ประเทศไทยจะเกิดอุบัติภัยอย่างที่ทำนายกันจริงๆหรือไม่

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย koymoo, 25 มกราคม 2005.

  1. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    เมื่อคืนรายการข่าว 3 มิติ ทางช่อง 3 เสนอเรื่องของ LHC มีรายละเอียดและให้ข้อมูลดีทีเดียวทั้งในแง่ประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น พิธีกรบอกว่าจะเกาะติดจนถึงวันเดินเครื่อง (10 กย.) โดยจะมีการถ่ายทอดสดด้วยครับ
     
  2. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    The Day After Tomorrow
    หนังทำนายอนาคตของสหรัฐอเมริกา?

    [​IMG]

    [​IMG]

    จากคำทำนายของนางจีน ดิกสัน โหรหญิงชื่อดังของสหรัฐอเมริกา ได้เคยทำนายเอาไว้ว่าอเมริกาจะมีประธานาธิปดีหญิง เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของอเมริกา ทำให้ผมสงสัยว่าใครจะได้เป็นประธานาธิปดีหญิงคนนั้น ​

    ในตอนแรกผมคิดว่าน่าจะเป็นนางฮิลลารี่ คลินตัน แต่เมื่อเธอพ่ายแพ้นายบารัค โอบาม่า จากการคัดเลือกตัวของพรรคเดโมแครต ทำให้ผมต้องหันมามองนางซาร่าห์ เพลิน ผู้สมัครชิงตำแหน่งรองประธานาธิปดีของสหรัฐอเมริกา ว่าเธอก็อาจจะได้เป็นประธานาธิปดีของสหรัฐอเมริกา​

    ถ้าสมมุติว่านายจอห์น แมคเคน ได้รับเลือกเป็นประธานาธิปดีแล้วเกิดเจ็บป่วย หรือเสียชีวิตในระหว่างดำรงตำแหน่ง 4 ปี เนื่องจากนายจอห์น แมคเคน มีอายุมากถึง 72 ปีแล้ว และตามรัฐธรรมนูญของอเมริกา ได้เขียนเอาไว้ว่าถ้าประธานาธิปดีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รองประธานาธิปดีจะต้องขึ้นมาทำหน้าที่ประธานาธิปดีแทนโดยทันที​

    ในภาพยนต์เรื่อง The Day After Tomorrow ซึ่งเป็นหนังทำนายอนาคตของอเมริกาอีกเรื่องหนึ่ง ก็กล่าวถึงประธานาธิปดีของสหรัฐอเมริกาที่เสียชีวิต ในระหว่างเกิดภัยพิบัติครั้งใหญ่ ทำให้รองประธานาธิปดีต้องขึ้นมาเป็นประธานาธิปดีแทนโดยทันที


    ***********************************************​

    มีผู้ชมการกล่าวสุนทรพจน์ของนางเพลินกว่า 37 ล้านคน

    [​IMG]

    มินนิโซตา 5 กย. - นีลเซ่น นิวส์ บริษัทจัดเรตติ้งในสหรัฐ รายงานว่า ประชาชนกว่า 37 ล้านคนได้ชมการกล่าวสุนทรพจน์ของนางซาราห์ เพลิน ในที่ประชุมใหญ่พรรครีพับลิกันเพื่อตอบรับการเป็นตัวแทนพรรคลงสมัครชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐ​

    นางเพลิน ผู้ว่าการรัฐอะแลสกา ซึ่งก่อนหน้านี้เป็นนักการเมืองที่ไม่ค่อยมีใครรู้จัก แต่กลับเป็นที่จับตามองนับตั้งแต่นายจอห์น แมคเคน เลือกเธอเป็นคู่ชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดี เรียกผู้ชมทางโทรทัศน์ได้มากเกือบเท่ากับการกล่าวสุนทรพจน์ของนายบารัค โอบามา ผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีจากพรรคเดโมแครตที่เมืองเดนเวอร์เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว

    บริษัทจัดอันดับความนิยมในสหรัฐ รายงานว่า ผู้ชมการถ่ายทอดการกล่าวสุนทรพจน์ของนางเพลิน มีจำนวน 37.24 ล้านคนเมื่อค่ำวันพุธ น้อยกว่าผู้ชมคำกล่าวสุนทรพจน์ของนายโอบามาเพียง 1.1 ล้านคนเท่านั้น นางเพลิน ปรากฏตัวในวันที่สามของการประชุมใหญ่พรรครีพับลิกัน สามารถดึงดูดผู้ชมสตรีได้เป็นส่วนใหญ่ โดยมีผู้หญิงราว 19.5 ล้านคน ได้ชมสุนทรพจน์ทางโทรทัศน์ของเธอ สำหรับกลุ่มผู้ชมการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ในค่ำวันพฤหัสบดีตามเวลาท้องถิ่นส่วนใหญ่เป็นผู้ชมที่มีอายุเกินกว่า 55 ปีขึ้นไป.-สำนักข่าวไทย

    2008-09-05 08:58:46 ​

    ที่มา http://news.mcot.net
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2008
  3. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>มะกัน-แคริเบียนผวา! 1 เฮอริเคน-2 โซนร้อนจ่อถล่มซ้ำสอง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>5 กันยายน 2551 06:08 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมพายุกุสตาฟซึ่งอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชัน (ซ้าย) และพายุโซนร้อนฮันนา (ขวา)

    เอเอฟพี – สหรัฐฯ และประเทศในทะเลแคริบเบียนเตรียมรับมือพายุเฮอริเคน 1 ลูก และพายุโซนร้อนอีก 2 ลูกที่คาดว่าจะเคลื่อนตัวเข้าพัดถล่มในอีกไม่กี่วันข้างหน้า

    เจ้าหน้าที่สหรัฐฯ กล่าวว่า พายุโซนร้อนฮันนาใกล้เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐฯ หลังพัดถล่มเฮติอย่างหนัก จนทำให้เกิดน้ำท่วม และดินถล่ม ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปแล้วอย่างน้อย 61 ราย และทำให้ผู้คนหลายพันคนไร้ที่อยู่อาศัย

    ศูนย์พายุเฮอริเคนแห่งชาติสหรัฐฯ ในเมืองไมอามี กล่าวว่า พายุโซนร้อนฮันนาอาจทวีความรุนแรงเป็นพายุเฮอริเคน ก่อนเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งสหรัฐฯ ในวันศุกร์ (5) ซึ่งอาจมีความเร็วลมเพิ่มขึ้นเป็น 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยเมื่อเวลา 18.00 น.ตามเวลากรีนิช (01.00 น.ตามเวลาในไทย) ศูนย์กลางของพายุฮันนาอยู่ห่างจากกรุงแนสซอของบาฮามาสไปทางตะวันออกประมาณ 330 กิโลเมตร และเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 22 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    ขณะที่พายุเฮอริเคนอิเกะได้ทวีกำลังเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 4 จากสูงสุด 5 ระดับขณะเคลื่อนตัวพัดผ่านทางตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติกเมื่อวันพฤหัสบดี (4) โดยเมื่อเวลา 15.00 น.ตามเวลากรีนิช (22.00 น.ตามเวลาในไทย) ศูนย์กลางของพายุอิเกะอยู่ห่างจากหมู่เกาะลีวอร์ดไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 845 กิโลเมตร และเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 26 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยมีความเร็วลมสูงถึง 220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งศูนย์พายุเฮอริเคนแห่งชาติสหรัฐฯ ระบุว่า ขณะนี้ยังไม่สามารถบอกได้ว่าพายุลูกดังกล่าวจะเคลื่อนตัวเข้าพัดถล่มพื้นที่ใดของสหรัฐฯ

    นอกจากนี้ยังมีรายงานพายุลูกที่ 3 ซึ่งก็คือพายุโซนร้อนโจเซฟีนที่กำลังเคลื่อนตัวด้วยความเร็ว 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทางตะวันออกของมหาสมุทรแอตแลนติก ห่างจากหมู่เกาะเคป เวอร์ดไปทางตะวันตกประมาณ 840 กิโลเมตร

    ทั้งนี้พายุทั้ง 3 ลูกเกิดขึ้น หลังพายุเฮอริเคนกุสตาฟเคลื่อนตัวพัดถล่มหลายประเทศในทะเลแคริบเบียน และชายฝั่งอ่าวเม็กซิโกของสหรัฐฯ โดยเฉพาะเมืองนิวออร์ลีนส์ รัฐลุยเซียนา รวมถึงพายุโซนร้อนเฟย์ที่พัดถล่มประเทศในแคริบเบียนและรัฐฟลอริดาของสหรัฐฯ ในช่วง 1-2 สัปดาห์ที่ผ่านมา

    ที่มา http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9510000105114
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. เมิล

    เมิล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    421
    ค่าพลัง:
    +3,132
    เมื่อเช้าพี่ ๆ ที่ทำงานรวบรวมเหรียญสตางค์มาเพิ่มอีกคะ เลยส่งไปทาง EMS แล้วเมื่อเช้านี้ น้ำหนัก 1 ขีด 80 กรัม แล้วก็มีต่างหูทองด้วย

    ;aa30
     
  5. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    ชิลีเผชิญพายุฝนกระหน่ำรุนแรงที่สุดในรอบ 30 ปี

    [​IMG]

    ซานติอาโก 5 ก.ย. - ทีมกู้ภัยฉุกเฉินใช้เฮลิคอปเตอร์ออกช่วยเหลือประชาชนเกือบ 100,000 คน ที่ได้รับความเดือดร้อนจากพายุฝนกระหน่ำครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 30 ปี ทางภาคใต้ของชิลี ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 4 คน

    พายุฝนกระหน่ำพื้นที่ทางใต้ของกรุงซานติอาโก มาตั้งแต่เมื่อวันเสาร์ ทำให้บ้านเรือนเสียหายอย่างน้อย 10,000 หลัง ขณะที่น้ำในแม่น้ำและลำคลองเอ่อล้นตลิ่ง ท่วมถนนหลายสาย และพื้นที่การเกษตรกว่า 1.2 ล้านไร่ ศูนย์ฉุกเฉินแห่งชาติของชิลี รายงานว่าในจำนวนผู้เสียชีวิต 4 คน มีผู้หญิงคนหนึ่งที่ถูกบ้านพังทับ ขณะที่อีก 3 คน จมหายไปกับกระแสน้ำ ประธานาธิบดีมิเชล บาเชเลต ประกาศให้เป็นเขตภัยพิบัติแล้วขณะตรวจเยี่ยมพื้นที่ประสบภัยเมื่อวันพุธ แม้ปริมาณฝนลดลงแล้วเมื่อช่วงกลางสัปดาห์ แต่คาดว่ามีพายุลูกใหม่จะเข้ามาถล่มซ้ำในพื้นที่ดังกล่าวสุดสัปดาห์นี้.-สำนักข่าวไทย

    2008-09-05 09:21:00

    ชิลีน้ำท่วมหนัก มีผู้เสียชีวิตแล้ว 8 คน

    [​IMG]

    ชิลี 5 ก.ย. - ทางการชิลีประกาศภาวะฉุกเฉินในพื้นที่ทางภาคใต้ของประเทศ ซึ่งได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมอันเนื่องมาจากฝนตกหนัก จนทำให้มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 8 คน

    พายุฝนที่ตกลงมาอย่างหนักติดต่อกันนาน 40 ชั่วโมง เมื่อช่วงต้นสัปดาห์ ซึ่งถือว่าหนักที่สุดในรอบ 30 ปี ส่งผลให้ระดับน้ำในแม่น้ำตรันคูล่า ล้นตลิ่งทะลักเข้าท่วมบ้านเรือนในเมืองเตมูโก จังหวัดลา อาเราคาเนีย ห่างจากกรุงซานติอาโกไปทางใต้ 500 กิโลเมตร ชาวบ้านกว่า 23,000 คน ต้องอพยพจากบ้านเรือน เจ้าหน้าที่กู้ภัยต้องใช้เฮลิคอปเตอร์เดินทางไปยังพื้นที่หลายหมู่บ้านที่ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก เพื่อแจกจ่ายสิ่งของบรรเทาทุกข์ช่วยเหลือประชาชน แต่ในหลายพื้นที่ไม่สามารถเดินทางไปถึงได้ เนื่องจากไม่มีที่ให้เฮลิคอปเตอร์ลงจอด จนต้องใช้เรือเป็นพาหนะแทน

    ขณะที่ประธานาธิบดีมิเชล บัชเลต์ เดินทางไปตรวจเยี่ยมพื้นที่ประสบภัย และว่ารัฐบาลพร้อมให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยเต็มที่. -สำนักข่าวไทย

    2008-09-05 04:09:10

    ผู้ประสบวาตภัยในเฮติทั้งเศร้าและหิวโหย

    [​IMG]

    โกนาอีฟส์ 5 ก.ย. - ผู้รอดชีวิตจากพายุโซนร้อนฮันนาซึ่งแออัดกันอยู่ในที่พักชั่วคราวที่เมืองโกนาอีฟส์ของเฮติเมื่อวานนี้ ต่างร่ำไห้เสียใจต่อการจากไปของญาติมิตรที่ถูกกระแสน้ำท่วมพัดพาไป และพากันเข้าแถวรอลงชื่อรับอาหารที่ยังไม่ได้รับการจัดสรรมา

    ผู้ประสบภัยส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับอาหารเลย นับตั้งแต่พายุฮันนากระหน่ำเมืองโกนาอีฟส์ ทำให้น้ำท่วมสูง 2 เมตร ตั้งแต่วันอังคาร บางคนมีเพียงเสื้อผ้าติดตัวมาเท่านั้น แต่บางคนไม่เหลืออะไรเลย มีรายงานผู้เสียชีวิต 136 คน จากน้ำท่วมและดินถล่มเพราะพายุฮันนา โดยที่เมืองโกนาอีฟส์ เพียงแห่งเดียวมีผู้เสียชีวิตกว่า 100 คน ชาวบ้านหลายคนในเมืองนี้รอดชีวิตมาได้เพราะหนีขึ้นไปอยู่บนหลังคาขณะน้ำท่วมสูง และอพยพไปอาศัยยังที่พักชั่วคราวหลังกระแสน้ำลดลง.- สำนักข่าวไทย

    2008-09-05 09:14:39

    สหรัฐขอให้เกาหลีเหนือเผยแผนนิวเคลียร์ทั้งหมด

    [​IMG]

    วอชิงตัน 5 กย. - ทำเนียบขาวสหรัฐ แถลงว่า สหรัฐหวังว่าการเจรจาเรื่องนิวเคลียร์เกาหลีเหนือที่กรุงปักกิ่งของจีน จะได้ทราบความเคลื่อนไหวของเกาหลีเหนือเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมดอย่างละเอียด

    นางเดน่า เปริโน โฆษกทำเนียบขาวสหรัฐ กล่าวต่อผู้สื่อข่าวด้วยว่า สหรัฐต้องการส่งสารไปยังรัฐบาลเกาหลีเหนือว่า สหรัฐยังคงแผนการที่จะตอบแทนเกาหลีเหนือ หากเกาหลีเหนือยอมยุติโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมดตามที่ได้ตกลงกันไว้ ก่อนหน้านี้ เกาหลีเหนือประกาศว่า อาจพิจารณาเดินเครื่องปฏิกรณ์ที่โรงงานนิวเคลียร์เมืองยองเบียนอีกครั้ง เนื่องจากสหรัฐไม่ทำตามข้อตกลงที่ให้ถอดเกาหลีเหนือออกจากบัญชีดำรายชื่อประเทศที่สนับสนุนการก่อการร้าย.-สำนักข่าวไทย

    2008-09-05 09:12:39

    พบน้ำแข็งเกาะระบบเชื้อเพลิงทำเครื่องบริติช แอร์เวย์ตก

    [​IMG]

    อังกฤษ 5 ก.ย. - รายงานการสอบสวนชี้ว่า เครื่องบินโดยสารของสายการบินบริติช แอร์เวย์ ที่ประสบอุบัติเหตุตกที่สนามบินฮีทโธรว์ เมื่อเดือนมกราคม เกิดจากมีน้ำแข็งเกาะในระบบเชื้อเพลิง

    เจ้าหน้าที่สืบสวนอุบัติเหตุทางอากาศของอังกฤษเชื่อว่า น้ำแข็งที่เกาะในระบบเชื้อเพลิงทำให้การไหลของน้ำมันเชื้อเพลิงลดต่ำลง ส่งผลให้เครื่องยนต์ดับก่อนที่จะลงจอดที่สนามบินไม่ถึง 1 นาที เบื้องต้นยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเกิดน้ำแข็งเกาะในระบบเชื้อเพลิงของเครื่องบินได้อย่างไร แต่คาดว่าน้ำแข็งน่าจะก่อตัวขึ้นช่วงที่เครื่องบินบินผ่านน่านฟ้าเหนือดินแดนไซบีเรีย เนื่องจากเครื่องบินลำดังกล่าวเดินทางมาจากกรุงปักกิ่งประเทศจีน มุ่งหน้ากรุงลอนดอน

    ทั้งนี้ นักบินสามารถนำเครื่องบินโบอิ้ง 777 ลำดังกล่าวลงจอดอย่างปลอดภัย แม้เครื่องบินจะลื่นไถลออกนอกรันเวย์ของสนามบินฮีทโธรว์ไปหลายร้อยเมตร จนเครื่องบินพังเสียหายอย่างหนัก แต่ผู้โดยสารทั้ง 136 คน และลูกเรือ 16 คนปลอดภัย. -สำนักข่าวไทย

    2008-09-05 03:03:58

    ผู้เชี่ยวชาญชี้นางเพ-ลิน ช่วยเรียกคะแนนกลุ่มอนุรักษ์นิยมให้แมคเคน

    [​IMG]

    เซนต์ปอล, รัฐมินนิโซตา 4 ก.ย.- ผู้เชี่ยวชาญระบุว่า นางแซราห์ เพ-ลิน เป็นแรงบวกให้แก่พรรครีพับลิกันในการชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียกคะแนนจากกลุ่มอนุรักษ์นิยมที่บางครั้งไม่เห็นด้วยกับนายจอห์น แมคเคน

    นางเพลิน ผู้ว่าการรัฐอะแลสกา เป็นสตรีคนที่ 2 ที่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคการเมืองใหญ่ให้ชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐ คนแรกคือนางเจอรัลดีน เฟอร์ราโร ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคเดโมแครต เมื่อปี 2524 ผู้เชี่ยวชาญหลายคนชี้ว่า นางเพลินเป็นแรงบวกให้แก่พรรครีพับลิกัน เธอจะช่วยให้พรรคได้เปรียบอย่างมากในรัฐทางตะวันตก เช่น โคโลราโด เนวาดา และนิวเม็กซิโก ที่แสดงท่าทีจะเทคะแนนให้แก่นายบารัค โอบามา จากพรรคเดโมแครต

    นายเมอร์ลี แบล็ค อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีโมรีในเมืองแอตแลนตา ระบุว่า นางเพลินจะกลายเป็นจุดสนใจที่ดึงดูดผู้คนได้เป็นจำนวนมากไม่ว่าจะไปปรากฏตัวที่ใด เธอได้ปลุกเร้าฐานเสียงของพรรครีพับลิกันให้ตื่นตัวอย่างมากในลักษณะที่ไม่เคยมีสมาชิกพรรคคนใดทำได้มาก่อนนับตั้งแต่หมดยุคของอดีตประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน

    ด้านนายวิน เวเบอร์ นักวางกลยุทธ์ของพรรครีพับลิกัน กล่าวว่า การที่นางเพลินได้รับความสนใจอย่างมากมายในช่วงหลายวันมานี้บ่งชี้ว่าการเลือกผู้สมัครคู่ลงชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีมีความหมายมากกว่าในอดีตที่ผ่านมา.-สำนักข่าวไทย

    2008-09-04 16:45:37

    ที่มา http://news.mcot.net
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2008
  6. Bacary

    Bacary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    1,211
    ค่าพลัง:
    +23,196
  7. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    กำหนดการถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียม การเดินเครื่อง LHC ในวันที่ 10 กย. ครับ

    Summary of CERN Broadcast for LHC First Beam Day

    On 10 September scientists at CERN in Geneva, Switzerland will attempt for the first time to circulate a beam in the Large Hadron Collider. The LHC is the world’s most powerful particle accelerator, and will produce beams seven times more energetic, and around 30 times more intense than any previous machine when it reaches design performance.

    Nine hours of live satellite broadcast and webcast will be available from CERN on 10 September. Coverage will be centered at the CERN Control Centre, the main hub of activity as scientists attempt to circulate the first beam. All the controls for the LHC and it's pre-accelerators, their services and technical infrastructure are housed in the CCC, and from there accelerator operators inject the beams and steer them around the 27-kilometer ring. Viewers will see activity in the CCC and hear interviews with LHC scientists and engineers, past and present notable CERN personalities, and Nobel laureates in physics.The first attempt to circulate an LHC beam will begin just after 9:00. Briefings from the
    CCC will take place hourly starting at 10:00, followed by coverage of Q&A sessions with journalists at CERN for the event. Viewers will also visit the control rooms for the four main LHC experiments, see scientists in the U.S. following the events in their pajamas, and view pre-recorded clips, animations and interviews. As this is a live event, all times are subject to change. If a briefing is delayed due to activity in the CERN Control Centre, mention will be made in the audio commentary and/or a message will be posted on-screen at the scheduled briefing time. If the startup is delayed, a program of visits and interviews with scientists will be arranged for visiting media. The list below covers notable events during the day. At other times coverage will alternate between live events in the CCC and pre-recorded material. All times are CEST
    (Central European Summer Time), UTC/GMT + 2 hours.

    9:00 Live satellite broadcast and webcast begin with an introduction from the
    commentators in the CERN Control Centre, an animation showing the passage of
    a beam through the LHC, and highlights of the LHC operators’ daily meeting
    where they lay out the procedure for getting the first beam circulating in the LHC.

    9:06 Coverage begins of the first attempt to circulate a beam in the LHC. Lyn Evans, LHC project leader, will narrate the proceedings from the CERN Control Centre. Video of accelerator operators at work in the CCC will alternate with views of the LHC apparatus in its tunnel 100 meters underground.

    10:00 Briefing in English by Lyn Evans, LHC Project Leader. The three-minute briefing will be followed by coverage of 10 minutes of Q&A between Lyn Evans and journalists at CERN for the event.

    10:13 Tour of the control rooms of the four major LHC experiments: LHCb, CMS,
    ALICE and ATLAS. Viewers will see activity in each control room, and hear
    scientists from each experiment speak about their experiment and experiences
    during the first beam day. (duration 12:00)

    10:25 Back to the CERN Control Centre for continuing coverage of the first beams in the Large Hadron Collider.

    11:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    11:30 Visit by videoconference to Fermi National Accelerator Laboratory, near
    Chicago, Illinois, USA. Fermilab, which contributes to construction and operation
    of the LHC and CMS experiment, will host a pajama party in the middle of the
    night for scientists, media, VIPs and members of the public to follow the events at CERN live as they happen.

    11:45 Video clips from other particle physics institutes worldwide that contributed to LHC construction. (Pre-recorded)

    11:56 Highlights from the morning’s activities in the CERN Control Centre. (duration 4:00)

    12:00 Press Conference in English and French with CERN Director General Robert
    Aymar and LHC Project Leader Lyn Evans. Statements by Director General
    Aymar and LHC Project Leader Evans will be followed by 20 minutes of Q&A
    with journalists at CERN for the event.

    12:25 Visit the LHCb experiment, possibly the first experiment to see evidence of beam in the LHC on 10 September. A five-minute pre-recorded clip explaining the LHCb experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the LHCb control room and interviews with LHCb scientists.

    12:45 Movie: The Time Machine: The LHC Adventure is a Journey Through Time.
    (Pre-recorded, duration 11:00)

    13:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    13:13 Visit the CMS experiment. A five-minute pre-recorded clip explaining the CMS experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the CMS control room and interviews with CMS scientists.

    14:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    14:24 Visit the ALICE experiment. A five-minute pre-recorded clip explaining the
    ALICE experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the
    ALICE control room and interviews with ALICE scientists.

    14:45 Highlights from the day’s activities in the CERN Control Centre. (duration 3:00)

    15:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    15:20 Visit the ATLAS experiment. A five-minute pre-recorded clip explaining the
    ATLAS experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the
    ATLAS control room and interviews with ATLAS scientists.

    15:50 Highlight footage of the day’s activities at CERN. (duration 10:00)

    16:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    16:24 Tour of the control rooms of the four major LHC experiments: LHCb, CMS,
    ALICE and ATLAS. Viewers will see activity in each control room, and hear
    scientists from each experiment speak about their experiment and experiences
    during the first beam day.

    17:30 Briefing in English with Lyn Evans, LHC Project Leader. The five-minute
    briefing will be followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the
    event.

    17:45 Highlight footage of the day’s activities at CERN. (duration 15:00)

    18:00 End of satellite broadcast and webcast.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2008
  8. เมืองแก้ว

    เมืองแก้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    58
    ค่าพลัง:
    +539
    กรณีที่มีคำถามของ ข้อความที่ 11478 และ 11479 เรื่องน้ำแข็งละลายแล้วปริมาตรน้ำไปอยู่ที่ไหน?<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ก่อนอื่นต้องเริ่มเรื่องวิทยาศาตร์สมัยเด็กก่อนกันลืม คือ น้ำจำนวนเดียวกันเมื่อกลายเป็นน้ำแข็งจะมีปริมาตรมากขึ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือมีความหนาแน่นน้อยกว่าเดิมในขณะเป็นน้ำจึงเป็นเหตุผลให้น้ำแข็งสามารถลอยน้ำได้ ดังนั้นไม่ว่าน้ำแข็งก้อนนั้นหรือผืนนั้นจะมีขนาดใหญ่ หรือมีส่วนที่สูงเกินกว่าระดับน้ำทะเลที่ก้อนน้ำแข็งนั้นลอยอยู่เพียงใดก็ตาม เมื่อก้อนน้ำแข็งละลายแล้วจะไม่ทำให้มีปริมาตรน้ำที่มันลอยอยู่เปลี่ยนแปลงปริมาตรไปเลย ดังนั้นแพน้ำแข็งบนทะเลที่อาจจะสูงจากผิวน้ำถึง 2-300 เมตรขนาดใหญ่มหึมาเมื่อละลายแล้วกลับไม่ทำให้น้ำทะเลมีปริมาตรมากขึ้น<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    แตกต่างกับน้ำแข็งที่วางตัวบนที่รองรับอื่นๆไม่ได้ลอยน้ำอยู่เช่น กรณีน้ำแข็งที่อยู่บนยอดเขาต่างๆ กรณีที่เป็นแผ่นน้ำแข็งวางอยู่บนพื้นดินที่เป็นเกาะ (เหมือนกับการกักเก็บน้ำโดยเขื่อนเก็บน้ำ เพียงแต่กรณีนี้เก็บในรูปของน้ำแข็งโดยไม่ต้องสร้างกำแพงกันน้ำ) น้ำแข็งแบบนี้เมื่อละลายลงสู่ทะเลจะเพิ่มปริมาตรน้ำในทะเล<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    การที่มีข่าวเรื่องแพน้ำแข็งในขั้วโลกเหนือละลาย น้ำที่ละลายนี้จะไม่กระทบปริมาตรน้ำในทะเล แต่ใช้เป็นกรณีชี้วัดสภาพอากาศของโลกที่ร้อนขึ้นเท่านั้น<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    น้ำแข็งส่วนใหญ่ที่น่าห่วงจะเป็นผืนใหญ่ทางซีกโลกใต้บริเวณขั้วโลกที่เป็นน้ำแข็งวางบนเกาะ ส่วนน้ำแข็งทางขั้วโลกเหนือจะมีก็กรณีของน้ำแข็งบนเกาะไอซ์แลนด์ที่จะกระทบปริมาตรน้ำทะเล น้ำแข็งที่อยู่บนพื้นดินทางตอนบนของรัสเซีย จีน และยุโรปตอนเหนือ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    กลัวก็แต่ปริมาตรน้ำที่คุณ หนุมานพูดถึง ซึ่งอันนี้เกินความสามารถผมที่จะรับรู้ได้ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    แต่ถ้าเป็นคนพุทธ ก็คงจะเคยได้ยินเรื่อง พระพุทธเจ้า ห้า พระองค์ ตอนนี้เราอยู่ในระยะของพระพุทธเจ้าองค์ที่ 4 ก็แสดงว่าโลกนี้เคยมีคนอยู่(ไม่รู้เหมือนเราหรือเปล่า)มาแล้วหลายรุ่น ผมเองยังไม่เคยได้เห็นซากโบราณไม่ว่าคน หรือเมืองที่อาจจะอ้างอิงกลับไปสมัย พระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆเลย(ถ้าใครรู้เพิ่มขอแจ้งผมทราบด้วยครับ) ยกเว้นที่มีพูดถึงคือ พระพุทธบาทสี่รอยที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งถ้าเรื่องนี้จริงก็แสดงว่าคนสมับก่อนก็เคยหายไปจากโลกแล้ว ไม่ว่าเราจะกลัวน้ำท่วมโลก กลัวโลกแตก กลัว อุกาบาต กลังสงครามนิวเครียส์ ผมเชื่อว่าสมัยก่อนเขาก็กลัวเหมือนกัน สมัยก่อนปัญญาก็น่าจะไม่ใช่ด้อยกว่าเราในยุคนี้ สุดท้ายก็หนีไม่พ้นครับ มันเป็นของมันอย่างนั้น มันเป็นของมันอย่างนั้น มันเป็นของมันอย่างนั้น มันเป็นธรรมชาติ <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ทำให้ดีที่สุดในวันนี้ ให้เราได้เคารพตัวเองมากที่สุดที่ทำได้แต่อย่าให้อัตตามันกินคุณก็พอ<o:p></o:p>
     
  9. เมตตานำ

    เมตตานำ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2
    ค่าพลัง:
    +0
    ไม่รู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นกับเขื่อนที่จีน หรือน้ำแข็งขั้วโลกหรือเปล่าแต่แผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดยนาซ่า วันนี้ดูแปลก ช่วยกันดูหน่อยสิ
    http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html
     
  10. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    [​IMG]
    ทางช้างเผือก

    ปัจจุบัน...น้ำแข็งจากทางช้างเผือก

    ถูกนำมาเติมลงบนโลกแล้ว

    เพื่อให้ครบส่วนจากการขาดหายไปในอดีต

    ปริมาณน้ำบนโลกจึงมากขึ้น โลกจักสมบูรณ์ยิ่งในอนาคต

    หลังจากการเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพของโลกมนุษย์ครั้งยิ่งใหญ่

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "

    ที่มาhttp://www.palungjitrescuedisaster.com/showthread.php?p=6674

    น้ำ

    นักวิทยาศาสตร์พบว่า ดาวเคราะห์น้อยประเภทมีส่วนประกอบของสารประกอบคาร์บอน จะมีน้ำอยู่ตั้งแต่ประมาณ 1-20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักทั้งหมดของ ดาวเคราะห์น้อยประเภทนี้ การค้นพบเรื่องนี้จึงหมายความว่า ในอวกาศมีน้ำอยู่มากมายเกิดคาดหมาย และการแยกเอาน้ำออกมาใช้เป็นเรื่องง่าย ๆ

    ที่มา เว็บไซต์ดูดาวดอทคอม
    http://www.doodaw.com/article/index.php?topic=treasure226

    ทางช้างเผือก

    ทางช้างเผือก หรือกลุ่มของแสงสีขาวสลัวที่ปรากฏบนท้องฟ้า คือดาวฤกษ์จำนวนมากที่อยู่ไกลมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นเป็นดวง กาลิเลโอเป็นคนแรกที่ใช้กล้องโทรทรรศน์ดูทางช้างเผือก หากเราใช้กล้องสองตาที่มีคุณภาพดีหรือกล้องโทรทรรศน์ส่องดูทางสีขาวสลัว ที่เรียกว่าทางช้างเผือกนี้ จะเห็นเป็นจุดของแสง คือ ดาวฤกษ์จำนวนมากมาย หากเราสังเกตแถบทางช้างเผือกในท้องฟ้าจะเห็นเป็นแถบขาวสลัวจากท้องฟ้าด้านเหนือผ่านกลางท้องฟ้า เวียนไปท้องฟ้าซีกใต้ แล้วเวียนรอบผ่านกลางท้องฟ้าไปท้องฟ้าซีกเหนืออีก กล่าวได้ว่าจะเห็นทางช้างเผือกพาดผ่านกลุ่มดาวต่างๆ เป็นแถบสีขาวสลัวไม่กว้างนัก เวียนไปเกือบรอบทรงกลมของท้องฟ้าคล้ายเข็มขัดคาดผ่านทรงกลมของท้องฟ้า

    ที่มา http://www.wny.ac.th/WEB_TCH/MAYUREE/Garlaxy/Garlaxy.html
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. maijan

    maijan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +101
    เคยดูสารคดี เรื่องการขุดหาโบราณวัตถุ ในประเทศจีน ได้มีการค้นพบ เมืองที่มีอารยธรรมในช่วงเวลาที่ห่างกันหลายร้อยหลายพันปี ซ้อนกันอยู่หลายวัฒนธรรม โดยมีความลึกห่างกันหลายสิบเมตร ใต้แผ่นดินในบริเวณเขื่อน3โตรก โดยแต่จะเจนเนอเรชั่น มีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ ก็ยังไม่รู้ว่าคือชนชาติใด แต่มีการสร้างบ้านเมืองที่ต่างกัน ในระดับความลึกใต้ดินที่ต่างระดับกัน ซ้อนกันเป็นชั้นๆ แสดงว่า มีอารยะธรรมอื่นๆที่โดนภัยพิบัติ จนจมอยู่ใต้ดิน แล้วเกิดอารยะธรรมใหม่เกิดขึ้นบนผืนดินทับซ้อนอารยธรรมด้านล่างอยู่เสมอ ไม่แน่ว่าใต้แผ่นดินที่เราอยู่ก็อาจจะมีร่องรอยอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองในอดีตเช่นกัน
     
  12. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    น่าจะเป็นภาพแสดงปริมาณของน้ำและน้ำฝน ที่ตกอย่างหนาแน่นในบริเวณ สีแดงและสีส้มของภาพครับ ซึ่งมีโอกาสเป็นไปได้ที่จะเกิดน้ำท่วมสูงในบริเวณดังกล่าว จากภาพถ่ายดาวเทียมเมื่อ 2 สัปดาห์ที่แล้ว, 3 วันที่แล้ว และ 24 ชั่วโมงที่แล้วมาครับ

    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (168 ชั่วโมง)
    [​IMG]

    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (72 ชั่วโมง)
    [​IMG]

    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (24 ชั่วโมง)
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • weekly_2.JPG
      weekly_2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      75.5 KB
      เปิดดู:
      4,690
    • tri_day_2.JPG
      tri_day_2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      75.8 KB
      เปิดดู:
      3,887
    • instant_2.JPG
      instant_2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      77 KB
      เปิดดู:
      3,336
  13. kowmoo

    kowmoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    331
    ค่าพลัง:
    +1,896
    เวลาเข้ามาในนี้ นึกถึงเรื่องโดราเอมอนทุกตอนเลยคนเขียนเสียชีวิตแล้วหรือยังไม่ทราบ แต่เรื่องราวของเค้าสะท้อนถึงปัจจุบันได้ดีมากๆ มีภัยที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์แล้วก็ถูกเอาคืนจากธรรมชาติ จนต้องพากันไปอยู่ในทะเล
     
  14. Lazaza

    Lazaza เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +5,549

    สรุปว่าจะได้เดินเครื่อง LHC จริงๆเหรอคะ
    เทียบเวลาบ้านเรา คงจะ 911 (11 ก.ย.)
    ครบรอบ 7 ปีพอดี
    กลัวจะได้ ground zero อีกอันจริงๆเลย
     
  15. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    การพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันทางสาธารณสุข บทเรียนร่วมกันของอุทกภัยหาดใหญ่ ปี 2543: เมื่อ รพศ.หาดใหญ่ถูกน้ำท่วม
    ชีวิตนับแสนคนต่างได้ร่วมทุกข์ร่วมกันแต่สิ่งสำคัญประการหนึ่งคือเราได้เรียนรู้ร่วมกันถึงภาวะที่ต้องพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกัน
    ภัยพิบัติครั้งร้ายแรงของหาดใหญ่ปลายเดือนพฤศจิกายน 2543 เกิดผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งในทันทีและต่อเนื่อง หากไม่ได้ร่วมทุกข์ด้วยกันในภาวะพิบัติครั้งนี้ คงยากที่จะมีความรู้สึกร่วมกันถึงสิ่งที่เกิดขึ้น อุทกภัยครั้งนี้รุนแรงเป็น 2 เท่าของปี 2531 ย่านตลาดกิมหยงแหล่งซื้อหาของกินของใช้ที่นักท่องเที่ยวนิยมน้ำท่วม 2 – 3 เมตร น้ำท่วมครั้งนี้ยาวนาน 3 – 7 วัน ขาดไฟฟ้าขาดน้ำกินน้ำใช้และอาหาร ในพื้นที่ 20 กว่าตารางกิโลเมตร ประชากรเกือบ 200,000 คน คนจำนวนไม่น้อยบ้านชั้นเดียวของเขาถูกน้ำท่วมจมหายไปขาดทั้งที่อยู่อาศัยและ ทรัพย์สิน ชีวิตนับแสนคนต่างได้ร่วมทุกข์ร่วมกันแต่สิ่งสำคัญประการหนึ่งคือเราได้ เรียนรู้ร่วมกันถึงภาวะที่ต้องพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันเพื่อให้ผ่านพ้น วิกฤตในครั้งนี้และในอนาคต
    1. เมื่อโรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ถูกน้ำท่วม
    อำเภอหาดใหญ่ มีลักษณะพิเศษทางระบบบริการสาธารณสุขหลายประการจากจำนวนประชากรในเขตเทศบาล นครหาดใหญ่ประมาณ 150,000 คน นอกเขต 150,000 คน และผู้ไม่ได้ขึ้นทะเบียนรวมทั้งผู้เดินทางเข้าออกแต่ละวันอีกกว่า 200,000 คน อำเภอนี้ไม่มีโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่เป็นทั้งโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลประจำอำเภอ มีโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีโรงพยาบาลเอกชนอีก 3 – 4 แห่ง มีโรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ มีคลินิกเอกชนกว่า 100 แห่ง แต่ที่พิเศษคือมีศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่ อีก 15 แห่ง ซึ่งนอกเวลาราชการมีแพทย์จากโรงพยาบาลหาดใหญ่ไปร่วมให้บริการ 5 แห่ง
    แต่เมื่อน้ำท่วมหาดใหญ่ โรงพยาบาลหาดใหญ่ซึ่งเมื่อปี 2531 พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับผลกระทบนอกจากคลังยาซึ่งอยู่ใต้ดิน ปีนี้น้ำท่วมโรงพยาบาลหาดใหญ่จนถึง OPD และ ER ซึ่งสูงกว่าระดับพื้นดินเกือบ 1.5 เมตร พร้อมกับน้ำท่วมโครงสร้างพื้นฐานของเมืองและตัวเมืองลงไปเกือบ 2 – 3 เมตร อาจจะเรียกได้ว่ามีเพียงโรงพยาบาลสงขลานครินทร์และโรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ เป็นเพียง 2 โรงพยาบาลกับสถานพยาบาลระดับคลินิกหรือศูนย์บริการสาธารณสุขอีกไม่กี่แห่ง ที่รอดพ้นจากน้ำท่วมครั้งนี้
    3 นาฬิกาหลังเที่ยงคืนวันที่ 21 พฤศจิกายน 2543 พยาบาลและเจ้าหน้าที่ที่พักในโรงพยาบาล ถูกระดมกันมาขนยาจากคลังยาชั้นใต้ดิน เจ้าหน้าที่ชายช่วยกันขนกระสอบทรายไปปิดทางลงชั้นใต้ดิน ตึกอุบัติเหตุใหม่ซึ่งเป็นห้องควบคุมระบบไฟฟ้าของตึกใหม่
    6 นาฬิกา น้ำท่วมเลยขอบกั้นของชั้น 1 น้ำเข้าคลังยาใหญ่ แต่เราขนได้เกือบ 60 เปอร์เซ็นต์ มากระจัดกระจายอยู่ตึกอำนวยการชั้น 1
    7 นาฬิกา มีเสียงเรียกใครเป็นผู้ชายไปช่วยขนกระสอบทรายจากห้องควบคุมมากั้นน้ำที่โรง ไฟฟ้าเก่าเพราะน้ำสูงเกินที่จะกันที่ตึกใหม่ได้แล้ว
    9 นาฬิกา หลังจากทุ่มเทปกป้องจุดวิกฤต น้ำเริ่มทรงตัว หาดใหญ่น้ำท่วมหมดแล้ว ผู้มีประสบการณ์น้ำท่วมปี 2531 บอกว่าน้ำท่วมเท่ากับปี 2531 แล้ว ไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคดับ น้ำประปาหยุดไหล โทรศัพท์ไม่สามารถใช้งานได้ ถัดจากนั้นอีกครึ่งชั่วโมง ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินของโรงพยาบาลขัดข้อง
    10 นาฬิกา ความไม่แน่ใจว่าระบบไฟฟ้าจะแก้ไขได้หรือไม่ ICU เปลี่ยนเครื่องช่วยหายใจเป็น Bird คลังเลือดเตรียมขนย้ายเลือดไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คนไข้หนักที่ยังต้องใช้เครื่องช่วยหายใจที่ใช้ระบบไฟฟ้าเตรียมส่งโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ การเดินทางถูกตัดขาด เรือไม่สามารถเข้าโรงพยาบาลได้เพราะน้ำเชี่ยว รถบรรทุกของทหารได้รับการติดต่อ ทีมทหารถูกส่งเข้ามา เราเปิดประตูทางด้านหลังซึ่งรถชนิดพิเศษซึ่งสูงจากพื้นดินเกือบ 1.5 เมตรเข้ามาได้
    11 นาฬิกาถึงเที่ยง เรี่ยวแรงที่ยังมีอยู่ของคนที่สามารถเข้ามาทำงานได้หรือตกค้างจากเมื่อคืน ถูกระดมกันเพื่อเลือกทางรอดที่ดีกว่าให้ผู้ป่วย การลำเลียงโดยทางรถจึงเริ่มขึ้นจนเสร็จสิ้น
    ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินถูกซ่อมแซมและดูเหมือนว่าจะใช้ได้อีกครั้ง ระดับน้ำเริ่มทรงตัว เราหวังว่าน้ำจะลด คนขับรถเตรียมรถแลนด์รุ่นเก่าซึ่งเราเตรียมไว้ออกหน่วยช่วยผู้ประสบอุทกภัย ออกมาเพื่อออกไปติดต่อหาน้ำมันมาใช้กับระบบไฟฟ้าสำรอง เพราะคาดว่าการไฟฟ้าคงหยุดจ่ายไฟต่อเนื่องอีก 1 – 2 วัน (ในความจริงไฟฟ้าถูกจ่ายอีก 5 วันถัดมา) เราหวังว่าน้ำจะลด แต่คงต้องเตรียมการไว้ก่อน รถพอจะวิ่งไปได้โดยยึดกลางถนน ระดับน้ำทรงตัวผู้คนเริ่มเดินไปมาหาสู่กันแต่เราพบว่าหาดใหญ่ได้จมลงใต้น้ำ แล้ว ปั๊มน้ำมันต่าง ๆ ถูกน้ำท่วม รถน้ำมันซึ่งต้องมาส่งให้โรงพยาบาลติดอยู่นอกเมือง หน่วยงานต่าง ๆ แม้แต่ดับเพลิงหรือกู้ภัยจมอยู่ใต้น้ำ เรากลับโรงพยาบาลและหวังว่าน้ำจะลด เราคงต้องช่วยตัวเอง ตลอดทางแม้ว่าเป็นวันแรกหลายคนเริ่มพบกับความยากลำบากทั้งการหาอาหารและความ เจ็บไข้ไม่สบายของเขา สถานพยาบาลที่ไม่ถูกน้ำท่วมก็ห่างไกลออกไป โรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งอยู่ใจกลางเมืองก็อยู่กลางน้ำเช่นกัน เรายังหวังว่าน้ำจะลดอย่างไรก็ตามเราเปิดประตูด้านหลังให้คนป่วยสามารถเดิน ทะลุมายังตัวโรงพยาบาลซึ่งยังคงเปิดห้องฉุกเฉินทำการตลอดเวลา ตั้งแต่เช้าเชือกถูกขึงด้านหน้าโรงพยาบาลไว้เพื่อให้คนไต่เข้ามา ชุดชูชีพที่กลุ่มงานเวชกรรมสังคมเตรียมไว้ในการออกหน่วยช่วยผู้ประสบอุทกภัย ถูกนำมาให้เจ้าหน้าที่ที่คอยไปรับคนหน้าโรงพยาบาลเรายังหวังว่าจะเป็นส่วน หนึ่งของการบรรเทาทุกข์ให้คนหาดใหญ่
    ตั้งแต่เย็นวันที่ 22 พฤศจิกายน 2543 เราได้ประสบกับความรู้สึกร่วมกันการพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันในหมู่ผู้ ร่วมทุกข์กันในโรงพยาบาลทั้งผู้ป่วย ญาติและเจ้าหน้าที่ เมื่อเย็นนั้นน้ำเริ่มขึ้นอีกครั้ง โดยไม่มีทีท่าว่าจะหยุด ฝนกระหน่ำลงมาอย่างไม่สิ้นสุด ไฟดับทุกอย่างมืดมิด มีแต่แสงจากไฟฉายและเทียนไข ผู้คนที่เดินไปมาหากันไม่สามารถไปมาถึงกันอีก ตึกอำนวยการน้ำเริ่มเข้า ยาจากชั้น 1 ถูกระดมกันไปช่วยขนขึ้นไปชั้น 2 ในโรงพยาบาลอาหารเริ่มร่อยหรอเพื่อเลี้ยงผู้ป่วย ญาติและเจ้าหน้าที่
    วันพฤหัสที่ 23 พฤศจิกายน 2543 ระดับน้ำท่วมไม่มีวี่แววว่าจะหยุด ฝนยังคงกระหน่ำ เมืองเงียบสะงัด ทุกอย่างเหมือนกับจะหยุดนิ่งนอกจากสายน้ำ ผู้พักอาศัยในบ้านพักของโรงพยาบาลถูกประกาศให้ย้ายไปอยู่บนตึก รถยนต์จมนิ่งใต้สายน้ำ บ้านอาจไม่ปลอดภัยแม้ชั้น 2 สถานีวิทยุที่ออกอากาศได้เริ่มแจ้งข่าวการขอความช่วยเหลือ เรายังคงไม่มีไฟฟ้า น้ำประปา น้ำฝนพอเป็นที่พึ่ง ผู้ป่วยหนักเริ่มไม่ปลอดภัยในโรงพยาบาลใหญ่ เย็นวันที่ 23 ฟ้าเปิด หน่วยสื่อสารติดต่อกับเฮลิคอปเตอร์ของราชนาวีได้ การลำเลียงผู้ป่วยชุดใหญ่เพื่อส่งไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์จึงเริ่มขึ้น โชคดีที่ตึกใหม่มีลานสำหรับเฮลิคอปเตอร์บนดาดฟ้าชั้น 10 โชคดีที่ทุกคนที่อยู่ในโรงพยาบาลร่วมแรงร่วมใจกัน เปล 1 เปลใช้คนประมาณ 10 คน ผลัดเปลี่ยนกันแบกหามไปทั้งเจ้าหน้าที่และญาติ กว่า10 เที่ยวที่เฮลิคอปเตอร์มารับผู้ป่วยหนักกว่า 60 คนจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
    เมื่อเราขึ้นไปชั้นบนสุดของตึกเราได้เห็นโชคร้ายและวิบัติภัยของโรงพยาบาล หาดใหญ่ เราอยู่กลางเวิ้งน้ำสุดลูกหูลูกตา บ้านชั้นเดียวจมอยู่ใต้น้ำ บ้านชั้นเดียวที่ยังเหลืออยู่มีผู้คนขึ้นไปอยู่อาศัยบนหลังคา ท่ามกลางความหนาวเย็นของสายฝน เราได้ตระหนักว่าเรายังห่างไกลจากความทุกข์ของชะตากรรมของคนอีกมากมาย สายน้ำ ความเงียบ ความมืดของค่ำคืนของเรายังอยู่ท่ามกลางหมู่มิตรที่พึ่งพาอาศัยกันได้ แต่คนจำนวนไม่น้อยยังอยู่กับความเดียวดายและหิวโหย เราพลัดพรากจากพ่อแม่และมิตรสหาย แต่เรารู้ว่าเขาอยู่ในที่ปลอดภัย แต่หลายคนไม่สามารถจะรับรู้ได้ เราเริ่มขาดแคลนอาหารแต่หลายครอบครัวไม่มีอาหาร เย็นวันที่ 23 พฤศจิกายน 2543 เมื่อฟ้าโปร่งอยู่ชั่วขณะ เราได้ยินเสียงเฮลิคอปเตอร์บินไปมา แต่เมื่อมืดลงเราได้มีโอกาสแค่รับฟังการเรียกหาความช่วยเหลือผ่านทางสถานี วิทยุสงขลานครินทร์ และสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย ซึ่งรับข้อมูลจากกลุ่มผู้ที่ยังมีโทรศัพท์มือถือติดต่อได้ แต่เราก็ตระหนักว่าจริง ๆ แล้วเราได้อยู่ในความมืดมิดและเงียบสะงัดที่ธรรมชาติได้พิชิตพวกเราลงอย่าง ราบคาบ เสียงขอความช่วยเหลือครั้งแล้วครั้งเล่า ซึ่งไม่สามารถได้รับการตอบสนอง เรายิ่งตระหนักว่ามีคนอีกมากทุกข์ยากมากกว่านี้หลายเท่าที่ไม่สามารถแม้แต่ จะเอาชีวิตรอดจากสายน้ำ ที่หาทางรอดบนความเวิ้งว้างของกระแสน้ำรอบด้าน (เมื่อน้ำลด 1 เดือนถัดมาผู้เขียนได้ตระหนักถึงวุฒิภาวะของคนหาดใหญ่ที่ผ่านภัยพิบัติอย่าง ตระหนักต่อตนเองและการดำรงอยู่ของชีวิต) ความเงียบและมืดมิดของคืนวันที่ 23 สายฝนที่โปรยปรายเป็นระยะ ความคิดคำนึงของแต่ละคนคงล่องลอยไปตามความเชี่ยวกรากและมืดมนของกระแสน้ำที่ ตนเองได้ประสบ
    เราต่างประสบภัยพิบัติครั้งนี้ในห้วงน้ำต่อเนื่องมาอีก 2 วัน หลายพื้นที่กินเวลาเกือบ 1 สัปดาห์ แต่วิบัติภัยต่อเนื่องจากความสูญเสียยังยาวนานกว่านั้น โรงพยาบาลเองคงต้องอาศัยเวลาฟื้นฟูเบื้องต้นไม่น้อยกว่า 1 เดือนและอีกยาวนานจากนั้น ประชาชนหรือแม้แต่พวกเราเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ประสบภัยพิบัติทั้งชีวิต ทรัพย์สินยังคงประเมินไม่ได้ว่าเราจะสามารถฟื้นฟูมันให้กลับสู่สภาพเดิมได้ หรือไม่ หรือได้เมื่อใด แต่ที่สำคัญคงเป็นความทรงจำที่ดำรงอยู่ แม้ว่าหลายคนอาจจะเก็บมันไว้ลึก ๆ เพื่อไม่ให้มันแปรเป็นความเศร้าโศกจากความสูญเสียที่เกิดขึ้น
    ปล.เป็นความรู้จากเอกสารที่ผมได้รับมาจาก นพ.อมร รอดคล้าย ตามบันทึก ก็เพราะ GotoKnow.Org อีก(ครั้ง) ครับ
     
  16. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    2. บทที่ต้องเรียน
    ในฐานะสถานบริการสาธารณสุข เราคงจะปกป้องผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาลโดยการส่งต่อผู้ป่วยหนักและหนักมาก ไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ดูแลผู้ป่วยใน ญาติ เจ้าหน้าที่และผู้ป่วยฉุกเฉินที่ยังพอจะมาถึงเราได้ แต่หากเราตระหนักว่ายังมีคนทุกข์และยิ่งทุกข์หนักทั้งจากอุทกภัย ความขาดแคลนอาหาร ความเจ็บไข้ได้ป่วยที่ไม่อาจจะดูแลตนเองได้ ในฐานะที่เราเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขความพยายามของเรา การลงทุนของรัฐ ในการสร้างสถานพยาบาลใหญ่โต เครื่องไม้เครื่องมือราคาแพง กลับไม่สามารถช่วยประชาชนที่เป็นเจ้าของภาษีอากรได้ เราตระหนักว่า แม้แต่การจะฝ่าข้ามสายน้ำเฉี่ยวกรากเพียง 50 เมตร เกือบเป็นไปไม่ได้ แต่วันนี้เมื่อเหตุการณ์ผ่านไป แม้ว่าเราหวังว่าในเหตุการณ์นั้นจะมีใครเป็นอัศวินม้าขาว มาจากจังหวัด มาจากกระทรวงสาธารณสุข หรือมาจากที่ใด ๆ แต่ด้วยเหตุผลเดียวกันคือในภาวะนั้นต่างก็ไม่มีใครสามารถเข้ามาได้ วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2543 เป็นวันแรก ที่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ คือท่านปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้เข้ามาและมอบหมายนโยบาย พร้อมสั่งการต่อการสนับสนุนในส่วนของกระทรวงสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามสิ่งที่เราตระหนักคือ ทำอย่างไร เราจะพึ่งตนเองและเป็นที่พึ่งพาอาศัยของกันและกันในหมู่ผู้ประสบภัยได้ มากกว่านี้ เพราะเวลาเพียง 5นาที 1 ชั่วโมง 1 วัน ของผู้เจ็บป่วยของผู้ขาดแคลนอาหารหรือ เด็กซึ่งต้องอดนม และอยู่ในความหนาวเย็น อาจหมายถึงชีวิตของเขา
    3. ไม่ใช่เพียงการป้องกัน
    การป้องกันไม่ให้น้ำท่วม คงเป็นวิธีการที่ดีที่สุดของการป้องกันอุทกภัยแต่เมื่อธรรมชาติได้ถูก เปลี่ยนแปลงไปและธรรมชาติได้สอนเราแล้วว่าวันหนึ่งธรรมชาติก็จะชนะเรา ความพยายามที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืนซึ่งเป็นสิ่งที่เราอยู่ห่าง เกินไป ทำให้ความพยายามที่หน่วยงานต่าง ๆ ที่ว่าจะป้องกันน้ำท่วมได้อาจยังเป็นความฝันสำหรับวันนี้
    4. พึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกัน
    การเตรียมการเพื่อรับภัยพิบัติที่ยังคงจะเกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งที่สำคัญในการที่จะป้องกันเราจากทุกข์ของภัยพิบัติ
    อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ยังคงเป็นปัจจัย 4 ที่เราจำต้องหวนกลับมาตระหนักถึงความถึงความจำเป็น รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ได้กลายเป็นความว่างเปล่าในภาวะที่เราจมอยู่กับอุทกภัย วิถีชีวิตที่ซื้ออาหารตามร้านอาหาร , รถเข็น, และร้านฟาสต์ฟุดไปวัน ๆ ทำให้หลายคนหลายครอบครัวไม่มีอาหารอยู่ในบ้านหรือไม่สามารถจะปรุงอาหารได้ แม้ว่าพอจะมีอาหารแห้งอยู่บ้าง การหุงหาอาหารเอง การมีการเก็บตุนอาหารไว้บ้างได้ช่วยหลายคนหลายครอบครัวให้มีอาหารเล็ก ๆ น้อย ๆ ประทังชีวิตกว่าจะได้รับการช่วยเหลือ หลายคนหลายครอบครัวได้รับการช่วยเหลือจากบ้านใกล้เรือนเคียงที่พอจะมีอาหาร แบ่งปันกัน บ้าน 2-3 ชั้นในย่านที่มีบ้านชั้นเดียวได้รับคนจากบ้านรอบ ๆ มาอยู่ด้วย หลายบ้านรับมาอยู่เกือบ 60 คน บ้านที่มั่นคงแข็งแรงในย่านน้ำเชี่ยวเก็บ (ช่วย) คนที่ไหลมาตามน้ำเพื่อพักอาศัยหลายสิบคน หลาย ๆ คนเมื่อสูญเสียทุกสิ่งทุกอย่างไปได้พอพึ่งพิงอาศัยอาหารที่อยู่ เสื้อผ้า และยารักษาโรคจากบ้านใกล้เรือนเคียง หรือ บ้านที่ตนได้ไปพักพิง บทเรียนเหล่านี้ในฐานะของบุคลากรสาธารณสุขอันเป็นสิ่งที่จะต้องทำให้ประชาชน มีความสุขเราจะทำได้อย่างไร
    4.1 อาหาร
    โรงพยาบาลหาดใหญ่

    โดยปกติโรงพยาบาลเตรียมทั้งอาหารสดและอาหารแห้งไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ป่วย ใน ช่วงหน้าฝน ฝ่ายโภชนาการจะเตรียมข้าวสาร อาหารแห้ง และก๊าซหุงต้มไว้มากกว่าปกติ น้ำท่วมครั้งนี้โรงพยาบาลยังสามารถมีอาหารไว้เลี้ยงดูทั้งผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่ แต่ปริมาณที่ต้องใช้เลี้ยงดูมากขึ้นหลายเท่าจากเฉพาะผู้ป่วยใน 400-500 คน/วัน เป็น กว่า 1,000 คน/วัน เมื่อย่างเข้าวันที่ 3 อาหารเริ่มร่อยหรอ แต่โชคดีว่าหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งเฮลิคอปเตอร์ สามารถเข้ามาลงบนลานจอดได้ ทำให้โรงพยาบาลได้รับสนับสนุนอาหารอย่างเพียงพอ และสามารถแจกจ่ายได้ น้ำดื่ม น้ำใช้ของโรงพยาบาลก็มีอยู่ตามที่เก็บน้ำหลายจุด รวมทั้งมีน้ำฝนที่ตกมาต่อเนื่อง แต่น้ำใช้ก็จำเป็นต้องใช้น้ำท่วมที่ขังอยู่สำหรับการชำระล้างบางอย่าง
    การมีการตุนข้าวสารอาหารแห้ง และน้ำ การเตรียมการเรื่องการอุปกรณ์ประกอบอาหารเป็นสิ่งจำเป็น เมื่อน้ำท่วมตัวโรงพยาบาล ยุทธศาสตร์สำคัญอันหนึ่งในการปกป้องโรงพยาบาลคือการปกป้องโรงครัว แม้ว่าจะไม่มีแม่ครัวตัวจริงเพียงพอ เรายังพอจะระดมเจ้าหน้าที่ และญาติไปร่วมกันทำครัวได้ อาหารหลักที่เป็นที่รู้กันของโรงพยาบาลคือข้าวต้ม เพื่อจะให้เราสามารถยืดเวลาในการมีเสบียงอาหารนานพอก่อนที่จะมีใครเข้ามา ช่วย
    ชุมชน
    ด้วยเหตุที่เราเริ่มมีครอบครัวเล็กที่ไม่ได้หุงหาอาหารเอง มีนักเรียน – นักศึกษา คนวัยแรงงานที่อาศัยในบ้านเช่า แฟลต อพาร์ตเม้นต์ ซึ่งไม่หุงหาอาหารเอง แต่ซื้อหาอาหารกินไปเป็นมื้อ ๆ ข้อเสนอก็คือ
    1. ครอบครัว ควรจะมีการหุงหาอาหารเอง แม้ว่าจะเป็นอาหารง่าย ๆ เช่น หุงข้าว ต้มแกงและไข่เจียว นอกจากจะทำให้เราประหยัดมีอาหารที่ดีมีคุณค่าในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตแบบครอบครัวจะสมบูรณ์ขึ้น การพึ่งพาแต่ร้าน 7 –11 และรถเข็นจะลดลง เราควรมีเสบียงอยู่บ้างเราอาจจะซื้อหาอาหารสำเร็จทานด้วย แต่ที่สำคัญเราจะพึ่งตนเองได้แม้แต่ยามปกติหรือยามวิกฤต
    2.คนที่อยู่ตัวคนเดียว การปรุงอาหารอาจจะเป็นเรื่องดูเหมือนยุ่งยากแต่จริง ๆ แล้วไม่ การปรุงอาหารเป็นวิถีชีวิตที่สำคัญ เราอาจจะต้องเริ่มสอนวิชาการปรุงอาหารสำหรับคนตัวคนเดียวที่ง่ายและไม่ซับ ซ้อน ถ้าเคยดูหนังเกี่ยวกับการเดินป่าจะเห็นว่าแม้แต่เขาอยู่ในป่ามีหม้ออลูมิ เนียมหนึ่งใบก็ยังสามารถหุงข้าว ต้มแกง ชงกาแฟได้ ความสุขจากการปรุงอาหารกินเองมีอยู่ตลอดมาและเมื่อน้ำท่วมอาหารแสน
    อร่อย เกิดจากน้ำมือของเราเอง อย่างไรก็ตามคงเป็นเรื่องยุ่งยากลำบากของหลายคน การมีเสบียงที่เป็นอาหารสำเร็จพร้อมกินข้าวกระป๋อง อาหารกระป๋อง น้ำ นม ฯลฯ อยู่บ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ในห้องและเราหมุนเวียนรับประทานแล้วหามาใหม่ นอกจากจะทำให้เราไม่ต้องพึ่งพาร้านค้าตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เราก็จะสามารถบริหารตนเองทั้งในยามปกติและเมื่อมีเหตุจำเป็น
    4.2 เครื่องนุ่งห่ม
    เราต้องเก็บรักษาเสื้อผ้าไว้ไม่ให้เปียกน้ำหมด แม้ว่าคงเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่ต้องลงไปในน้ำหรือเปียกน้ำ แต่เสื้อผ้า 2 – 3 ชุด ผ้าขนหนูหรือผ้าห่มสักพืนจำเป็นที่จะต้องมีถุงพลาสติกที่กันน้ำเก็บรักษา ไว้ ผู้เขียนจำเป็นต้องลุยน้ำและอยู่ในน้ำทุกวันติดต่อกัน 5 วัน แม้ว่าน้ำจะลดแล้ว ชุดที่ต้องใช้มี 2 ชุดหลักคือ ชุดเปียกและชุดแห้ง แม้ว่าจะต้องเปลี่ยนที่พัก ชุดแห้งประจำตัวก็ถูกใส่ถุงดำสำหรับใส่ขยะมัดปิดสนิทติดตัวไปด้วย ผู้ปกครองซึ่งมีลูกเล็ก ควรเก็บเสื้อผ้า ผ้าห่ม ผ้าเช็ดตัวให้เด็กไว้ในถุงพลาสติก เตรียมพร้อมไว้ในภาวะน้ำท่วม หากเมื่อเราต้องโยกย้ายหรือบ้านที่อยู่อาศัยถูกน้ำท่วมจะได้มีเสื้อผ้าแห้ง ให้เด็ก ๆ ได้เปลี่ยน หากจำเป็นต้องลงน้ำเราสามารถพลัดเปลี่ยนเสื้อผ้าเปียกมาใช้อีกได้
    ชูชีพอาจจะไม่ใช่อุปกรณ์ปกติที่เป็นเครื่องนุ่งห่ม แต่กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลหาดใหญ่มีชูชีพ 6 ตัว เพื่อใช้เวลาไปออกหน่วยช่วยผู้ประสบอุทกภัย แต่ครั้งนี้เราไม่ได้ออกไปที่ไหนไกล ชุดชูชีพถูกใช้เพื่อข้ามจากประตูโรงพยาบาลไปขึงเชือกฟากตรงข้ามโรงพยาบาล เพื่อรับคนไข้เข้ามาในโรงพยาบาล ได้ให้แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ที่คอยช่วยคนไข้อยู่ในน้ำได้รู้สึกปลอดภัยขึ้น เราประเมินว่าเราคงต้องมีชูชีพมากกว่านี้ แต่สำหรับประชาชนทั่วไปการมีขวด แกลลอนที่ปิดสนิท การมีกล่องโฟม แท่งโฟม ห่วงยาง ก็สามารถดัดแปลงเพื่อการผูกติดตัวไปหากต้องลงไปในน้ำ
    พวกเราที่อยู่ในสถานีอนามัย อยู่ในโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานที่ต้องช่วยเหลือผู้อื่น ต้องเตรียมทั้งอุปกรณ์ช่วยชีวิต ชูชีพ เสื้อผ้าแห้งและถุงกันน้ำ เพื่อจะได้ใช้อย่างทันที ทั้งช่วยผู้อื่นและป้องกันตนเอง
    4.3 ที่อยู่อาศัย
    เมื่อครั้งที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติสร้างขึ้น หลาย ๆ คนมองถึงความไม่เหมาะสมของแบบที่ผู้ป่วยจะต้องขึ้นไปบนชั้น 2 ของอาคารใต้ถุนโล่ง น้ำท่วมครั้งนี้ทำให้เราพบว่า บ้านใต้ถุนโล่งคือภูมิปัญญาของคนไทยในเขตมรสุมที่มีน้ำท่วมหรือน้ำหลาก บ้านใต้ถุนโล่งคือการอยู่ร่วมที่กลมกลืนกับธรรมชาติ เรามีบ้าน 2 ชั้น 3 ชั้น โดยในชั้นหนึ่งเต็มไปด้วยข้าวของเครื่องใช้และในที่สุดธรรมชาติได้เลือกแบบ บ้านที่เหมาะสมให้เราอีกครั้ง หลายคนอยากมีบ้านชั้นเดียว สร้างบ้านชั้นเดียวและวันหนึ่งเราได้อาศัยหลังคาของบ้านเป็นที่อยู่อาศัย
    โรงพยาบาลหาดใหญ่มีตึกหลายชั้น มีลานเฮลิคอปเตอร์ซึ่งได้ช่วยเหลือทั้งการขนย้ายผู้ป่วยและส่งข้าวปลาอาหาร แต่โรงพยาบาลหาดใหญ่มีห้องใต้ดินไว้เป็นคลังยา มีลานจอดรถใต้ดินที่มีห้องควบคุมไฟฟ้าของอาคารใหม่ แล้วทั้งหมดจมลงใต้น้ำ
    บ้านชั้นเดียวควรเป็นบ้านใต้ถุนสูง บ้าน 2 ชั้นไม่ควรมีเฟอร์นิเจอร์ที่มากเกินไปควรเป็นเฟอร์นิเจอร์ที่ทนน้ำและหรือ โยกย้ายได้ง่าย
    ควรมีอุปกรณ์พื้นฐาน เช่น เชือก ค้อน ตะปู ไม่ขีด ไฟฉาย เทียนไข ภาชนะใส่น้ำ ภาชนะหุงต้ม ฯลฯ ซึ่งในปัจจุบันหลายบ้านกลับไม่มีสิ่งเหล่านี้ให้พอหยิบใช้ได้ในยามวิกฤต
    โรงพยาบาลหาดใหญ่และสถานพยาบาล ควรจะมี ชั้น 2 หรือกรณีสถานีอนามัยควรจะมีใต้ถุนสูง แต่หากจำเป็นที่อยู่ในเรือนชั้นเดียวควรมีตู้ลอยไว้เก็บของใช้ฉุกเฉิน ยาและวัสดุการแพทย์ฉุกเฉินและจำเป็นที่จะต้องเคลื่อนย้ายของใช้ฉุกเฉินไปยัง ที่ปลอดภัยก่อนที่น้ำจะท่วมถึง เพราะความเป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอาจจะไม่สามารถทำอะไรได้เลยหาก เราเองก็เหลือแต่มือเปล่า
    4.3 ยารักษาโรค
    เมื่อเกิดอุทกภัย ปัญหาสำคัญในการแสวงหาบริการสุขภาพคือการไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ แนวคิดเรื่องการมียาสามัญประจำบ้าน การมีศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน การมีศูนย์บริการสาธารณสุขหรือสถานีอนามัยนับเป็นความเหมาะสมที่จะเอื้อ อำนวยให้การเข้าถึงบริการสุขภาพหรือยารักษาโรคเป็นไปได้ง่ายที่สุด โรงพยาบาลนับเป็นสิ่งที่ห่างไกลเมื่อระยะทางเพียง 1 – 2 กิโลเมตร เราอาจจะต้องใช้เวลา 3 – 4 ชั่วโมงเพื่อไปให้ถึง สำหรับคนที่ไม่ได้เจ็บป่วย
     
  17. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    หลังอุทกภัยครั้งนี้ การใช้ศูนย์บริการสาธารณสุขประมาณ 8-10 แห่ง ร่วมกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ทั้งในบริการรอบพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขและในจุดที่เข้าถึงได้ยาก เป็นกลยุทธ์ที่สามารถบรรเทาความทุกข์ยากของประชาชนในภาวะที่ระบบบริการต่าง ๆ ยังไม่สามารถดำเนินการได้สมบูรณ์ทั้งโรงพยาบาล และการคมนาคม ภาระของประชาชนในการต้องดูแลบ้านเรือนและทรัพย์สินของตน อย่างไรก็ตาม ศูนย์บริการสาธารณสุขเกือบทุกแห่งล้วนถูกน้ำท่วมสูง 1 – 3 เมตร การเริ่มเปิดดำเนินการตั้งแต่น้ำลด ได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนในการให้ใช้พื้นที่ที่ล้างทำความสะอาดแล้ว ได้รับความช่วยเหลือจากทีมหน่วยแพทย์ พยาบาลจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ที่กระทรวงสาธารณสุขสนับสนุน นับเป็นการได้พึ่งพาอาศัยกันครั้งสำคัญและผู้เขียนซาบซึ้งต่อน้ำใจของทุกคน ที่ร่วมแรงร่วมใจในการดำเนินการ
    ในอีกด้านหนึ่ง ในภาวะน้ำท่วมเมื่อระบบต่าง ๆ จมอยู่ใต้น้ำ บทเรียนครั้งนี้ทำให้เราต้องย้อนกลับมาถึงเรื่องของการพึ่งตนเองให้มากขึ้น

    บุคคลหรือครอบครัว
    น่าจะมีการเก็บยาสามัญประจำบ้านหรือยาประจำโรคของตนเอาไว้ในบ้านหรือประจำ ตัว เพื่อเวลาจำเป็นหรือมีวิกฤตจะได้หยิบฉวยมาใช้ได้ ในภาวะอุทกภัยควรใส่ไว้ในภาชนะพลาสติกที่ปิดสนิทหรือในถุงพลาสติกที่ผูกมัด ให้แน่นไม่ให้น้ำเข้าถ้าตกหล่นลงในน้ำหรือเก็บไว้ในที่สูงพ้นจากน้ำท่วมและ สามารถหยิบฉวยได้ง่าย ในภาวะอุทกภัยการมีภาชนะพลาสติกที่ปิดได้สนิท เช่น ขวดหรือแกลลอนใช้เป็นชูชีพได้ หากต้องลงไปในน้ำหรือต้องเดินทางผ่านบริเวณที่น้ำท่วมสูงหรือน้ำเชี่ยว หากมีโฟมหรือเสื้อชูชีพอาจจะได้ใช้ประโยชน์เป็นอย่างมาก
    ชุมชน
    ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือสถานีอนามัยและศูนย์บริการสาธารณสุขมูลฐานจำเป็น ที่จะต้องตระหนักถึงภาระกิจการให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นมากขึ้น ทีมงานต้องรู้และมีทักษะการดูแลรักษาโรคเบื้องต้น บาดแผล การคลอด การลำเลียงผู้ป่วย ฯลฯ ยาและเวชภัณฑ์ฉุกเฉินต้องเตรียมไว้และอาจจะสำรองไว้ในที่ปลอดภัย หากน้ำท่วมสถานบริการหมดดังที่เกิดขึ้น เราต้องย้อนกลับมาคิดกับชุมชนว่าเราจะต้องเตรียมอะไรที่มากกว่าอดีต เราต้องเตรียมอาสาสมัคร เครื่องไม้เครื่องมือที่ช่วยชีวิต เครื่องมือลำเลียง เชือก ชูชีพ หรือถ้าชุมชนพร้อมเราอาจจะมีหน่วยกู้ภัยในชุมชน ทั้งการมีรถกู้ภัย เรือกู้ภัยที่เตรียมไว้ใช้ทั้งในยามปกติและฉุกเฉิน ชุมชนริมคลอง ริมแม่น้ำหรือริมทะเล เป็นจุดสำคัญที่เราน่าจะพัฒนาหน่วยกู้ภัยของแต่ละชุมชน เพราะจะสามารถปฏิบัติการได้ทั้งในยามปกติและช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ การช่วยเหลือกันของอาสาสมัครเอกชนหรือองค์กรท้องถิ่นต่างๆ ในภาวะอุทกภัยที่ผ่านมาเป็นเครื่องยืนยันความช่วยเหลือซึ่งใกล้ชิดและทัน การณ์แม้ว่าจะมีศักยภาพด้อยกว่าหน่วยกู้ภัยของทหาร แต่ก็ทำให้เห็นว่าหน่วยเล็ก ๆ หากอยู่ในชุมชนเองรู้พื้นที่เล็ก ๆ อาจจะทำให้การช่วยเหลือกันในหมู่บ้านหรือชุมชน 100 – 200 ครัวเรือนได้รับการช่วยเหลือทันทีและทันท่วงที
    องค์กรทางสาธารณสุข
    ในภาวะปกติเรามีหน่วย EMS (Emergency Medical Service) และหน่วยเคลื่อนที่ต่าง ๆ ที่ออกไปให้บริการนอกโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล บทบาทหลักของเรามักเป็นการตั้งรับ เมื่อน้ำท่วมทุกสิ่งทุกอย่างหยุดนิ่ง เพราะหน่วยที่มีอยู่ไม่ได้มีความพร้อมที่จะรับวิบัติภัยขนาดนี้ การพยายามตั้งมั่นในสถานที่ตั้งให้ได้และจัดบริการให้ได้เป็นิสิ่งสำคัญที่ สุดที่เราพยายามทำ แต่บทบาทที่เราควรจะเป็นที่พึ่งของชุมชนทางด้านสาธารณสุขก็กลายเป็นเรื่อง ไกลเกินไป เราคงต้องเริ่มต้นใหม่ในการจำแนกบทบาทและภาะกิจของแต่ละระดับของหน่วยบริการ คงจะไม่ไกลเกินไปที่จะคาดหวังว่าระดับอำเภอและส่วนกลางมีศักยภาพสูงกว่า ระดับตำบล ระดับจังหวัดมีศัลกภาพสูงกว่าระดับอำเภอและส่วนกลางมีศักยภาพสูงกว่าส่วน ภูมิภาคและท้องถิ่น คงไม่ใช่เป็นการเหนือกว่าทางสายบังคับบัญชา แต่คงจำเป็นที่จะต้องเหนือกว่าในการปฏิบัติภาระกิจ มีเรือ มีเฮลิคอปเตอร์ มีทีมที่มีศัลยภาพมีเทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนตั้งแต่ประชาชนอยู่ในภาวะ วิกฤต
    เพื่อพัฒนาการพึ่งตนเอง หน่วยบริการระดับท้องถิ่นจะต้องพัฒนาศักยภาพทางด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน และการส่งต่อที่แท้จริงไม่ใช่เพียงอยู่ในกระดาษ ทั้งในภาวะวิกฤตและภาวะปกติ โรงพยาบาลอำเภอ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลจังหวัด คงต้องพัฒนาทีมที่มีศักยภาพพิเศษทั้งในภาวะปกติและวิกฤต รวมทั้งเครื่องไม้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่สามารถช่วยเหลือสนับสนุนหน่วย บริการท้องถิ่นและปฏิบัติการได้เอง การดำรงอยู่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุข คงไม่ใช่เป็นเพียงหน่วยงานธุรการขนาดใหญ่เพราะองค์กรเหล่านี้ประกอบด้วย บุคลากรทางสาธารณสุข ศักยภาพที่เหนือกว่าในการสนับสนุนและการปฏิบัติการช่วยเหลือองค์กรระดับล่าง ที่ประสบพิบัติภัยจำเป็นที่จะต้องพัฒนาขึ้น การบริหารจัดการและการปฏิบัติการช่วยเหลือประชาชนในยามวิกฤตในขณะที่หน่วย งานระดับล่างแม้แต่ระดับโรงพยาบาลศูนย์ประสบภัยเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้อง พัฒนาขึ้นเพื่อจะเป็นที่พึ่งของประชาชนและเป็นที่พึ่งพาได้ของหน่วยงานระดับ ล่าง หากสิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้นเราคงจะต้องตระหนักในภาระกิจของเราในการพึ่งตน เองและพึ่งพาอาศัยกันในระดับหน่วยปฏิบัติการให้มากยิ่งขึ้น
    5. บทส่งท้าย
    พิบัติภัยจากอุทกภัยครั้งนี้ ยังคงเป็นบทที่เราต้องเรียน พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวถึงอุทกภัยในหาดใหญ่และบทพระราช นิพนธ์พระมหาชนก ยิ่งทำให้เราตระหนักถึงการพัฒนาเพื่ออยู่ร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งตนเองและความเพียรจะเป็นหนทางที่จะนำเราหลุดพ้นจากความทุกข์ที่เกิด ขึ้น
     
  18. SCJ

    SCJ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +122
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width=599 border=0><TBODY><TR><TD class=text4>http://breakingnews.nationchannel.com/read.php?newsid=337808&lang=T&cat=

    18:58 น.


    <DD>ช่วงสัปดาห์นี้ เจ้าหน้าที่องค์กรเพื่อการวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป หรือ เซิร์น เปิดเผยว่า ในวันที่ 10 กันยายนนี้ จะมีการทดลองยิงอนุภาคโปรตอนให้มาชนด้วยระดับพลังงานที่ต่ำ ในอุโมงค์ใต้ดินยาว 27 กิโลเมตรในสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบเครื่องเร่งอนุภาคขนาดยักษ์ เพื่อจำลองการเกิดปรากฏการณ์ "บิ๊กแบง" สำหรับการไขปริศนาที่มาของการมีอยู่ของมวลสารและเดินหน้าทฤษฎีการก่อกำเนิดของเอกภพ
    <DD>สำหรับการทดลองในระดับที่ใช้พลังงานมากกว่านี้ คาดว่าจะได้เร็วที่สุดในเดือนพฤศจิกายน ส่วนอุโมงค์ดังกล่าวอยู่ลึกลงไปใต้ดินราว 100 เมตร โดยตั้งอยู่ระหว่างทะเลสาบและเทือกเขายูรา ทางตะวันตกของกรุงเจนีวา ใกล้กับพรมแดนด้านที่ติดกับฝรั่งเศส โดยโครงการนี้ใช้เวลาในการก่อสร้างนานถึง 14 ปี การทดลองในโครงการนี้ ถือเป็นการทดลองครั้งใหญ่ที่สุดสำหรับวิทยาศาสตร์ฟิลิกส์การพลังงานระดับสูง
    <DD>เครื่องเร่งอนุภาคมูลค่าหลายพันล้านดอลล่าร์ ที่มีชื่อว่า ลาจ เฮดรอน โคลิเดอร์ ( Large Hadron Collider ) จะทำการยิงอนุภาคโปรตอนเข้าใส่กันด้วยความเร็วสูงเกือบเท่าความเร็วแสง ซึ่งผลการทดลองที่ได้ คาดว่าจะสร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับวงการวิทยาศาสตร์ โดยมีการประเมินกันว่าอนุภาคกึ่งอะตอม ที่ได้มาจากการชนกัน สามารถจำลองสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงระยะ 1 ในพันล้านส่วนของวินาทีหลังการเกิดบิ๊กแบง โดยนักวิทยาศาสตร์หวังว่าเรื่องนี้จะทำให้พวกเขาได้เข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามมาอีก 1 หมื่น 4 พันล้านปี หลังปรากฏการณ์บิ๊กแบง
    <DD></DD></TD></TR><TR><TD align=middle>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ;aa13
     
  19. SCJ

    SCJ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +122
    สิ้นเดือนกรกฎาคม งานทั้งหมดใกล้จะเสร็จสมบรูณ์แล้ว กับเครื่องยิงอนุภาค 8 ส่วนที่มีอุณหภูมิในการทำงานอยู่ที่ 1.9 องศาเหนือจุดเยือกแข็งสมบูรณ์ (-271&deg;C) ระยะต่อไปขอการทำงานคือการทำเชื่อมต่อ LHC กับเครื่องเร่ง Super Proton Synchrotron (SPS) ที่จะมารวมเป็นส่วนเชื่อมต่อสุดท้ายของห่วงโซ่การยิงของ LHC เวลาระหว่างเครื่องทั้ง 2 ต้องมีความแม่นยำในระดับส่วนเสี้ยวของนาโนวินาที การทดสอบการเชื่อมต่อจะเริ่มในวันที่ 9 สิงหาคมนี้ และการยิงลำแสงอิเล็กตรอนที่สองแบบหมุนตามเข็มนาฬิกาจะเริ่มในสัปดาห์ถัดไป การทดสอบจะทำเรื่อยจนถึง 9 กันยายน เพื่อแน่ใจว่าเครื่องพร้อมที่จะเร่งและทำให้เกิดการชนของแสงอิเล็กตรอนที่ยิงไปที่มีระดับพลังงาน 5 TeV ต่อลำแสง ซึ่งเป็นพลังงานเป้าหมายในปี 2008 นี้ และลำแสงที่จะวิ่งวนภายใน LHc อย่างเป็นทางการนี้คือวันที่ 10 กันยายน ซึ่งจะใช้พลังงาน 450 GeV (0.45 TeV)
    เมื่อการโคจรของลำแสงอิเล็กตรอนสเถียรแล้ว นักวจัยก็จะนำเข้าสู่ระยะการชนและสุดท้ายก็จะเร่งระบบ LHC ให้เร่งพลังงานไปถึง 5 TeV
    ที่มา - esciencenews.com

    จะเห็นว่า การชนในวันที่ 10 กย. นี้ เป็นการชนเล็กๆ

    ใช้พลังงาน แค่ 0.45 TeV

    เป้าหมายสุดท้ายคือ 5 Tev ( สิบเท่า)

    .....ต้องลุ้น


    ;aa10
     
  20. SCJ

    SCJ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +122
    สิ่งนี้ ทำให้เกิดอะไรได้บ้าง


    ยังไม่มีใครคาดการณ์ได้แน่นอน


    -Big Bang หลุมดำ กลึนโลก

    - แผ่นดินไหว

    - แผ่นดินยุบ

    - พายุ

    - แกนโลกเปลี่ยน

    - เปิดมิติ

    แต่ฝ่ายสร้าง เค้าบอกว่า ไม่มีอะไรน่าห่วงครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2008

แชร์หน้านี้

Loading...