประคองสมาธิ แผ่เมตตาจนจิตใจของเรามีความสบาย
    พบเจอใครก็มีอารมณ์เบิกบานแจ่มใส เข้าได้ดีกับทุกคน
    หากพบเจอปัญหา หรือมีอารมณ์มากระทบ ก็พิจารณาว่า เป็นเรื่องธรรมดาของโลก
    นัตถิ โลเก อนินทิโต ผู้ไม่ถูกนินทาในโลกนี้ย่อมไม่มี
    พระพุทธองค์ดีอย่างหาที่สุดหาที่ประมาณมิได้ ยังมีบุคคลว่าร้ายพระองค์
    เราหรือจะพ้นจากการถูกนินทาไปได้
    เห็นความเป็นธรรมดา ตั้งจิตขออโหสิกรรม และให้อภัยแก่บุคคลนั้น และแผ่เมตตาไปให้เขา

    พิจารณาว่างานที่เราทำนี้ จะส่งผลให้เกิดความสุขแก่ส่วนรวม แก่ประเทศชาติอย่างไรบ้าง
    ไม่มีสายงานใดที่ถ้าพิจารณาดีๆ ไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น

    ก็ให้เราตั้งจิตว่า การทำงานทั้งหมดของเรา เราขอทำถวายต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
    การทำงานทั้งหมดเป็นไปเพื่อความสุขของผู้อื่นไม่ใช่เพื่อตัวเรา
    ขอให้การตั้งจิตอธิษฐานนี้ เป็นปัจจัยให้สายงานที่เราทำอยู่ สร้างความเจริญรุ่งเรือง แก่ส่วนรวม และแก่ประเทศชาติด้วยเทอญ

    ยอมเหนื่อยเพื่อส่วนรวม ไม่ใช่เพื่อตัวเอง กำลังจิต กำลังใจของเราจะยิ่งพัฒนาขึ้นไปอีกระดับ

    พอกลับมาถึงบ้าน ก็อาบน้ำ ชำระร่างกาย ตั้งจิตว่า
    นอกจากเราจะชำระร่างกายแล้ว เราจะขอชำระ จิตใจของเรา ที่อยู่กับตัวเราตลอดเวลานี้ ให้ใสสะอาด ปราศจากความมัวหมองขุ่นข้องในดวงจิต
    และตั้งจิตเข้าสมาธิ แผ่เมตตา พิจารณาในร่างกาย เพื่อชำระล้างดวงจิตของเรา
    ให้ใสสะอาด สว่าง สงบจากกิเลส
    ไปพร้อมๆกับน้ำที่ชำระกายและใจของเรา

    ก่อนจะนอน เราก็สวดมนต์ เจริญสมาธิ จากนั้น
    เราก็ประคองจิตให้อยู่ในเมตตา ในสมาธิ ในอารมณ์พระนิพพาน จนกระทั่งเราหลับไป

    ให้เราพิจารณาก่อนนอนว่า การเกิดเป็นมนุษย์ เป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์
    เป็นเทวดา เป็นพรหมก็สุขแค่ชั่วคราว เดี้ยวก็ต้องกลับมาเป็นมนุษย์
    ต้องมาดูแลร่างกายเฉกเช่นนี้อีก เราจะไม่พึงปรารถนาอีกต่อไป
    ตั้งกำลังใจว่า หากเราตายขณะที่เราหลับไปนี้ เราจะไม่เกิดยังสถานที่ใดอีกต่อไป
    เราจะไปจุดเดียวคือพระนิพพานเท่านั้น

    องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงเสด็จดับขันธปรินิพพานเข้าสู่ยังสถานที่แห่งใด
    ข้าพเจ้าจะขอตามเสด็จองค์พระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เข้าสู่ยังสถานที่แห่งเดียวกับพระองค์
    คือพระนิพพาน เพียงจุดเดียวเท่านั้น
    ถ้ากำลังใจแน่วแน่ถึงที่สุด หากเราตายขณะที่เราหลับ เราก็จะไปพระนิพพานทันที


    สรุปว่า ในวันนึง เราปฏิบัติสมาธิ เจริญจิตอยู่ในธรรม ตลอด24ชั่วโมง
    การปฏิบัติของเราจะมีความต่อเนื่อง สามารถจะทรงสมาธิเป็นเดือน เป็นปี โดยไม่ถอนจากอารมณ์ก็สามารถทำได้
    การปฏิบัติของเราจะมีความก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว
    ไม่ว่าเราจะตายขณะใดของวัน อย่างเลวที่สุด เราก็มีพรหมเป็นที่ไป
    เพราะเราทรงสมาธิ ทรงจิตอยู่ในเมตตาพรหมวิหาร4ตลอดทั้งวัน

    ขอให้ทุกๆคน ฝึกทรงอารมณ์จิตให้ตั้งอยู่ในกุศลให้ได้ทุกๆขณะจิต ทุกๆอิริยาบถ และมีพระนิพพานเป็นที่สุดในชาติปัจจุบันด้วยเทอญ<!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->หมั่นมองดูจิต คิดชำระให้สะอาดใส ห่างไกลซึ่งมารร้าย ขอสิ้นซึ่งภพชาติ<!-- google_ad_section_end -->

    นำมาจากห้องอภิญญาค่ะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post1725490 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Sawiiika<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1725490", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Apr 2008
    ข้อความ: 2,149
    ได้ให้อนุโมทนา: 10,362
    ได้รับอนุโมทนา 15,045 ครั้ง ใน 1,614 โพส
    พลังการให้คะแนน: 248 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1725490 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->
    10-05-2007, 01:20 PM
    kananun<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_568969", true); </SCRIPT>
    หัวหน้ากลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติ

    พระธรรมของสมเด็จองค์ปฐม
    สมเด็จองค์ปฐมทรงเมตตาสอน
    อุบายการ ละ สักกายทิฏฐิ ไว้มีความสำคัญดังนี้ี้

    1. ให้พิจารณาความไม่เที่ยงไว้เสมอๆ จักได้คลายความยึดมั่นถือมั่นลงได้ด้วย
    ประการทั้งปวง แม้จักละได้ยังไม่สนิท ก็บรรเทาสักกายทิฏฐิลงได้บ้างไม่มากก็น้อย


    2. อย่าลืมคำว่า สักกายทิฏฐิมีเป็นขั้นๆ ตั้งแต่อย่างหยาบ อย่างกลาง อย่างละเอียด
    คือตั้งแต่ปุถุชนมาสู่พระโสดาบัน - พระสกิทาคามี - พระอนาคามี - พระอรหันต์
    แต่ละสักกายทิฏฐิในระดับนั้นๆทั้งสิ้น

    3. สาเหตุก็เนื่องจากการเห็นทุกข์ในความไม่เที่ยง
    จากการเกิดเป็นทุกข์ แก่เป็นทุกข์ เจ็บเป็นทุกข์ พลัดพรากจากของรักของชอบใจเป็นทุกข์
    ความโศกเศร้าเสียใจเป็นทุกข์ แล้วในที่สุดความตายเข้ามาถึงก็เป็นทุกข์ต่างคนต่างปฏิบัติไป
    ก็เข้าสู่ อริยสัจ ตามระดับจิตนั้นๆเห็น โดยความไม่เที่ยง - เป็นทุกข์ - เป็นโทษ
    จึงพิจารณาสักกายทิฏฐิเพื่อปลดเปลื้องความยึดมั่นถือมั่นในทุกข์นั้นลงเสีย

    4. อย่าลืม ละ ที่จิตอย่างเดียวเท่านั้น ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่
    สำเร็จที่ใจ ถ้าหากจิตหรือใจดีเสียอย่างเดียว กาย - วาจาซึ่งเป็นบ่าวก็จักดีตามไปด้วย
    เดินมรรคด้วยจิต ทำให้ถูกทางแล้ว จักเข้าถึงมรรคผลนิพพานได้ง่าย

    [​IMG]

    [​IMG]

    สมเด็จองค์ปฐมทรงเมตตาสอน
    เรื่อง ความไม่ประมาท


    1. ให้พิจารณาอายุของร่างกายที่มากขึ้นทุกวัน
    แสดงให้เห็นชัดถึงความตายที่ใกล้เข้ามาทุกที จงอย่าประมาทในชีวิต

    2. ให้เห็นทุกข์ของการมีชีวิตอยู่ ในโลกที่เต็มไปด้วยความเร่าร้อน
    จากภัยนานาประการ เรื่องเหล่านี้มิใช่เรื่องแปลก หรือของใหม่แต่อย่างไร เป็นภัย
    ที่มีอยู่คู่โลกมานานแล้ว ในทุกๆพุทธันดรที่เจอมาอย่างนี้

    3. อย่าไปหวังแก้โลก อย่าไปหลงปรุงแต่งตามโลก
    ให้เห็น ตัณหา 3 ประการ ที่ครอบงำโลก ให้วุ่นวายอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน

    4. มองทุกอย่างตามความเป็นจริง แล้วปล่อยวาางโลกเสีย
    ด้วยความเห็นทุกข์ เห็นความไม่เที่ยง น่าเบื่อหน่าย ไม่น่ายินดี
    ไม่น่ายินร้ายแม้แต่นิดเดียว

    5. อย่าสนใจในจริยาของผู้อื่น ใครจักเป็นอย่างไรก็ช่าง ให้ มองจิตตน เองเข้าไว้
    เป็นสำคัญ เพราะตนเองปรารถนา พระนิพพาน จักต้องโจทย์จิต ของตนเองเอาไว้เสมอ
    ฝึกให้ปล่อยวาง เพราะการไปพระนิพพาน จิตติดอะไร แม้แต่อย่างเดียวในโลกนี้
    หรือ ไตรภพ ก็ไปไม่ถึงซึ่ง พระนิพพา

    6. การปฏิบัติมิใช่เพียงคำปรารภโก้ๆเท่านั้น
    จักต้องเอาจริง เอาจัง ในการละซึ่งทุกสิ่ง ทุกอย่างในโลก จึงจักไปได้ แต่ตราบใดที่ยังมี
    ขันธ์ 5 อยู่ ก็ให้พิจารณาปัจจัย 4 เป็นสิ่งจำเป็น ที่จักต้องยังอัตภาพให้เป็นไป สักแต่ว่า
    เป็นเครื่องอยู่ สักแต่ว่าเป็น เครื่องอาศัย แล้วอยู่อย่างพิจารณาให้เห็นชัดว่า ร่างกายหรือ
    วัตถุธาตุทั้งหมด มีคำว่า เสื่อมและอนัตตาไปในที่สุด จิตก็คลายความเกาะติดจิตมีความสุข
    มีความสงบ เมื่อถึงวาระต่างกายจักพัง การตัดทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ภายนอกรวมตัว หรือแม้แต่
    ร่างกายก็ตัดไม่ยาก เนื่องด้วยพิจารณาจนรู้แจ้งเห็นตามความเป็นจริงแล้ว

    7. ให้พิจารณาร่างกาย พิจารณาเวทนา โดยย้อนกลับไปกลับมา
    ไม่มีร่างกาย ก็ย่อมไม่มีเวทนา ไม่มีเวทนา ก็ย่อมไม่มีร่างกายแล้วให้เห็นเป็นปกติธรรม
    ของรูปและนาม ซึ่งอาศัยกันและกัน พิจารณาให้ลึกลงไป จักเห็นความไม่มีในเรา ในรูป
    ในนามได้ ชัดเจน เราคือจิต ที่ถูกกิเลสห่อหุ้มในหลงอยู่ ติดอยู่ในรูปในนาม อย่างนี้มานาน
    นับอสงไขยกัปไม่ถ้วน หากไม่พิจารณาให้เห็นชัดเจน ลงไปในรูปและนาม
    ก็จักตัดความติดอยู่ไม่ได้ และเมื่อตัดไม่ได้ก็ไป พระนิพพานไม่ได้


    8. จิตเมื่อจักวางจริยาของผู้อื่นได้ ต้องใช้ปัญญา
    พิจารณาจุดนี้ให้มากๆ ลงตัวธรรมดาให้ได้ แล้วจิตจึงจักปล่อยวางกรรม ของผู้อื่นลงได้
    ไม่ว่ากรรมดี หรือกรรมชั่ว เช่นเห็น การเกิด - การตาย เป็นของคู่กัน เกิดเท่าไหร่ ตายหมด
    เท่านั้น เป็นของธรรมดา แม้แต่พวกเจ้าเองก็เช่นกัน อย่าคิดว่าร่างกายนี้จักยังไม่ตาย
    ทั้งๆที่ระลึกถึงความตายอยู่นี้ ยังมีความประมาทแฝงอยู่มาก ไม่เชื่อให้สอบจิตของตนเองดู
    24 ชั่วโมง ระลึกนึกถึงความตาย อย่างยอมรับความจริงได้สักกี่ครั้ง มิใช่สักแต่ว่าระลึกอย่าง
    นกแก้วนกขุนทอง หาได้มีความเคารพนับถือความตายอย่าง
    จริงจังไม่ซึ่งการกระทำอย่างนั้น หาประโยชน์ได้น้อย

    9. จำไว้ มรณานุสสติกรรมฐาน เป็นพื้นฐานใหญ่
    ที่จักนำจิตของตนเองให้ เข้าถึงความไม่ประมาทได้โดยง่าย และเป็นตัวเร่งรัดความเพียร
    ด้วย เห็นค่าของเวลาชีวิตที่เหลืออยู่ ชีวิตจริงๆดั่งเช่นเปลวเทียน วูบๆ วาบๆ แล้วก็ดับหายไป
    เกิดใหม่ก็ดับอีก หากไม่เร่งรัดปัญญาให้เกิดขึ้น ก็ยังจักต้องเกิดตายอีก นับภพ นับชาติไม่ถ้วน

    10. ร่างกายที่เห็นอยู่นี้มิใช่ของจริง
    ตัวจริงๆ คือ จิต ให้พิจารณาแยกส่วนออกมาให้ได้
    ร่างกายนี้สักเพียงแต่ว่าเป็นที่อยู่อาศัย เสมือนบ้านเช่าชั่วคราว
    เท่านั้น ไม่ช้าไม่นานจิตวิญญาณก็จักออกจากร่างกายนี้ไปทุกร่างกาย
    มีความตายไปในที่สุด เป็นธรรมดาเหมือนกันหมด แล้วพิจารณาการอยู่ของร่างกาย
    ทุกลมหายใจเข้าออก คือ ทุกข์ เนื่องด้วยความไม่เที่ยง
    ทรงตัวไม่ได้ พิจารณาให้เห็นชัดจึงจักวางร่างกายลงได้ในที่สุด

    11. แม้ว่าเรื่องของบ้านเมือง เรื่องของเศรษฐกิจ เวลานี้สับสนวุ่นวาย
    ให้พิจารณาเห็นเป็นธรรมดา เพราะ ดวงเมืองไทยเป็นอย่างนี้เอง ต้องทำใจให้ยอมรับ
    สถานการณ์ให้ได้ทุกๆสภาพ เพราะล้วนเป็น กฎของกรรมทั้งสิ้น

    12. ให้ดู วิริยะบารมี เพราะยังมีความขี้เกียจอยู่เป็นอันมาก
    ให้ โจทย์จิต จับความผิดของจิต เข้าไว้ให้ดีๆอย่าไปเสียเวลากับจริยาของผู้อื่น


    ใครจักเป็นอย่างไรก็ช่าง
    พิจารณาโลกก็ เท่านี้ หาที่สิ้นสุดไม่ได้

    ประการสำคัญ คือ ประคองจิตของตนเองให้พ้นไป
    ท่านั้น ความสำคัญอยู่ที่ตรงนี้


    13. การสงเคราะห์บุคคลอื่น เป็นเพียงหน้าที่เท่านั้น

    อย่าเอาจิตไปเกาะกรรมของเขา มองให้เห็นธรรมดา แก้โลกไม่มีสิ้นสุด ให้แก้ที่จิตใจ
    ตนเองเป็นสิ้นสุดได้ พยายามปลดสิ่งที่เกาะติดอยู่ในใจลงให้ได้มากที่สุด เท่าที่จักมากได้



    วางภาระ พันธะ ลงเสีย ให้เป็น สักแต่ ว่า หน้าที่ เท่านั้น



    จิตจักได้ไม่เป็นทุกข์ ประเด็นสำคัญ อันจักต้องให้ เห็นชัดเจน

    คือพิจารณากฎของกรรม ให้ยอมรับนับถือในกฎของ กรรม
    จุดนั้นจึงจักถึงซึ่งจิตเป็นสุข และ สงบได้



    14. เวลานี้กฎของกรรมกำลังให้ผลหนัก

    ความผันผวนย่อมเกิดขึ้นได้ ทุกวัน แต่ไม่ควรที่จักหวั่นไหว



    รักษาจิตให้สงบ ให้เห็นทุกอย่างเป็นธรรมดาเข้าไว้

    รักษาอะไรไม่สำคัญเท่า รักษาจิตใจ ของตนเอง
    ใครตกอยู่ในห้วงกิเลส ก็ไม่สำคัญเท่าจิตใจของตนเองที่ตกอยู่ในห้วงของกิเลส



    ดูจุดนี้เอาไว้ให้ดี



    รักษาอารมณ์ของตนเองให้อยู่ในกุศล ดีกว่าปล่อยให้อยู่ในห้วงของอกุศลปล่อยวาง

    กรรมใคร กรรมมันให้ได้ ใช้ปัญญาพิจารณาให้รู้แจ้งเห็นชัดในกฎของกรรมจุดนั้นแหละจึง
    จักปล่อยวางกรรมใคร กรรมมันได้ ความสุขจักเกิดขึ้นแก่จิตใจของตนเองอย่างแท้จริ



    15. การทำบุญ และทำทาน แล้ว

    พิจารณาด้วยความระลึกนึกถึงในบุญ ในทานอันทำ
    เพื่อพระนิพพาน โดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นอย่างอื่น จัดเป็นจาคานุสสติด้วย
    และ อุปสมานุสสติด้วย เป็นการดี เพราะจิตอยู่ใน อารมณ์กุศล ซึ่งดีกว่าปล่อยจิตให้ครุ่นคิด
    ถึงความชั่ว ความเลว แม้จักเป็นการกระทำของบุคคลที่อยู่รอบข้าง มิใช่เป็นการกระทำของ
    เราเอง ก็ให้พิจารณาลงเป็นธรรมดา แล้วปล่อยวาง อย่าให้ติดอยู่ในอารมณ์ของใจ
    เพราะยิ่งคิดยิ่งฟุ้ง รวมทั้งสร้างความเร่าร้อน หรือเศร้าหมองให้เกิดขึ้นแก่จิต ต่างกับจิต
    ที่อยู่ในบุญกุศล อยู่ใน ทาน - ศีล -ภาวนา
    ให้ ติดดี มากกว่า ติดเลว



    16. การสอบอารมณ์ของจิต เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง อย่าคิดว่าบุญ

    ทานไม่ติดแล้ว ฉันไม่เกาะ ถ้าหากสำรวจแล้ว จิตยังติดเลวอยู่มาก เพียงใดบุญ
    ทานยิ่งไม่เกาะ จิตก็ยิ่งเศร้าหมองมากเพียงนั้น เพราะ



    ทำบุญ ทำทานไป ก็เหมือนไม่มีผล

    จิตไม่ยินดี ไม่สดชื่นไปกับบุญ
    ทานนั้น หากแต่ทำก็ทำไป จิตไม่ยินดี จิตกลับไปมีอารมณ์ติดบาป
    ติดอกุศล อย่างนี้นับว่าขาดทุนแท้ๆ พระอรหันต์ท่านก็ยังทำบุญ ทำทาน
    ด้วยความยินดี และเต็มใจทำด้วยเมตตา กรุณา จิตเป็นสุข



    17. คำว่าไม่เกาะ กล่าวคือไม่หวังผลตอบแทนใดๆในโลกธรรม

    ทั้ง 8 ประการ จิตไม่เกาะบุญ - บาปในที่นี้ เนื่องด้วยผลบุญ ผลบาปไม่สามารถให้ผลแก่จิตใจ
    ของท่านอีก (หมายถึงพระอรหันต์) แล้วพวกเจ้าเล่า จิตยังข้องอยู่ในบาปอกุศลเป็นอันมาก
    จักฝึกจิตให้จิตยินดีอยู่ในบุญ - กุศล มีความสุข สดชื่นบ้างไม่ดีกว่าหรือ ดังนั้นจงอย่าพูดว่า
    ไม่ติดในบุญ ในทาน เพราะจิตยังติดอยู่ในบาป - อกุศล พระอรหันต์ท่านยังไม่ทิ้ง
    จาคานุสสติกรรมฐาน ท่านมี อภัยทาน อันเป็นทานสูงสุด เกิดขึ้นด้วย พรหมวิหาร 4 เป็น
    อัปมัญญา ท่านไม่ข้องอยู่ในบาป - อกุศลของบุคคล รอบข้าง เพราะท่านมีอภัยทานอยู่ในจิต
    เสมอ แล้วพวกเจ้ามีแล้วหรือยัง ? เพราะฉะนั้น จงอย่าประมาท
    ในอกุศลกรรม รักษาจิตให้เป็นสุข สดชื่น ด้วยการ
    ระลึกนึกถึงบุญ การทำบุญ การทำทาน
    หรือรักษาศีล - เจริญ ภาวนาด้วย จิตยินดี ทำทุกอย่าง
    เพื่อพระนิพพาน ดีกว่าปล่อยให้จิต ตกเป็นทาสของบาปอกุศล







    หมายเหตุ



    1. พระพุทธองค์ทรงยกตัวอย่างให้ดู หลวงพ่อฤๅษีซึ่งเป็น ครูบาอาจารย์

    ของพวกเราว่า แม้ท่านจะจบกิจเป็นพระอรหันต์มาหลาย 10 ปีแล้ว ท่านก็ไม่เคยทิ้ง
    การทำบุญ - ทำทาน - ทำกุศล ให้พวกเราทุกคนปฏิบัติตามท่าน



    2. บุคคลที่ฉลาด ทรงสอนให้ตัดหรือ

    ละ สักกายทิฏฐิ ข้อเดียว
    ก็ จบกิจ ในพระพุทธศาสนาได้



    ;aa30



    3. คำสั่งสอนของพระองค์มี 84,000 บท สรุปแล้วเหลือประโยคเดียวคือ

    จงอย่าประมาท ในทุกกรณี จงพร้อมอยู่ในความไม่ประมาท





    --------------



    พระพุทธองค์ทรงเมตตาแนะนำ

    สั่งสอน เรื่อง ความตาย + กับการเจ็บไข้ไม่สบาย



    1. ถ้าร่างกายไม่ดี ให้พิจารณา มรณานุสสติ + อุปสมานุสสติ นั้นถูกต้องแล้ว

    เพื่อความไม่ประมาทในชีวิต เพราะ ความตายเกิดขึ้นได้ทุกๆขณะจิต และที่คิดว่า ไม่รู้จัก
    ดิ้นรนไปทำไม เพราะ ทุกชีวิตมีความตาย เป็นของธรรมดา จุดนั้นๆก็เป็นการถูกต้องแล้ว
    เพราะคนไม่ตาย ไม่มีในโลก และที่ตั้งใจปลอบจิตตนเอง ไม่ให้หวั่นไหว ในความตาย
    ด้วยอุบายว่า ถ้าไม่ตายก็ไปพระนิพพานไม่ได้ คนไปพระนิพพานได้ ก็คือคนที่ตายแล้ว
    ไม่ต้องกลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีกจุดนี้ก็ถูกต้อง เพราะฉะนั้นให้รักษาอารมณ์จิตให้แน่วแน่
    อยู่เสมอๆ มิใช่จัำกมาทำเอา แต่เฉพาะเวลาร่างกาย มันป่วยหนักเท่านั้น



    2. ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็นของเที่ยง จงอย่ามีความ ประมาทในชีวิต

    อาการเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นการบอกเตือน ให้ระลึกนึกถึง ร่างกายตามความเป็นจริง โดย
    ให้พิจารณา รูป - เวทนา - สัญญา - สังขาร - วิญญาณ ว่าไม่เที่ยง และ ไม่ใช่เรา
    มิใช่ตัวตนของใคร ปล่อยวางให้สบายๆ การรักษาให้ยาก็จำเป็นที่จักต้องรักษา เพื่อบรรเทา
    ทุกขเวทนาชั่วคราว มิใช่รู้ว่าไม่ใช่เราแล้วปล่อยช่างมันไม่รักษา ทุกข เวทนายิ่ง
    เบียดเบียนหนักยิ่งขึ้น ทุกอย่างจักต้องอาศัยปัญญา



    3. ร่างกายไม่มีแก่นสารก็จริงอยู่ แต่ การระงับทุกขเวทนา

    มีความจำเป็น อย่างยิ่งแก่ร่างกาย สภาวะจิตใจก็เช่นกัน ถ้าปล่อยให้ทุกขเวทนาเบียด
    เบียนมาก ก็ทำความทุกข์ทรมานให้เกิดแก่จิตใจมากเช่นเดียวกัน
    ดังนั้นจงพยายามปลดทุกข์ให้มากหรือระงับเวทนาให้ได้ด้วย
    สติ - ปัญญาแต่มิใช่การคิด การคาด การเดาเอาเอง



    จักต้องอาศัยคำสอนของตถาคตเจ้า คือ พระธรรมที่มีพุทธบัญญัติอยู่แล้ว ทั้ง 84,000

    พระธรรมขันธ์นั่นแหละจึงพ้นทุกข์ได้ นอกเหนือจากนั้นมิใช่คำสอนของตถาคตเจ้า และ
    จงจำหลักไว้ทุกอย่างใน ไตรภพ ไม่มีอันใดเที่ยง ทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลง
    มีการอนัตตาไปในที่สุด แล้วทุกอย่าง ก็พังสลายตัวไปหมด



    ยึดเมื่อไหร่เป็นทุกข์เมื่อนั้น

    จักพ้นทุกข์ก็จักต้อง ประพฤติตามโลกุตรธรรม
    ธรรมที่กล่าวมาทั้งหมด เพื่อการปล่อยวาง เพื่อการหลุดพ้น



    จากไตรภพ พวกเจ้ามุ่งหวังการไม่เกิด ก็จงหมั่นดู กาย วาจา ใจ ของตนเอง

    ให้บริสุทธิ์ อยู่ใน ศีล - สมาธิ - ปัญญา หรือ อริยมรรค 8 นั่นแหละ




    [​IMG]







    4. ชีวิตสุขภาพของร่างกาย ย่อมกำหนดไม่ได้ที่จักให้เที่ยงแท้หรือแน่นอน
    เพราะมีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ดูแต่กระแสของจิต หรือที่เรียกว่า อารมณ์ ฝึกแล้ว
    ฝึกอีก ก็ยังยากที่จักกำหนดได้ การฝึกฝนร่างกายอย่างนักกีฬา ก็ฝึกฝนได้เพียงชั่วขณะหนึ่ง
    แต่ไม่ช้าไม่นานเมื่อวัยมากขึ้น โรคและชราก็มาเยือนร่างกายนี้ ให้แปรปรวน ให้ทรุดโทรมลง
    ต่างกับจิตใจยิ่งฝึกยิ่งเข้มแข็ง ยิ่งมีความอดทนผ่องใสยิ่งกว่าอื่นใด ไม่ได้ทรุดไม่ได้โทรม
    เหมือนกับร่างกาย ความสำคัญมีอยู่ที่ว่า เวลาฝึกฝนจิตใจให้อดทนเข้มแข็งนั้น เพียงพอหรือยั
    หากยังไม่เพียงพอ ต้นเหตุก็เพราะจิตยึดเกาะเวทนาของร่างกายมากจนเกินไป ให้พยายามใช้
    ปัญญาเป็นตัวปลด จึงจักปล่อยวางได้ การที่จักดูว่า วางได้หรือไม่ได้ ก็
    เอาทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นของร่างกายนี่แหละเป็นตัววัด




    5. อย่ากังวลเรื่องสิ่งของ เพราะ เป็นปกติธรรมของการเกิดเป็นมนุษย์
    ไม่หาก็ไม่มีเครื่องอยู่ เมื่อหาแล้วคำว่า พอดีก็ไม่ค่อยจักมี ส่วนใหญ่ให้รู้สึกขาด และ เกินพอดี
    มากกว่า การนึกเบื่อนั้นนึกได้ แต่ก็เป็นความเบื่อผสมกับความทุกข์ เพราะ ไม่ได้ใช้ปัญญา
    จักต้องเบื่อแล้วปล่อยวาง เห็นเป็นเรื่องธรรมดา
    ม่ทุกข์นั่นแหละ จึงจักเป็นการวางอารมณ์ที่ถูกต้อง




    6. ให้พิจารณาอารมณ์ของจิต ให้ทราบความจริงของอารมณ์ของจิตว่า
    ที่มีความอึดอัดขัดข้องอยู่นี้ เป็นด้วยเหตุประการใด อย่าให้มีโมหะจริต หรือ วิตกจริต
    เข้ามาครอบงำดวงจิต ให้มากจนเกินไป พิจารณาให้ลงตัวให้ได้ แล้วจิตจักมีความสุขเกิดขึ้นได้
    อย่าให้มีความกังวลใดๆมาเป็นตัวถ่วงความเจริญของจิต ให้รู้ว่าจิตที่เสื่อมมีอะไรเป็น
    ต้นเหตุ ให้รู้ว่าจิตที่เจริญมีอะไรเป็นต้นเหตุเช่นกัน อย่าให้จิตตกอยู่ในกระแสของโลก
    นานเกินไปพยายามให้จิตอยู่ในโลกพระนิพพานนานเท่าไหร่ยิ่งดีเท่านั้น








    7. อนึ่งการเจ็บไข้ได้ป่วยนี่แหละ เป็นการวัดกำลังใจของตนเอง
    อันที่จักปล่อยวางร่างกายได้ขนาดใหน การดูแลรักษาจำเป็นต้องมี เพื่อระงับทุกขเวทนา
    แต่ในขณะเดียวกัน จิตจักวางความกังวลห่วงใยในร่างกายไม่มี ความรู้สึกเหมือนกับเรา
    ดูแลเด็กไปตามหน้าที่ แต่ความผูกพัน ห่วงใย กังวล ในเด็กนั้น ไม่มี
    เด็กจักเป็นอย่างไรก็เรื่องของเด็ก อารมณ์มีความสุข ความเดือดร้อนทุกข์ใจนั้นไม่มีเลย
    ทั้งนี้ทั้งนั้นอยู่ที่การ พิจารณาร่างกายให้เห็นตามความเป็นจริง เอาจิตเข้าไปยอมรับนับถือ
    ร่างกายว่าเป็นอย่างนี้ เราคือจิตไม่สามารถฝืนหรือบังคับร่างกายไม่ให้แก่ ไม่ให้ป่วยได้เลย
    แล้วในที่สุดมันก็ตาย พิจารณาให้ลงตัว ให้จิตเป็น เอกัตคตารมณ์
    จิตจึงจักคลายหรือวางความวิตกกังวลลงได้




    8. ดูร่างกายที่มันโทรมลงทุกวัน ให้เห็นความตายใกล้เข้ามาทุกที
    จงอย่ามีความประมาทในชีวิต ให้คิดอยู่เสมอว่า ความตายเข้ามาถึงชีวิตได้เสมอ แล้วจงทำ
    ความรู้สึกไม่เสียดายชีวิตเพราะถึงอย่างไรก็หนีความตายไปไม่พ้น และร่างกายเท่านั้น
    ที่เป็นฝ่ายตายไป ตัวเราเองคือจิต ไม่มีวันตาย ถ้ากิเลสตัณหาไม่สิ้นไปจากจิตเพียงใด
    เมื่อละไปจากภพนี้ ก็ไปสู่ภพหน้าอีก ให้ตั้งใจไว้เลยว่า ..
    ต่อไปจักไม่กลับมาเกิดมาตาย สำหรับเราอีก คำว่าภพชาติจักไม่มีกับเราอีก




    9. ให้อดทนเข้าไว้ ไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นให้อดทน ถือว่าชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย
    ทนไม่ได้ก็ต้องทน แล้ว พยายามมีสติปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่าง พยายามปลดทุกข์ออก
    จากจิตให้ได้มากที่สุด โดยใช้ปัญญาพิจารณาทุกสิ่งทุกอย่างตามความเป็นจริง
    อย่าฝืนธรรม อย่าฝืนโลก แล้ว จิตจักเป็นสุข








    10. ร่างกายที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน อย่าไปคิดว่ามันจักทรงตัวอยู่อย่างนี้ตลอดไป
    ให้คิดพิจารณายอมรับนับถือตามความเป็นจริงว่า ร่างกายมันเสื่อมลงไปทุกวัน หาความ
    จีรังยั่งยืนอะไรไม่ได้ แล้วให้สังเกตอารมณ์ของจิต มักจักฝืนความจริงอยู่เสมอ จิตมัน
    ถูกกิเลสหลอกว่า ร่างกายจักดีอยู่เสมอ และแม้ว่าขณะป่วยๆอยู่นี่แหละ กิเลสมันยังจัก
    หลอกว่า พรุ่งนี้ - มะรืนนี้ ทนเอาหน่อย ประเดี๋ยวก็หายป่วย จิตนี้มันไม่เคยคิดว่า วันนี้ พรุ่งนี้
    มะรืนนี้ ร่างกายมันอาจจักตายก็ได้ หรือ บางขณะคิด แต่จิตก็หาได้น้อมยอมรับนับถือตามที่คิด
    ก็หาไม่ มันคิดว่าหายามากิน แล้วก็เป็นผลดี หายป่วยแน่ๆ นี่แหละ




    สอบอารมณ์จิตเอาไว้ให้ดีๆ จิต มัน หลอกเก่งมาก
    การเตรียมพร้อมที่จักไปพระนิพพาน จักต้องเห็นร่างกายพังได้อยู่ตลอดเวลา




    ร่างกายของตนเอง ของบุคคลอื่น สัตว์ - วัตถุธาตุพังหมดไม่มีเหลือ จิตจักต้องมีอารมณ์
    คลายจากการเกาะยึดสิ่งเหล่านี้ ปลดจากอารมณ์ ยึดมั่นถือมั่นว่าทุกสิ่งทุกอย่าง
    ไม่มีความทรงตัว นั่นแหละจึงจักไปพระนิพพานได้

    จงอย่าท้อใจ....
    จงอย่าละความเพียร ในเมื่อต้องการจักไปพระนิพพาน
    ก็จักต้องทำให้ได้ตามนี้

    >> http://palungjit.org/showthread.php?t=147478&page=5
    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->
    [COLOR=green][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#9acd32]*[/COLOR][/FONT][B]พระวิสุทธิคุณ [/B][SIZE=5][B]พระปัญญาธิคุณ[U][SIZE=2][IMG]http://palungjit.org/signaturepics/sigpic214880_53.gif[/IMG][/SIZE][/U] พระมหากรุณาธิคุณ[/B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#9acd32]*[/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR]
    AbstenTion From Allevil , CultivaTion oF The WholesoMe, PuriFicaTion Of The HearT

    http://somdechsuk.com.com l www.jarun.org l [COLOR=teal][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=2][COLOR=darkgreen]VolunteerSpirit[/COLOR][/SIZE][/FONT][SIZE=3] | [/SIZE][/COLOR][SIZE=3][COLOR=green]เครือข่ายจิตอาสา[/COLOR][/SIZE] l [SIZE=3][COLOR=#008080]เว็บวัดท่าขนุน[/COLOR][/SIZE]
    เว็บหลวงปู่เณรคำ วัดป่าขันติธรรม l เว็บวัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ) l http://www.thossaporn.com
    คำสอน พระราชพรหมยาน l [SIZE=3][COLOR=#008080]ห้อง[/COLOR][/SIZE][SIZE=3][COLOR=#008080]ภัยพิบัติและการเตรียมการ[/COLOR][/SIZE][COLOR=yellowgreen] l[/COLOR] [U][FONT=Courier New][SIZE=3]เว็บ[/SIZE][/FONT][/U][URL="http://www.tamroiphrabuddhabat.com/"][FONT=Courier New][SIZE=3][COLOR=#008080]ตามรอยพระพุทธบาท[/COLOR][/SIZE][/FONT][/URL]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. namsompun

    namsompun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    300
    ค่าพลัง:
    +1,365
    เรียน อ.คณานันท์ และ พี่ๆ น้องๆ ทุกท่านค่ะ
    มาเพิ่มเติมข้อมูลค่ะ ขออนุโมทนากับ อ.คณานันท์และคณะทุกท่านค่ะ สาธุค่ะ
    ไฟล์ที่4 ไฟล์ที่4,20หน้า วิชชาฯ ฉบับย่อ UPDATE 24082009
    เนื้อหา จะเหมือน วิชชา 12 หน้าค่ะ แต่เพิ่มเติมในส่วน
    ภาพรวมของการปฏิบัติธรรม วิสัยสาวก พุทธภูมิ ,ลำดับขั้นการฝึก โดยคุณ xorce ,วิธีปฏิบัติตลอดเวลา โดยคุณ xorce ,ปีติ และการแก้ไข ,นิมิตรที่เป็นคุณ เป็นอย่างไร ,อารมรณ์ใจในการปฏิบัติของเรา สมถะ เวลาอธิษฐาน เวลาแผ่เมตตา อารมณ์วิปัสสนา ,การวางกำลังใจในการทำความดี,อภิญญาฝ่ายกุศล เป็นอย่างไร
    ขออนุโมทนา ทุกประการค่ะ สาธุ ค่ะ

    ดูข้อมูลได้ที่ ลิงค์นี้ค่ะ <!-- google_ad_section_end -->
    http://palungjit.org/forums/วம.ml#post2100504
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 สิงหาคม 2009
  4. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    คำถามเรื่องการตั้งกำลังใจเมื่อเจอสิ่งทดสอบให้ทำให้หวั่นไหวจากพระรัตนไตรครับ
    ------------------------------------------

    พระนิพพานคือความปราถนาอันสูงสุดคะ
    ศาสานาพุทธเป็นศาสนาเดียวที่นับถือคะ
    มีพระรัตนตรัยเป็นสรณะอันสูงสุด
    ครูบาอาจารย์สูงสุดคือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตั้งแต่สมเด็จองค์ปฐมเรื่อยมาจนถึงสมเด็จองค์ปัจจุบันคะ
    หากต้องตายด้วยเหตุผลจากศาสนาอื่นหรือศาสดาองค์อื่นหรือไม่ใช่ผู้ถูกเลือกจากเหตุใดก็ตามก็พร้อมยอมสละชีพโดยหมดข้อสงสัยคะ

    รักและเคารพเสมอคะ


    ------------------------------------------------------------------

    เราก็ตั้งมั่นเคารพในพระรัตนไตรอยู่เสมอ

    การที่เราได้พบพระพุทธศาสนาแล้วนั้น นับเป็นบุญมหาศาล

    หาประมาณไม่ได้


    บางเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในทุกๆเรื่องที่ผ่านมาและผ่านไปนั้น มันเป็นเครื่องพิสูจน์ว่า จิตใจเรามั่นคงในพระรัตนไตรมากน้อยสักเพียงใด

    ยังมีวิจิกิจฉาหรือมีสรณะอื่นในความหลุดพ้น หรือไม่

    หากเราก้าวผ่านไปได้ สังโยชน์ข้อที่ สองเราก็ผ่าน

    สาธุ

    หากต้องตายในพระพุทธศาสนาหรือตายเพื่อรักษาพระพุทธศาสนาเรา ยินยอมพร้อมใจไหม หรือยอมทิ้งพระพุทธศาสนาเพื่อรักษาชีวิต

    หากกำลังใจเด็ดเดี่ยวมั่นคง สังโยชน์ข้อสองก็ใกล้ขาดเต็มที เติมตัว นอบน้อมเคารพในพระรัตนไตรแบบสุดใจลงไปอีกนิด

    ใช้มโนแต่ยังเถียงพระ(ในจิตก็ตาม)นี่ยังอีกไกลพอสมควร

    พอใจเคารพนอบน้อมยำเกรงพระท่าน ท่านสอนเราเลิกเถียง แต่มาถกพินิจพิจารณาก่อนว่าจริงไหมควรทำไหม ทำตามแล้วเกิดผลอย่างไร แล้วเพียรปฏิบัติตาม

    เมื่อนั้นสังโยชน์ข้อสองก็ใกล้ขาด

    ข้อแรกนึกถึงความตาย ไม่ประมาทในการทำความดี การฝึกจิตเป็นปกติ ทุกคืนเราคิดว่า หากเราตายตอนนี้ เราเอาอะไรไปได้ เราตายไปคืนนี้เราปล่อยวางทุกสิ่งได้ไหม

    เป้าหมายในพระนิพพานเรามั่นคงเด็ดเดี่ยวแค่ไหน พระนิพพานเท่านั้นหรือไม่ หากมั่นคงเด้ดเดี่ยวไม่ลังเล ก็เรียกว่าเราเก็บสังโยชน์ข้อหนึ่งใกล้ขาดแล้ว

    พอข้อสาม เราต้องเจริญเมตตา จนจิตเราเกิดพรหมวิหารสี่หล่อเลี้ยงใจจนจืตของเรา สิ้นความปรารถนาที่จะเบียดเบียนผู้อื่นในกาย วาจา ใจ

    การละเมิดศีลเป็นเรื่องฝืนจิตใจของเรา การทำผิดศีลเป็นเรื่องยากของเรา เป็นศีลที่เกิดขึ้นจากภายในจิตใจ เมื่อนั้นเริ่มเป็นศีลของพระอริยะเจ้า

    ตรงข้ามกับปุถุชนที่ การรักษาศีลเป็นเรื่องยากลำบากใจ ต้องฝืนใจ บังคับใจให้รักษาศีล

    เมื่อเราตัดสังโยชน์สามประการให้ขาดลง ได้ ตั้งจิตตัดตรงต่อพระนิพพานมั่นคง ชีวิตทางโลกเราก็ดำเนินปกติไป แต่มีความดี มีการสร้างกุศลเป็นปกติ และตั้งกำลังใจเอาไว้ว่าตายเมื่อไร เราไปนิพพานเมื่อนั้น ภพอื่น ภูมิอื่น เเม้สวรรค์สมบัติเราไม่ต้องการ พรหมสมบัติเราไม่ต้องการ เราต้องการพระนิพพานเพียงจุดเดียว

    ไปตัดสังโยชน์สิบให้ครบสิบข้อตอนตาย เพียงเท่านี้ เราก็สิ้นอาสวะกิเลสเข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้ในที่สุด


    ขอให้ตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อความดีครับ
     
  5. Xorce

    Xorce เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,369
    ค่าพลัง:
    +4,400
    [COLOR=darkgreen][FONT=Courier New][SIZE=5][B][IMG]http://palungjit.org/media/p.12163/full [/IMG][/B][/SIZE][/FONT][/COLOR]



    [COLOR=darkgreen][SIZE=6][FONT=Century Gothic]วัน อาทิตย์ ที่ [FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=yellowgreen]13[/COLOR] กันยายน[/FONT] [/FONT][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=yellowgreen]2552[/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR]
    [FONT=Century Gothic][SIZE=5]เชิญเข้าร่วมฝึกสมาธิ ( สายมโนมยิทธิ ) เริ่มตั้งแต่พื้นฐาน[/SIZE][/FONT]



    [B][FONT=Courier New][SIZE=6][COLOR=#006400][URL="http://palungjit.org/attachments/a.454928/"][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=454928&stc=1&thumb=1&d=1227697685[/IMG][/URL] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.463438/"][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=3][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=463438&stc=1&thumb=1&d=1228837105[/IMG][/SIZE][/FONT][/URL] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.467271/"][B][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=3][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=467271&stc=1&thumb=1&d=1229317362[/IMG][/SIZE][/FONT][/B][/URL] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.454927/"][SIZE=4][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#ff8c00][B][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=454927&stc=1&thumb=1&d=1227697685[/IMG][/B][/COLOR][/FONT][/SIZE][/URL][/COLOR][/SIZE][/FONT][/B]
    ฝึกสอนสมาธิโดย อาจารย์ คณานันท์ ทวีโภค
    -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    ตั้งแต่ เวลา 09:00 - 15:00 น. * * ศาลาพิศพิรุณ *
    ( ศาลาหกเหลื่ยม ) * เกาะลอย สวนลุมพินี กรุงเทพฯ



    ท่านใดสนใจเข้าร่วมฝึกสมาธิ เชิญลงชื่อ ได้ที่กระทู้
    http://palungjit.org/threads/แจ้งข่าว-กิจกรรมการสอนสมาธิของพี่เล็ก-kananun.164984/page-16


    แนะนำสมาธิ ฟรี *เป็นธรรมทาน ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้นค่ะ
    กรุณาใส่เสื้อ [COLOR=yellowgreen]สีขาว [/COLOR]มาฝึกสมาธิกันทุกท่านเพื่อความเรียบร้อยค่ะ






    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][IMG]http://www.dhammajak.net/images/stories/icon/ln-2.gif[/IMG] [/COLOR][/FONT][/B]






    <TABLE width=750 bgColor=#fef9e9 border=0><TBODY><TR><TD align=justify>


    [​IMG]

    [COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][FONT=Verdana][COLOR=yellowgreen][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000][B][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=darkgreen]ขอแนะนำ[/COLOR][/SIZE][/FONT] [/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][FONT=Verdana][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000]ให้เตรียมความพร้อมด้วยการ อ่านเนื้อหาสาระความรู้[/COLOR][/FONT][/B][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][FONT=Verdana][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000]จากกระทู้ วิชชาฯ [/COLOR][/FONT][/B][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]
    [COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][FONT=Verdana][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000]และ [/COLOR][/FONT][/B][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000]ลอง [/COLOR][/FONT][/B][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000]โหลดไฟล์ [/COLOR][/FONT][/B][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000]แนะนำฝึกสมาธิ โดย อ.คณานันท์ ทั้ง สำหรับ[/COLOR][COLOR=darkgreen] ฟัง [COLOR=yellowgreen]/[/COLOR] [/COLOR][/FONT][/B][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/FONT][/FONT][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#008000][COLOR=darkorange][COLOR=darkgreen]อ่าน ค่ะ[/COLOR][/COLOR][/COLOR][/FONT][/B][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]

    [B]ไฟล์ สำหรับโหลดฟัง แนะนำการปฏิบัติธรรม โดย อ.คณานันท์ ทวีโภค ค่ะ[/B]
    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    [COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG] [URL="http://audio.palungjit.org/attachment.php?attachmentid=22970"][FONT=Verdana][COLOR=green][B]วิชชา โดยอาจารย์ คณานันท์.mp3[/B][/COLOR][/FONT][/URL][/FONT][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]
    [COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG] [URL="http://www.pdisaster.com/audio/01-%cd%d2%b9%d2%bb%d2%b9%ca%b5%d4-%c0%d2%a4%e0%aa%e9%d2.mp3"][FONT=Arial][COLOR=darkgreen][B][FONT=Lucida Sans Unicode]01[/FONT]-อา[COLOR=darkgreen]นาปานส[/COLOR][/B][/COLOR][/FONT][/URL][FONT=Arial][COLOR=darkgreen][B][URL="http://www.pdisaster.com/audio/01-%cd%d2%b9%d2%bb%d2%b9%ca%b5%d4-%c0%d2%a4%e0%aa%e9%d2.mp3"][COLOR=darkgreen]ติ-ภาคเช้า.mp [FONT=Lucida Sans Unicode]3[/FONT] ขนาด [FONT=Lucida Sans Unicode]28.48 MB[/FONT][/COLOR][/URL][/B][/COLOR][/FONT] [/FONT][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]

    [COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.306621/"][FONT=Arial][B][COLOR=darkgreen]เมตตาอัปมาณฌาณ โดย อ.คณานันท์[FONT=Lucida Sans Unicode].mp3[/FONT][/COLOR][/B][/FONT][/URL] [COLOR=green]< คลิกเพื่อโหลดค่ะ[/COLOR] [/FONT][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][B][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG] [URL="http://www.pdisaster.com/audio/02-%A1%CA%D4%B9%20%CD%C3%D9%BB%AC%D2%B9%20%20%C1%E2%B9%C1%C2%D4%B7%B8%D4-%C0%D2%A4%BA%E8%D2%C2.mp3"][FONT=Arial][COLOR=darkgreen][B][FONT=Lucida Sans Unicode]02-[/FONT]กสิน อรูปฌาน มโนมยิทธิ-ภาคบ่าย.[FONT=Lucida Sans Unicode]mp 3[/FONT] ขนาด [FONT=Lucida Sans Unicode]29.85 M[/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/URL][/B][B][URL="http://www.pdisaster.com/audio/01-%cd%d2%b9%d2%bb%d2%b9%ca%b5%d4-%c0%d2%a4%e0%aa%e9%d2.mp3"][FONT=Arial][COLOR=darkgreen][B][FONT=Lucida Sans Unicode]B[/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/URL][/B]<!-- google_ad_section_end --> [/FONT][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]




    [COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Arial][COLOR=black][B]ไฟล์สำหรับโหลด " อ่าน " วิชชาฯ [/B][COLOR=darkorange][COLOR=yellowgreen]-------[/COLOR][/COLOR][B]แนะนำการปฏิบัติธรรม โดย อ. คณานันท์ ทวีโภค ค่ะ[/B][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=yellowgreen]--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------[/COLOR][/FONT]
    [COLOR=black][COLOR=black][B][IMG]http://palungjit.org/images/attach/doc.gif[/IMG] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.596339/"][SIZE=2][COLOR=darkgreen][B]http://palungjit.org/attachments/a.596339/[/B][/COLOR][/SIZE][/URL][/B][/COLOR][/COLOR]
    [COLOR=black][FONT=Verdana][B][B][IMG]http://palungjit.org/images/attach/doc.gif[/IMG] [/B][URL="http://palungjit.org/attachments/a.596340/"][SIZE=2][COLOR=green][B]http://palungjit.org/attachments/a.596340/[/B][/COLOR][/SIZE][/URL][/B][/FONT][/COLOR]


    [FONT=Verdana][COLOR=#000000][FONT=Verdana][COLOR=#000000][COLOR=#000000][FONT=Verdana][COLOR=#000000][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][SIZE=2][COLOR=#000000]( รวบรวมโดยคุณ namsompun ค่ะ )[/COLOR][/SIZE] [/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]




    [COLOR=black][COLOR=teal][B][COLOR=black]กระทู้สำหรับอ่าน วิชชาฯ ความรู้ [COLOR=darkorange][COLOR=yellowgreen]-----[/COLOR] [/COLOR]แนะนำการปฏิบัติธรรม โดย อ. คณานันท์ ทวีโภค[/COLOR] [/B][/COLOR][/COLOR]
    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    [​IMG] http://palungjit.org/threads/วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ.44604/ [​IMG]
    [​IMG] รวบรวมสาระความรู้การปฏิบัติธรรม จากกระทู้วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ [​IMG]



    [​IMG]


    [FONT=Arial][COLOR=black][B]หากท่านใดไม่สามารถไปฝึกสมาธิร่วมกัน ใน [COLOR=green]วันอาทิตย์ ที่[FONT=Lucida Sans Unicode] 21[/FONT][/COLOR] นี้ได้ ไว้โอกาสหน้านะค่ะ อ.คณานันท์ [/B][/COLOR][/FONT]
    [FONT=Verdana][FONT=Arial][COLOR=black]จะ[/COLOR][/FONT][/FONT][FONT=Verdana][FONT=Arial][COLOR=black]จัดแนะนำสมาธิ ที่ [COLOR=green]เกาะลอย สวนลุมพินี ทุกเดือน[/COLOR] หากไม่ติดธุระอะไร และ ได้เดินสาย แนะนำสมาธิ[/COLOR][/FONT][/FONT]
    [FONT=Verdana][FONT=Arial][COLOR=black]แทบ [/COLOR][/FONT][/FONT][FONT=Verdana][FONT=Arial][COLOR=black]ทุกภาค ค่ะ ท่านใดที่อยู่ต่างจังหวัดติดตามดู รายละเอียดการสอนที่ต่างจังหวัดได้ในกระทู้นี้ค่ะ[/COLOR][/FONT][/FONT]

    http://palungjit.org/threads/แจ้งข่าว-กิจกรรมการสอนสมาธิของพี่เล็ก-kananun.164984/page-16




    [IMG]http://www.dhammajak.net/images/stories/icon/ln-2.gif[/IMG]











    </TD></TR></TBODY></TABLE></B></B>




    [COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black]<TABLE width=750 bgColor=#fef9e9 border=0><TBODY><TR><TD align=justify>[/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]

    [COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][URL="http://palungjit.org/attachments/a.476799/"][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=476799&stc=1&thumb=1&d=1230541819[/IMG][/URL] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.476802/"][B][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=476802&stc=1&thumb=1&d=1230541819[/IMG][/B][/URL] [URL="http://palungjit.org/attachments/a.476800/"][IMG]http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=476800&stc=1&thumb=1&d=1230541819[/IMG][/URL] [/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]

    [LEFT][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Angsana New][COLOR=green][B][U][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=black][IMG]http://i719.photobucket.com/albums/ww193/Sawiiika/th_i23.gif[/IMG]สื่อความรู้ที่คาดว่าจะนำไปแจกฟรีในวันอาทิตย์ นี้[/COLOR][/SIZE][/FONT][/U][/B][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/LEFT]
    [FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082]
    [FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=#4b0082][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=#006400][B][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG][SIZE=4][FONT=Lucida Sans Unicode]DVD[/FONT] [/SIZE]หลวงพ่อพระราชพรหมยาน [/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=#006400][URL="http://palungjit.org/threads/เชิญรับ-dvd-mp3-ธรรมะ-e-book-หลวงพ่อพระราชพรหมยาน-ฟรี.77783/"][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=2][COLOR=green]http://palungjit.org/showthread.php?t=77783[/COLOR][/SIZE][/FONT][/URL][/COLOR][/SIZE][/FONT][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]

    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Angsana New][COLOR=darkgreen][SIZE=5][FONT=Courier New][B]หนังสือวิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ[/B] [COLOR=yellowgreen]-[/COLOR] [B][COLOR=green]ฉบับพื้นฐาน[/COLOR] [/B][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Angsana New][URL="http://palungjit.org/threads/ลงชื่อรอรับ-วิชชาที่จะทำให้อยูรอดฯ-ฉบับพื้นฐานค่ะ.119110/"][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=2][COLOR=darkgreen]http://palungjit.org/showthread.php?t=119110[/COLOR][/SIZE][/FONT][/URL][/FONT][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]

    [LEFT][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Angsana New][COLOR=teal][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=darkgreen][SIZE=5][FONT=Courier New][B][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=4]CD [/SIZE][/FONT]วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ[/B] [COLOR=yellowgreen]-[/COLOR][B] [COLOR=green]ภาคปฏิบัติ[/COLOR][/B][/FONT][/SIZE][/COLOR] [/FONT][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Angsana New][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=darkgreen][B][IMG]http://audio.palungjit.org/images/attach/mp3.gif[/IMG][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=4]CD[/SIZE] [/FONT]พระไตรปิฏก [COLOR=yellowgreen]-[/COLOR] บทสวดมนต์ [COLOR=yellowgreen]- [/COLOR]และพจนานุกรมพุทธศาสตร์ [/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/LEFT]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=#4b0082][COLOR=#4b0082][FONT=Arial][FONT=Angsana New][URL="http://palungjit.org/threads/เชิญรับ-cd-รวมพระไตรปิฎก-พจนานุกรมพุทธศาสน์-บทสวดมนต์-ฟรี.82893/"][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=2][COLOR=green]http://palungjit.org/showthread.php?t=82893[/COLOR][/SIZE][/FONT][/URL][/FONT][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]

    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][FONT=Angsana New][COLOR=darkgreen][SIZE=5][FONT=Courier New][B]แผ่นทองเหลือง [/B][URL="http://palungjit.org/threads/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A-cd-%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81-%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C-%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B5.82893/"][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=2][COLOR=green](rose)[/COLOR][/SIZE][/FONT][/URL] [B]ร่วมอธิษฐานจิต เพื่อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์[/B][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][B][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=#006400]ร่วมหล่อ [COLOR=green]พระเจ้าองค์แสน[/COLOR] ( สมเด็จองค์ปฐมทรงเครื่องจักรพรรดิ )ค่ะ[/COLOR][/SIZE][/FONT][/B][/B]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][FONT=Angsana New][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=2][URL="http://palungjit.org/threads/พระเจ้าองค์แสน.155870/"][COLOR=green]http://palungjit.org/showthread.php?t=155870[/COLOR][/URL][/SIZE][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]


    [CENTER][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Lucida Sans Unicode][U][COLOR=darkorange]หมายเหตุ[/COLOR][/U] [SIZE=3][COLOR=black]ทางกลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติ จัดสอนสมาธิให้ฟรี [/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=black][COLOR=darkslategray]แจกสื่อธรรมะฟรี ...........[/COLOR] ไม่มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น [/COLOR][/FONT][/B][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=black][COLOR=green]หากพบว่ามีการใช้ชื่อกลุ่มฯ แอบอ้างเรี่ยไรเงิน หรือ วัตถุสิ่งของใด[/COLOR][/COLOR][/FONT][/B][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=darkgreen]ขอให้ปฏิเสธโดยทันที และ แจ้งข้อมูลให้ทางกลุ่มฯทราบด้วยค่ะ[/COLOR][/FONT][/B][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]


    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Angsana New][SIZE=5][FONT=Courier New][COLOR=black][FONT=Lucida Sans Unicode][SIZE=5][COLOR=#ff8c00][U][B][IMG]http://i172.photobucket.com/albums/w35/saviska-1/3.jpg[/IMG][/B][/U][/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]

    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Verdana][FONT=Angsana New][SIZE=5][FONT=Courier New][COLOR=black][U][B]แผนที่ และ การเดินทาง[IMG]http://i719.photobucket.com/albums/ww193/Sawiiika/th_i23.gif[/IMG][/B][/U][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/FONT][/FONT][/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]

    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Angsana New][SIZE=5][FONT=Courier New][COLOR=darkgreen][B]รถไฟฟ้า [COLOR=yellowgreen]*[/COLOR] ขึ้นรถไฟฟ้ามาลงที่สถานี[COLOR=yellowgreen] ศาลาแดง [/COLOR][/B][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Angsana New][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=darkgreen][B]รถไฟใต้ดิน [COLOR=yellowgreen]* [/COLOR]นั้งรถไฟใต้ดินมาลงที่สถานี้ ศาลาแดง[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Angsana New][SIZE=5][FONT=Courier New][SIZE=5][FONT=Lucida Sans Unicode][B][COLOR=darkgreen][SIZE=3][FONT=Courier New][SIZE=5]รถเมย์ [/SIZE][/FONT][FONT=Courier New][SIZE=5][COLOR=yellowgreen]*[/COLOR] [/SIZE][/FONT]14,15,17,22,45,50,62,67,74,76,77[/SIZE][SIZE=3],106,[/SIZE][SIZE=3]109,[/SIZE][/COLOR][/B][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]
    [B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Angsana New][SIZE=5][FONT=Courier New][SIZE=5][FONT=Lucida Sans Unicode][B][COLOR=darkgreen][SIZE=3]115,[/SIZE][SIZE=3]141, [FONT=Arial]ปอ[/FONT].4,5,7,15,62,76,141, [FONT=Arial]ปอ.สาย[/FONT] 4 ,15[/SIZE][/COLOR][/B][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B]

    [B][B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#006400][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][IMG]http://i170.photobucket.com/albums/u277/saviska/010-21.gif[/IMG][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/B]


    [B][FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#006400][B][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Verdana][COLOR=black][B][COLOR=darkgreen][COLOR=yellowgreen]"[/COLOR] ขอท่านทั้งหลายจงพิจารณาตริตรอง ในธรรมทั้งปวงให้ถี่ถ้วน [/COLOR][/B][COLOR=darkgreen][B]เจริญปัญญาในเมตตาสมาธิ [/B][B]ครั้นเล็ง เห็นประโยชน์อันพึงมี พึงเกิดขึ้น [/B][B]ก็ขอจงปฏิบัติ [/B][/COLOR][COLOR=darkgreen][B][COLOR=teal]ให้ยิ่ง [/COLOR][/B][B][COLOR=teal]ให้ลึก ซึ้ง ถึง จิต[/COLOR] เพื่ออานิสงค์แห่งการ[/B][/COLOR][B][COLOR=darkgreen]ปฏิบัติืที่สมบูรณ์ บริบูรณ์เต็ม [/COLOR][/B][B][COLOR=darkgreen]ด้วยอำนาจแห่งพระเมตตาธิคุณแห่งพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ที่ปรากฏมานับแต่อดีต ปัจจุบัน [/COLOR][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/B]
    [FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#006400][B][FONT=Verdana][COLOR=black][B][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][B][COLOR=darkgreen]ตลอดจนที่จะปรากฏต่อไปในอนาคต ขอจงส่งผลให้ [/COLOR][COLOR=teal]ธรรมรัตนมณีโชติ จงส่องสว่างกลางใจของสาธุชน[/COLOR][/B][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT][/B][/COLOR][/FONT]
    [FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#006400][FONT=Verdana][COLOR=black][B][B][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][B][COLOR=darkgreen][COLOR=teal]ทุกท่านผู้เป็นสัมมาทิฐิ[/COLOR] [/COLOR][COLOR=green]และ ปรากฏผลอัศจรรย์ แห่งการปฏิบัติได้กระจ่างใจ ทุก ๆ คนด้วยเทอญ [/COLOR][COLOR=yellowgreen]"[/COLOR][/B][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/B][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]

    [FONT=Lucida Sans Unicode][COLOR=#006400][FONT=Verdana][COLOR=black][B][B][FONT=Verdana][COLOR=black][COLOR=black][FONT=Verdana][B][COLOR=green]อาจารย์ คณานันท์ ทวีโภค[/COLOR][/B][/FONT][/COLOR][/COLOR][/FONT][/B][/B][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/CENTER]
    [/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </B>
     
  6. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2421288 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nuttadet<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2421288", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Mar 2007
    อายุ: 25
    ข้อความ: 1,223
    Groans: 2
    Groaned at 8 Times in 6 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 7,702
    ได้รับอนุโมทนา 14,469 ครั้ง ใน 1,118 โพส
    พลังการให้คะแนน: 486 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2421288 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->การรู้สภาวะที่แท้จริงของร่างกายในธรรมปัจจุบันคือ อริยสัจ<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1253182041&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%88-204496.html&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%88-204496-2.html&dt=1253182041421&correlator=1253182041421&frm=0&ga_vid=175119288.1252664403&ga_sid=1253180733&ga_hid=656265309&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=13&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1259&bih=607&fu=0&ifi=1&dtd=94&xpc=7pd0rxfaCN&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>

    [​IMG]
    ธรรม
    ที่นำไปสู่ความหลุดพ้น
    เล่มที่ ๖
    พระราชพรหมยานมหาเถระ หลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุง
    รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]


    สามารถดูสารบัญหัวข้อธรรมะจากในเล่มได้ที่ลิ้งค์นี้นะครับ

    สารบัญ “ธรรมที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ "
    พระราชพรหมยานมหาเถระ หลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุง
    รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน


    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]


    </FIELDSET>
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แจก cd สอนสมาธิเบื้องต้น ไปจนถึง มโนมยิทธิ และกสิณ ตามแนวทางหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    ท่านใดสนใจ pm มาครับ จัดส่งฟรีถึงบ้าน หรือจะดาวโหลดตามลิ้งได้เลยจ้า
    ไฟล์เสียงแนะนำสมาธิ โดย กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติ - Buddhism Audio

    ... เพื่อประโยชน์และความสุข ของทุกๆ ชึวิต และทุกๆ ดวงจิต ...





    <!-- google_ad_section_end --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    นำมาจากห้องแกลอรี่ค่ะ

    [​IMG]
     
  8. เฮฮา

    เฮฮา Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +52
    ช่วยกันอธิฐานให้โลกพ้นภัยพิบัตินะค่ะ
     
  9. ชนินทร

    ชนินทร พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,725
    ค่าพลัง:
    +6,384
    สาธุ... โมทนากับทุกท่านเลยค่ะ...

    ไม่ค่อยมีเวลาว่างจะเข้าเว็บนัก... พอได้เข้ามา ได้อ่านกระทู้นี้... เหมือนได้ชาร์จแบต ได้ขัดล้างสิ่งสกปรกออกจากดวงจิต ทำให้สดชื่น เบิกบานขึ้นจริงๆ ค่ะ...

    ขอให้ทุกท่านเข้าถึงที่สุดแห่งธรรมกันโดยฉับพลันนะคะ...
     
  10. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2389744 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->teporrarit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2389744", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2008
    สถานที่: เทพออรฤทธิ์ พลังจิต-พุทธศาสนา สำหรับผู้เริ่มต้น
    อายุ: 22
    ข้อความ: 3,079
    Groans: 3
    Groaned at 13 Times in 11 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 472
    ได้รับอนุโมทนา 28,442 ครั้ง ใน 2,177 โพส
    พลังการให้คะแนน: 392 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2389744 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->การหลับที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1253521925&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%96%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3-203075.html&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ftopics%2Flp.htm&dt=1253521925687&correlator=1253521925687&jscb=1&frm=0&ga_vid=1150660876.1253519232&ga_sid=1253521171&ga_hid=1433445440&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=8&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1259&bih=607&fu=0&ifi=1&dtd=78&xpc=7EAufa3GYA&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    *

    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2389750 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->teporrarit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2389750", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2008
    สถานที่: เทพออรฤทธิ์ พลังจิต-พุทธศาสนา สำหรับผู้เริ่มต้น
    อายุ: 22
    ข้อความ: 3,079
    Groans: 3
    Groaned at 13 Times in 11 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 472
    ได้รับอนุโมทนา 28,442 ครั้ง ใน 2,177 โพส
    พลังการให้คะแนน: 392 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]




    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2389750 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->[​IMG]<!-- google_ad_section_end -->


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder id=post2389754 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_2389754 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid">
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->[​IMG]นัดวันร้อยผ้ากฐินที่ซอยสายลม ที่ตึกถวายสังฆทานชั้น 2ใน(ครั้งสุดท้าย)วันที่ 10,11ต.ค ตั้งแต่11.00 โทร.. 0820909-432ใกล้เสร็จแล้วนะครับ สาธุ ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสร้างตึกฝึกกรรมฐานและผ้ากฐินสีเงินประดับคริสตัลวันที่ 24-25 ตุลาคม พ.ศ.2552ประกาศเลื่อนกฐินวัดป่าศิริสมบูรณ์ มาเป็น วันที่ 24-25ตุลาคม 2552 อีก2 เดือนผ้าห่มพระจะเสร็จแล้วนะครับผมทำบุญกันไว้เถิด บุญจะติดตามเราไปทุกภพทุกชาติจนกว่าจะนิพพาน สาธุ qsqu[​IMG] [​IMG] สารบัญ “ธรรมที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ ”รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน qsquงานทอดกฐินที่วัดท่าซุง วันที่ ๑๗ ต.ค. เริ่มงานกฐิน วันที่ ๑๘ ต.ค. เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. ถวายผ้ากฐิน
    ที่ศาลา ๑๒ ไร่ เวลา ๑๗.๐๐ น. พระสงฆ์วัดท่าซุง กรานกฐินในอุโบสถ
    นับถอยหลังสู่กฐินปีนี้ไปที่หลายจัง <!-- google_ad_section_end -->


    </TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("2389754")</SCRIPT> [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 21 กันยายน 2009
  12. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2389754 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 31-08-2009, 09:02 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #3 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->teporrarit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2389754", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2008
    สถานที่: เทพออรฤทธิ์ พลังจิต-พุทธศาสนา สำหรับผู้เริ่มต้น
    อายุ: 22
    ข้อความ: 3,079
    Groans: 3
    Groaned at 13 Times in 11 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 472
    ได้รับอนุโมทนา 28,442 ครั้ง ใน 2,177 โพส
    พลังการให้คะแนน: 392 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2389754 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->[​IMG]<!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->[​IMG]นัดวันร้อยผ้ากฐินที่ซอยสายลม ที่ตึกถวายสังฆทานชั้น 2ใน(ครั้งสุดท้าย)วันที่ 10,11ต.ค ตั้งแต่11.00 โทร.. 0820909-432ใกล้เสร็จแล้วนะครับ สาธุ ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสร้างตึกฝึกกรรมฐานและผ้ากฐินสีเงินประดับคริสตัลวันที่ 24-25 ตุลาคม พ.ศ.2552ประกาศเลื่อนกฐินวัดป่าศิริสมบูรณ์ มาเป็น วันที่ 24-25ตุลาคม 2552 อีก2 เดือนผ้าห่มพระจะเสร็จแล้วนะครับผมทำบุญกันไว้เถิด บุญจะติดตามเราไปทุกภพทุกชาติจนกว่าจะนิพพาน สาธุ qsqu[​IMG] [​IMG] สารบัญ “ธรรมที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ ”รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน qsquงานทอดกฐินที่วัดท่าซุง วันที่ ๑๗ ต.ค. เริ่มงานกฐิน วันที่ ๑๘ ต.ค. เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. ถวายผ้ากฐิน
    ที่ศาลา ๑๒ ไร่ เวลา ๑๗.๐๐ น. พระสงฆ์วัดท่าซุง กรานกฐินในอุโบสถ
    นับถอยหลังสู่กฐินปีนี้ไปที่หลายจัง
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
  14. jho7799

    jho7799 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2008
    โพสต์:
    23
    ค่าพลัง:
    +71
    เข้ามาอ่านวันนี้รู้สึกว่าจิตมีพลังและจิตสะอาดมีกำลังที่จะปฏิบัติ
    ดีและทำความดีโดยไม่ท้อ ขออนุโมทนาสาธุกับทุกท่านด้วยนะครับ:cool:
     
  15. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
    [​IMG]

    วิชชา ๘ อย่างละเอียดในพระไตรปิฎก


    วิชชา ๘


    วิชชา ๘ = วิปัสสนาญาณ ๑ มโนยิทธิญาณ ๑ อภิญญา ๖

    วิปัสสนาญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ เธอย่อมรู้ชัด
    อย่างนี้ว่า กายของเรานี้แล มีรูป ประกอบด้วยมหาภูต ๔ เกิดแต่มารดาบิดา เติบโตขึ้นด้วย
    ข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา
    และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ในกายนี้. ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนแก้ว
    ไพฑูรย์อันงาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใส แวววาว
    สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียว เหลือง แดง ขาว หรือนวลร้อยอยู่ในนั้น บุรุษมีจักษุจะพึง
    หยิบแก้วไพฑูรย์นั้นวางไว้ในมือแล้วพิจารณาเห็นว่า แก้วไพฑูรย์นี้งาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์
    แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใส แวววาว สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียว เหลือง แดง
    ขาวหรือนวลร้อยอยู่ในแก้วไพฑูรย์นั้น ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์
    ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้
    ย่อมน้อมโน้มจิตไปเพื่อญาณทัสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรา นี้แล มีรูป ประกอบด้วย
    มหาภูต ๔ เกิด แต่มารดาบิดา เติบโตขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น
    มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่
    ในกายนี้ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    มโนมยิทธิญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือ
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    หน้าที่ ๓๒๑.
    นิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง
    ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักไส้ออกจากหญ้าปล้อง เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้
    หญ้าปล้อง นี้ไส้ หญ้าปล้อง อย่างหนึ่ง ไส้อย่างหนึ่ง ก็แต่ไส้ชักออกจากหญ้าปล้องนั่นเอง
    อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้ดาบ นี้ฝัก
    ดาบอย่างหนึ่ง ฝักอย่างหนึ่ง ก็แต่ดาบชักออกจากฝักนั่นเอง อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษ
    จะพึงชักงูออกจากคราบ เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้งู นี้คราบ งูอย่างหนึ่ง คราบอย่างหนึ่ง
    ก็แต่งูชักออกจากคราบนั่นเอง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว
    ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม
    จิตไปเพื่อนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่
    ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    อิทธิวิธญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี เธอบรรลุอิทธิวิธี
    หลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้
    ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงแม้ใน
    แผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือน
    นกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจทางกาย
    ไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนช่างหม้อหรือลูกมือของช่างหม้อผู้ฉลาด
    เมื่อนวดดินดีแล้ว ต้องการภาชนะชนิดใดๆ พึงทำภาชนะชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง
    เปรียบเหมือนช่างงาหรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ว ต้องการเครื่องงาชนิดใดๆ
    พึงทำเครื่องงาชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างทองหรือลูกมือของช่างทอง
    ผู้ฉลาด เมื่อหลอมทองดีแล้ว ต้องการทองรูปพรรณชนิดใดๆ พึงทำทองรูปพรรณชนิดนั้นๆ ให้
    สำเร็จได้ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    หน้าที่ ๓๒๒.
    อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี
    เธอบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้
    ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้
    ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไป
    ในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้
    อำนาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    ทิพพโสตญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ เธอย่อม
    ได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือ เสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ด้วยทิพยโสตอันบริสุทธิ์
    ล่วงโสตของมนุษย์ ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนบุรุษเดินทางไกล เขาจะพึงได้ยินเสียงกลองบ้าง
    เสียงตะโพนบ้าง เสียงสังข์บ้าง เสียงบัณเฑาะว์บ้าง เสียงเปิงมางบ้าง เขาพึงเข้าใจว่า
    เสียงกลองดังนี้บ้าง เสียงตะโพนดังนี้บ้าง เสียงสังข์ดังนี้บ้าง เสียงบัณเฑาะว์ดังนี้บ้าง เสียง
    เปิงมางดังนี้บ้าง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
    ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ
    ทิพยโสตธาตุ เธอย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือ เสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้
    ด้วยทิพยโสตอันบริสุทธิ์ ล่วงโสตของมนุษย์ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    เจโตปริยญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ เธอย่อม
    กำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ
    ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ
    จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รู้ว่า
    จิตหดหู่ หรือจิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต หรือจิตไม่เป็น
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    หน้าที่ ๓๒๓.
    มหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่น
    ยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่า
    จิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น ดูกรเกวัฏฏ์
    เปรียบเหมือนหญิงสาวชายหนุ่มที่ชอบการแต่งตัว เมื่อส่องดูเงาหน้าของตนในกระจกอันบริสุทธิ์
    สะอาด หรือในภาชนะน้ำอันใส หน้ามีไฝ ก็จะพึงรู้ว่าหน้ามีไฝ หรือหน้าไม่มีไฝ ก็จะพึงรู้ว่า
    หน้าไม่มีไฝ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก
    อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ
    เจโตปริยญาณ เธอย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ
    หรือจิตปราศจากราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ
    ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ
    จิตหดหู่ ก็รู้ว่าจิตหดหู่ หรือจิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต
    หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิต
    ไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ
    ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
    ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
    เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง
    สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง
    ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็น
    อันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้างว่า ในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น
    มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    หน้าที่ ๓๒๔.
    ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น
    มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น
    ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ
    พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงจากบ้านตนไปบ้านอื่น
    แล้วจากบ้านนั้นไปยังบ้านอื่นอีก จากบ้านนั้นกลับมาสู่บ้านของตนตามเดิม เขาจะพึงระลึกได้
    อย่างนี้ว่า เราได้จากบ้านของเราไปบ้านโน้น ในบ้านนั้นเราได้ยืนอย่างนั้น ได้นั่งอย่างนั้น
    ได้พูดอย่างนั้น ได้นิ่งอย่างนั้น เราได้จากบ้านแม้นั้นไปยังบ้านโน้น แม้ในบ้านนั้น เราก็ได้ยืน
    อย่างนั้น ได้นั่งอย่างนั้น ได้พูดอย่างนั้น ได้นิ่งอย่างนั้น แล้วเรากลับจากบ้านนั้นมาสู่บ้าน
    ของตนตามเดิม ดังนี้ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
    ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ
    ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง
    สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง
    สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป
    เป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้างว่า ในภพ
    โน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์
    อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้น
    เราก็มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์
    อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอระลึกถึง
    ชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ดูกรเกวัฏฏ์
    แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    จุตูปปาตญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์
    ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    หน้าที่ ๓๒๕.
    ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วง จักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตาม
    กรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็น
    มิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึง
    อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
    ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย
    เพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ
    เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุ
    ของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ เปรียบเหมือนปราสาทตั้ง
    อยู่ ณ ทาง ๓ แพร่ง ท่ามกลางพระนคร บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนปราสาทนั้น จะพึงเห็นหมู่ชนกำลัง
    เข้าไปสู่เรือนบ้าง กำลังออกจากเรือนบ้าง กำลังสัญจรเป็นแถวอยู่ในถนนบ้าง นั่งอยู่ที่ทาง
    ๓ แพร่ง ท่ามกลางพระนครบ้าง เขาจะพึงรู้ว่า คนเหล่านี้เข้าสู่เรือน เหล่านี้ออกจากเรือน
    เหล่านี้สัญจรเป็นแถวอยู่ในถนน เหล่านี้นั่งอยู่ที่ทาง ๓ แพร่ง ท่ามกลางพระนคร ฉันใด ภิกษุก็
    ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์
    ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม
    ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไป
    ตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็น
    มิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึง
    อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
    ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย
    เพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์กำลังจุติ กำลังอุปบัติ
    เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์
    ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ ดูกรเกวัฏฏ์
    แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    หน้าที่ ๓๒๖.
    อาสวักขยญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัด
    ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ
    เหล่านี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อม
    หลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณ
    ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่น
    เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนสระน้ำบนยอดเขา ใสสะอาดไม่ขุ่นมัว
    บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนขอบสระนั้น จะพึงเห็นหอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวด และ
    ก้อนหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง กำลังว่ายอยู่บ้าง หยุดอยู่บ้าง ในสระน้ำนั้น เขาจะพึงคิดเห็น
    อย่างนี้ว่า สระน้ำนี้ใสสะอาดไม่ขุ่นมัว หอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวดและก้อนหิน
    บ้าง ฝูงปลาบ้าง เหล่านี้กำลังว่ายอยู่บ้าง กำลังหยุดอยู่บ้าง ในสระนั้น ดังนี้ ฉันใด
    ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ
    ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
    เหล่านี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้
    จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว
    ก็มีญาณว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
    กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.
    ดูกรเกวัฏฏ์ ปาฏิหาริย์ ๓ เหล่านี้แล เราทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองแล้ว
    จึงประกาศให้รู้.
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
    ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค

    84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=9&A=1920&Z=2832
    ------------------------------------------------------------------------

    พระพุทธเจ้าท่านได้ทรงตรัสสรรเสริญแก่ผู้ ที่ได้ปฎิบัติ เจริญสมาธิ เจริญจิตให้บริสุทธิ์ และสำเร็จ วิชชา ๘ ได้ด้วยตนเอง ถือได้ว่าเป็นอนุสาสนีปาฏิหาริย์อย่างหนึ่ง

    สำหรับผู้ที่อยู่ในวิสัยของ เตวิชโช ฉฬภิญโญ และปฏิสัมภิทัปปัตโต

    ขอท่านทั้งหลายจงตั้งตนให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทตามปัจฉิมพุทธโอวาท
    เร่งปฎิบัติ บำเพ็ญเพียรจิต เจริญสมาธิ เจริญจิตให้บริสุทธิ์ จนเกิดอภิญญารู้แจ้งได้ด้วยตนเองเิถิด

    ขออนุญาตประกาศพระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงตรัส ความจริงไว้ดีแล้วประกาศให้แก่สาธุชนทั้งหลายมีความภาคเพียรในการปฎิบัติิด้วยเทอญ

    ขอผลบุญจากธรรมทานนี้น้อมถวายเป็นพุทธบูชา
    _/\_ ธรรมบูชา _/\_ สังฆบูชา _/\_

    และอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลนี้ให้กับทุกดวงจิตเข้าถึงซึ่งพระนิพพานทุกรูปทุกนามด้วยเทอญ _/\_

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2009
  16. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
  17. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2137825 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 28-05-2009, 03:57 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->teporrarit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2137825", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2008
    สถานที่: เทพออรฤทธิ์ พลังจิต-พุทธศาสนา สำหรับผู้เริ่มต้น
    อายุ: 22
    ข้อความ: 3,095
    Groans: 3
    Groaned at 13 Times in 11 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 473
    ได้รับอนุโมทนา 28,694 ครั้ง ใน 2,193 โพส
    พลังการให้คะแนน: 394 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2137825 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ภาพจักชัดหรือไม่ชัดไม่สำคัญ..ขอให้อารมณ์ปักตรงต่อพระนิพพานก็แล้วกัน<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1253763355&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99-189677.html&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D-%E2%80%9C%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C-%E2%80%9D%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2-%E0%B8%9E%E0%B8%A5-%E0%B8%95-%E0%B8%97-%E0%B8%99%E0%B8%9E-%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%99-201273.html&dt=1253763355812&correlator=1253763355812&jscb=1&frm=0&ga_vid=1150660876.1253519232&ga_sid=1253758375&ga_hid=1423000025&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=0&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=771&bih=432&fu=0&ifi=1&dtd=63&xpc=bLQi3trxEb&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]




    ภาพจักชัดหรือไม่ชัดไม่สำคัญ


    ขอให้อารมณ์ปักตรงต่อพระนิพพานก็แล้วกัน<O:p</O:p

    เมื่อวันอังคาร ที่ 20 ก.ค.2536 สมเด็จองค์ปฐม ทรงพระเมตตาตรัสสอนไว้ดังนี้<O:p</O:p
    1.ร่างกายยิ่งเหนื่อยมากเท่าไหร่ ก็สมควรจักยิ่งซ้อมตาย ทิ้งร่างกายมากขึ้นเท่านั้น
    <O:p</O:p
    2.อารมณ์จับภาพพระนิพพาน แม้จักไม่แจ่มใสตามปกติ ก็จงพยายามกำหนดจิตขึ้นมาอยู่บนวิมานแห่งนี้ ภาพจักชัดหรือไม่ชัดไม่สำคัญ ขอให้ใช้อารมณ์ปักตรงต่อพระนิพพานก็แล้วกัน
    <O:p</O:p
    3.กิจการงานที่เจ้าทำ ก็ถือได้ว่าเป็นกิจพระพุทธศาสนา จงมีความภูมิใจ หากร่างมันจักตายลง ในขณะเหน็ดเหนื่อยในหน้าที่การงานนี้ ก็ถือว่าเพื่อพระพุทธศาสนา เป็นความดีที่เจ้าได้ทำอยู่ ตายก็ตายอยู่กับความดี จักตายครั้งสุดท้ายเพื่อพระนิพพาน หรือ เพื่อความไม่เกิดไม่ดับอีก
    <O:p</O:p
    4.อย่าทำงานเหนื่อยแล้วทำจิตให้บ่น ทำเช่นนั้นเจ้าจักขาดทุน การบ่นเป็นอารมณ์ปฏิฆะ จัดเป็นอารมณ์ไม่พอใจ จงดูและกำหนดรู้ให้ดีๆ จึงจักละซึ่งอารมณ์กามฉันทะ และปฏิฆะได้
    <O:p</O:p
    5. พยายามละอารมณ์บ่นให้ได้มากที่สุด ไม่ว่าจักเป็นมโนกรรมหรือวจีกรรม บ่นเมื่อไหร่ถือว่าเจ้าพ่ายแพ้ต่ออารมณ์ปฏิฆะเมื่อนั้น เวลานี้รบกับอารมณ์ จักต้องตั้งใจต่อสู้กับอารมณ์ของจิตให้ดีๆ ไม่ใช่ต่อสู้แบบไม่รู้จักหน้าค่าตาของศัตรูจักถูกเขาเอาดาบฟันตายอยู่รอมร่อแล้ว ยังมองไม่เห็นภัยของศัตรูอีก
    <O:p</O:p
    6.แยกแยะอารมณ์ให้ถูกตลอดวัน ตลอดเวลา อย่าเผลอ จักบอกไม่รู้ไม่ได้ เมื่อรู้เองไม่ได้ ก็แก้ไขอารมณ์จิตของตนเองไม่ได้เหมือนกัน ชาตินี้ทั้งชาติเจ้าอย่าหวังได้พระอนาคามีผล ก็ต้องกลับมาเวียนว่ายได้ตายเกิดอีกต่อ อย่างนี้จักดีหรือ
    <O:p</O:p
    7.กลัวการเกิดให้มากๆ อย่ากลัวความตาย อย่ากลัวความเหนื่อย อย่ากลัวความเจ็บไข้ได้ป่วย เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นอริยสัจ เป็นทุกข์สัจของการมีอัตภาพร่างกายเป็นกฎของธรรมดา
    <O:p</O:p
    8.จงกำหนดจิตยอมรับกฎธรรมดาหรืออริยสัจนี้เป็นชาติสุดท้าย ให้รู้จักเข็ดทุกข์อยู่ในจิต ไม่ขอกลับมาเกิดเป็นเยี่ยงนี้อีก
    <O:p</O:p
    9.อย่าบ่นเมื่อทุกข์มาเยือน อย่าลิงโลดเมื่อสุขทางโลกมาเยือน จงพยายามยามทรงอารมณ์จิต ให้เบื่อหน่ายในอารมณ์กามฉันทะและปฏิฆะนั้นๆ และทรงพรหมวิหาร 4 ให้จิตมีกำลังวางทุกข์ วางสุขนั้นๆ โดยมีความรัก ความสงสารจิตของตนเองเป็นประการสำคัญ
    <O:p</O:p
    11 อย่าลืมนึกถึงความตายเข้าไว้เสมอๆ เป็นตัดอารมณ์ กามฉันทะและปฏิฆะเข้าไว้ หากเจ้าคิดว่าร่างกายจักตายในขณะนี้เสียอย่าง อารมณ์ก็จะระงับได้ง่าย เพราะมัวแต่ตกเป็นทาสอารมณ์ ตายไปก็ไม่ถึงนิพพาน
    <O:p</O:p
    12อย่าลืมคิดตามนี้ให้จิตมันชิน จักได้คลายความประมาทในธรรมที่เข้ามากระทบลงได้

    <O:p“ธรรมที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ ”เล่ม 6<O:p</O:p
    โดย พระราชพรหมยานมหาเถระ (หลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุง)
    <O:p</O:pรวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน </O:p

    สารบัญ รวมเรื่องหลวงพ่อฤาษีลิงดำและ“ธรรมะที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์</O:p>


    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->[​IMG]นัดวันร้อยผ้ากฐินที่ซอยสายลม ที่ตึกถวายสังฆทานชั้น 2ใน(ครั้งสุดท้าย)วันที่ 10,11ต.ค ตั้งแต่11.00 โทร.. 0820909-432ใกล้เสร็จแล้วนะครับ สาธุ ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสร้างตึกฝึกกรรมฐานและผ้ากฐินสีเงินประดับคริสตัลวันที่ 24-25 ตุลาคม พ.ศ.2552ประกาศเลื่อนกฐินวัดป่าศิริสมบูรณ์ มาเป็น วันที่ 24-25ตุลาคม 2552 อีก2 เดือนผ้าห่มพระจะเสร็จแล้วนะครับผมทำบุญกันไว้เถิด บุญจะติดตามเราไปทุกภพทุกชาติจนกว่าจะนิพพาน สาธุ qsqu[​IMG] [​IMG] สารบัญ “ธรรมที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ ”รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน qsquงานทอดกฐินที่วัดท่าซุง วันที่ ๑๗ ต.ค. เริ่มงานกฐิน วันที่ ๑๘ ต.ค. เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. ถวายผ้ากฐิน
    ที่ศาลา ๑๒ ไร่ เวลา ๑๗.๐๐ น. พระสงฆ์วัดท่าซุง กรานกฐินในอุโบสถ
    นับถอยหลังสู่กฐินปีนี้ไปที่หลายจัง <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    เพลงพระราชนิพนธ์ของในหลวง พ.ศ. ๒๔๙๕ ค่ะ

    ยิ้มสู้
    โลกจะสุขสบายนั้นเป็นได้หลายทาง ต้องหลบหลีกสิ่งกีดขวางหนทางให้พ้นไป

    จะสบความสุขสันต์สำคัยที่ใจ สุขและทุกข์อย่างไรเพราะใจตนเอง

    ฝ่าลู่ทางชีวิตต้องเฝ้าคิดย้อมใจ โลกมืดมนเพียงใดทำใจอย่าคร้ามเกรง

    ตั้งหน้าชื่นเอาไว้ย้อมใจด้วยเพลง ไยนึกกลัวหวาดเกรงยิ้มสู้

    คนเป็นคนจะจนหรือมี ร้ายหรือดีคงมีหวังอยู่

    ยามปวงมารมาพาลลบหลู่ ยิ้มละไมใจสู้หมู่มวลเภทภัย

    ใฝ่กระทำความดีให้มีจิตโสภา สร้างแต่ความเมตตาหาความสุขสันต์ไป

    จะสบความสุขสันต์สำคัญที่ใจ เฝ้าแต่ยิ้มสู้ไปแล้วใจชื่นบาน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 กันยายน 2009
  19. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    ปูได้สมัครเข้ามาในเวบพลังจิตจะครบสองปี ตอนที่เข้ามาสมัครมีเพื่อนแนะนำให้อ่านกระทู้วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากภัยพิบัติ ก่อนที่ได้อ่านและลองทำตาม ปูกับเพื่อนได้ไปฝึกกับอาจารย์คณานันท์ ตอนนั้นที่ฝึกก็ยังไม่ได้มโน ได้แค่ลมสบาย อาจารย์บอกค่อยๆทำและขยันฝึกไป พยายามให้ทรงภาพพระ
    กลับมาฝึกที่บ้าน ช่วงนั้นสวดมนต์บทจักรพรรดิ และภาพพระตอนนั้นคือหลวงปู่ดู่,หลวงปู่โต ภาพพระพุทธเจ้ายังไม่สามารถทรงได้ หลังจากนั้นก็ได้ตามอาจารย์ไปฝึกที่สวนลุมหลายครั้ง ก็พอจะทำได้บ้างแต่ยังไม่แจ่ม ไม่เข้าใจติดขัดในข้อสงสัย อาจารย์ได้เมตตาแนะนำ ให้วางอารมณ์อย่างไร สอนทั้งเหตุและผล จนพอทำได้ หลังจากฝึกมาเรื่อยๆก็มีอยู่ช่วงหนึ่งที่ทำให้ปูเองมีปัญหา คือ มีมานะทิฐิบวกกับความดื้อ คิดว่าที่เราทำได้แล้วนั้นเราเก่ง เราแน่ คนอื่นคงสู้เราไม่ได้ จนอาจารย์และเพื่อนต้องมาเตือน มาแนะนำให้เห็นในกิเลสที่ปูเป็นอยู่ แต่ปูก็ยังมีกิเลสตัวนี้อยู่บ่อยๆ อาจารย์ก็ได้เมตตาแนะนำมาตลอดจนถึงทุกวันนี้ ถ้าหากปูไม่ได้อาจารย์ที่เมตตามาสอนมาแนะนำข้อผิดพลาดต่างๆ ป่านนี้คงหลงทางเดินทางผิดค่ะ

    และอีกเรื่องหนึ่งคือต้องขอบพระคุณอาจารย์มากๆค่ะ คือแม่ของปูนั้นท่านชอบทำบุญ ถ้ามีโอกาสจะขอร่วมทำ แต่เป็นตามวาระ พอปูได้มาเข้าร่วมงานทางกลุ่มพลังจิต ก็ทำให้มีโอกาสได้สร้างบุญสร้างกุศลมากขึ้น แรกๆแม่ไม่เข้าใจทำไมต้องทุ่มเทกับงานขนาดนี้ พออาจารย์ได้เปิดโครงการพระเจ้าองค์แสน ทำให้ปูได้มีโอกาสนำแม่และพ่อร่วมทำบุญอธิษฐานแผ่นทองเพื่อส่วนรวม และได้ร่วมโครงการพระบรมสารีริกธาตุ และให้ท่านได้ร่วมอธิษฐานอนุโมทนาทุกครั้งที่อาจารย์ไปถวายพระบรมสารีริกธาตุทางวัดต่างจังหวัด ทุกวันนี้แม่เริ่มเข้าใจและตามอนุโมทนาบุญทุกงานที่อาจารย์ทำค่ะ และท่านคิดจะไปนิพพานชาตินี้ ปูก็จะช่วยท่านให้ถึงจุดหมายค่ะ

    กราบขอบพระคุณอาจารย์มากค่ะที่ได้เมตตาแนะนำสั่งสอนให้ปูมาตลอดค่ะ
    กราบขอบพระคุณค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 กันยายน 2009
  20. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    บุญกุศลสูงสุดที่บุตรธิดา พึงตอบแทนบิดามารดาของตนนั้น

    พระท่านสอนเอาไว้ว่า แม้บวชให้ตลอดชีวิตเป็นเวลา หมื่นชาติแสนชาติก็ไม่เท่าพระคุณท่าน

    มีเพียงการน้อมนำจิตให้ท่านเข้าถึง ธรรมมาพิศมัยหรือจิตยินดีในธรรมอันเป็นเครื่องหลุดพ้น มีพระโสดาปฏิมรรคเป็นเบื้องต้น มีพระอรหันตผลเป็นที่สุด

    ดังนั้นการที่เรา มีจิตเป็นกุศลน้อมนำจนคุณแม่ มีจิตน้อมอ่อนโยนในธรรมอันเป็นเครื่องหลุดพ้นจากสังสารวัฏฏ์ จนยินดีในพระนิพพานนั้น

    ย่อมเป็นบุญเป็นกุศลสูงสุด ที่พึงปฏิบัติต่อบุพการี

    ขอโมทนาบุญและขอให้กุศลนี้ส่งผลให้ผู้เจริญในธรรมดีแล้วนั้น จงรุ่งเรืองขึ้นไปทั้งทางโลกทางธรรมด้วยเทอญ
     

แชร์หน้านี้

Loading...