ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. ไชยชุมพล

    ไชยชุมพล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    246
    ค่าพลัง:
    +1,873
    วันนี้คุณแม่ได้ร่วมทำบุญประจำเดือนกับทุนนิธิฯ จำนวน 500 บาทเป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ โมทนาด้วยครับ
     
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    โอ๊ะๆๆ...ไม่ได้เข้าบอร์ดมาสองสามวันผู้ใจบุญกลุ่มเดิมยังเหนียวแน่นในกุศลผลบุญแห่งทานมัยนี้เหมือนเดิม ขออนุโมทนาและสาธุบุญกับทุกท่านอีกครั้ง และขอจดจำชื่อทุกคนเอาไว้ในใจ รับรองไม่ลืมกันเด็ดขาดครับ ขอสัญญา...

    [​IMG]


     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    การใช้ ”ดวงตาทิพย์” เจริญกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

    [​IMG]

    โดย...พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินธโร)
    เจ้าอาวาส(องค์ปัจจุบัน) วัดธรรมมงคล สุขุมวิท101 กรุงเทพฯ
    *** ข้อมูลโดยย่อเกี่ยวกับ พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินธโร) ***

    1. ท่านเป็นลูกศิษย์โดยตรงของ…
    1) ท่านเจ้าคุณ พระปัญญาพิศาลเถระ (หนู) วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ (พระอุปัชฌายะ)
    2) หลวงปู่ มั่น ภูริทัตโต
    3) พระอาจารย์ กงมา จิรปุญโญ

    2. ในสายหลวงปู่มั่น ปัจจุบันนี้ท่านอยู่ในหมู่ของผู้มีอาวุโสสูงที่สุด(ที่ยังมีชีวิตอยู่)ในสายนี้ เช่น
    1) หลวงปู่ เหรียญ วรลาโภ
    2) หลวงตา มหาบัว ญาณสัมปันโน

    3. ผลงานที่สำคัญของท่าน เช่น
    1) สถาบันพลังจิตตานุภาพ : ปัจจุบันมีผู้สำเร็จเป็นครูสอนสมาธิไปจากสถาบันนี้ จำนวนประมาณ 3,000 – 4,000 คนแล้ว (ส่วนมากเป็นฆราวาส)
    2) สร้างวัด ทั้งในไทยและต่างประเทศ รวมประมาณ 20 วัด
    3) พระมหาเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศ บรรจุพระบรมสารีริธาตุที่ได้รับจากพระสังฆราชแห่งประเทศบังคลาเทศ และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาทรงวางศิลาฤกษ์โดยพระองค์เอง
    4) พระพุทธรูปหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก (เนื้อหยกตันทั้งองค์) หน้าตักกว้าง 1.66 เมตร สูง 2.20 เมตร และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จสังฆราชฯ ทรงเสด็จมาพุทธาภิเษกโดยพระองค์เอง


    การใช้ ”ดวงตาทิพย์” เจริญกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

    เรา ไม่ต้องไปพูดขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ นั่นมันเป็นการสมมติส่วนหนึ่ง แต่ตามความเป็นจริงแล้วเมื่อจิตของเราแน่วแน่ เราอยากจะเข้าจิตเมื่อไรก็เข้าได้ อย่างนั้นใช้ได้แล้ว ไม่ต้องไปสมมติอะไรให้มันยาก เมื่อถึงเวลาทำสมาธิ พอขัดสมาธิเสร็จจิตก็ลงไปเลย ก็ใช้ได้ อย่างนี้ก็เรียกว่าเกิดความชำนาญ หรือเรียกว่าเป็นสมาธิเข้าขั้น

    จิตที่เป็นสมาธิเข้าขั้นนั้นมีการ ทดสอบได้ เราจะทดสอบด้วยตนเองเมื่อไรก็ได้ เราทดสอบจิตของเราว่า จิตของเราอยู่ในขั้นที่มีกระแสจิตแล้วหรือยัง ถ้ามีกระแสจิตแล้วหลับตาก็มองเห็น ถ้าไม่มีกระแสจิตหลับตามันก็เท่านั้น กระแสจิตนั้นก็คือกระแสธรรม เป็นกระแสที่ได้รับจากพลังของจิต ก็เหมือนกันกับพลังไฟฟ้า พลังแสงอาทิตย์ ที่มันบังเกิดขึ้นมีแสงสว่างออกไป ถ้าไม่มีกำลัง ไม่มีพลัง แสงเหล่านั้นก็ออกมาไม่ได้

    เมื่อจิตของเรา เกิดพลังขึ้นมา เราก็จะได้รู้ว่า จิตของเรามีกระแสจิตแล้ว หลับตาทดสอบดูอะไรก็ได้ จะพิจารณาดูกะโหลกศีรษะหรือจะพิจารณาดูกระดูกซี่โครงก็ได้ หรือจะพิจารณาดูหมดทั้งตัวว่ามันตายไปก็ได้ จะเป็นตัวเราก็ได้ตัวคนอื่นก็ได้ หรือเราจะมองดูกระดูกที่ถูกเผาไฟแล้วทั้งหมด ถ้าเรามองไปยังไม่เห็นก็ถือว่า จิตนั้นยังไม่มีกระแสจิต

    คำที่ว่า เห็นนั้นมันชัดแจ้ง มันไม่เหมือนกันกับเราลืมตามอง เพราะเราลืมตามองมันเป็นตาหนังหรือเรียกว่า ตาสมมติ มองดูกระดูกก็อย่างนั้น มองดูเนื้อหนังก็อย่างนั้น มันเป็นเพียงสื่อสัมพันธ์เท่านั้นสำหรับตานอกที่เรียกว่า ดวงตาของเรานี้

    ***** แต่ส่วนกระแสจิตหรือเรียกว่า “ดวงตาใน” นั้นเรามองชัดลงไปด้วยความสามารถแห่งปฏิภาคนิมิต ซึ่งเป็นนิมิตที่เราสามารถสร้างขึ้นมาได้ เราสร้างขึ้นมาเป็นกะโหลกศีรษะ โครงกระดูก หรืออะไรเราก็สร้างขึ้นมาได้ ถ้าสร้างขึ้นมาได้เช่นนั้นแล้ว เรียกว่า ปฏิภาคนิมิต ผู้นั้นมีกำลังจิตสูงจริงๆ

    ***** อันนี้บอกเอาไว้ เผื่อใครทำได้คนนั้นก็จะได้ทำให้ก้าวหน้าต่อไป เผื่อว่าใครยังทำไม่ได้ก็ให้รู้ไว้ว่า กระแสจิตเกิดขึ้นจากพลังของจิต และเป็น ”ดวงตาทิพย์” ดวงตาทิพย์นี้เป็นดวงตาทิพย์ที่มีประสิทธิภาพ คือ สามารถมองดูเห็นชัด

    สำหรับผู้ที่มีสมาธิแก่กล้า เช่น พวกฤาษีต่างๆ จะทำสมาธิเพื่อฤทธิ์เดช เพื่อจะเป็นการแสดงอิทธิปาฎิหาริย์ เขาทำเพื่อให้มันพิเศษๆไป อย่างนั้นมันเป็นจุดประสงค์ของพวกฤาษี แต่จุดประสงค์ของพระพุทธศาสนานั้น ไม่เหมือนกันกับจุดประสงค์ของฤาษี จุดประสงค์ของพระพุทธศาสนา ต้องการกำจัดกิเลสให้สิ้นไปจากจิตโดยสิ้นเชิง

    ***** แต่หากว่าพวกฤาษีเหล่านั้น ต้องการอยากจะทำกิเลสให้หมด ฤาษีก็ทำได้ง่ายกว่าพวกเรา เพราะมีเครื่องมือครบแล้ว ( คือ พลังจิตสูง , ฌาน 4 และอภิญญา 5 ) พร้อมที่จะทำลายกิเลสได้ทุกเมื่อ...

    มีพวกฤาษีประมาณห้าร้อยตนออกจากป่าหิมพานต์ มานั่งอยู่ใต้ต้นไม้ต้นหนึ่งในต้นไม้นั้นมีปราสาทเทวดาอยู่ข้างบน……………
    ………ฤาษี ได้ยินเทวดาเล่าว่า มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เกิดขึ้นแล้ว ก็อยากจะไปฟังธรรมกับพระพุทธเจ้า จึงได้ลาเทวดา แล้วก็พากันเหาะจากสถานที่นั้นไปยังวัดพระเชตวัน เมื่อเหาะไปถึงแล้วก็ไปฟังธรรมของพระพุทธเจ้า

    ***** พระองค์แนะวิปัสสนาให้นิดเดียวเท่านั้น ให้พิจารณาไตรลักษณ์ คือ ให้พิจารณา อนัตตา ไม่ใช่ตัวตน อนิจจัง เป็นของไม่เที่ยง ทุกขัง เป็นทุกข์ “ พิจารณาเพียงเท่านี้ชั่วโมงเดียวฤาษีทั้งห้าร้อยก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ตัดกิเลสไปได้ “

    ฤาษีเหล่านั้นแต่ก่อนทำไมถึงไม่สำเร็จ ก็เพราะว่าไม่รู้จักวิปัสสนา จึงไม่เกิดความสำเร็จขึ้น ทำไมฤาษีจึงเหาะได้ ก็เพราะฤาษีมีฌาน แต่เป็นโลกียฌาน แล้วทำไมฤาษีเหล่านั้นจึงแสดงฤทธิ์ได้จนกระทั่งเศรษฐีต่างๆ พากันเลื่อมใส ก็เพราะว่าฤาษีเหล่านั้นได้บำเพ็ญฌานสำเร็จแล้ว แต่ฌานที่ได้สำเร็จแล้วนั้นไม่ใช่ว่ากิเลสจะหมดไปด้วย เพราะพวกฌานต่างๆ นั้นไม่สามารถที่จะกำจัดกิเลสได้ ไม่เหมือนกับวิปัสสนา

    ***** เพราะฉะนั้นฤาษีทั้งห้าร้อยนั้น เมื่อไปฟังคำสอนของพระพุทธเจ้าที่แสดงถึงไตรลักษณ์ “ ฤาษีทั้งห้าร้อยก็สำเร็จได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีพลังจิตอยู่พร้อมแล้ว “


    พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินธโร) ท่านแสดงไว้อย่างชัดเจนว่า…

    1. แต่ส่วนกระแสจิตหรือเรียกว่า “ดวงตาใน” นั้นเรามองชัดลงไปด้วยความสามารถแห่งปฏิภาคนิมิต ซึ่งเป็นนิมิตที่เราสามารถสร้างขึ้นมาได้ เราสร้างขึ้นมาเป็นกะโหลกศีรษะ โครงกระดูก หรืออะไรเราก็สร้างขึ้นมาได้ ถ้าสร้างขึ้นมาได้เช่นนั้นแล้ว เรียกว่า ปฏิภาคนิมิต ผู้นั้นมีกำลังจิตสูงจริงๆ

    2. อันนี้บอกเอาไว้ เผื่อใครทำได้คนนั้นก็จะได้ทำให้ก้าวหน้าต่อไป เผื่อว่าใครยังทำไม่ได้ก็ให้รู้ไว้ว่า กระแสจิตเกิดขึ้นจากพลังของจิต และเป็น ”ดวงตาทิพย์” ดวงตาทิพย์นี้เป็นดวงตาทิพย์ที่มีประสิทธิภาพ คือ สามารถมองดูเห็นชัด

    3. เมื่อจิตของเราเกิดพลังขึ้นมา เราก็จะได้รู้ว่า จิตของเรามีกระแสจิตแล้ว หลับตาทดสอบดูอะไรก็ได้ จะพิจารณาดูกะโหลกศีรษะหรือจะพิจารณาดูกระดูกซี่โครงก็ได้ หรือจะพิจารณาดูหมดทั้งตัวว่ามันตายไปก็ได้ จะเป็นตัวเราก็ได้ตัวคนอื่นก็ได้ หรือเราจะมองดูกระดูกที่ถูกเผาไฟแล้วทั้งหมด

    *********

    จาก ทั้ง 3 ข้อความที่คัดมานี้ แสดงอย่างชัดเจนที่สุดว่า พระครูบาอาจารย์ท่านก็ใช้ ”ฤทธิ์” คือ “ดวงตาทิพย์” ในการเจริญมหาสติปัฏฐานและวิปัสสนา

    **********

    การฝึกเจริญมหาสติปัฏฐานและวิปัสสนามีหลายวิธี สามารถทำได้ทั้ง ”นอกฌานหรืออยู่ในฌาน” ดังนั้นวิธีของแต่ละท่านก็อาจแตกต่างกันไป

    - ผู้ที่มีอัธยาศัยแบบสุกขวิปัสสโก หลายท่านก็จะฝึกนอกฌาน (จิตยังมีนิวรณ์ 5 อยู่)

    ***** ผู้ที่มีอัธยาศัยแบบวิชชา 3 หรือ อภิญญา 6 หลายท่านก็จะฝึก ในฌาน หรือ ใช้ฤทธิ์ (เช่น ดวงตาทิพย์ เป็นต้น) เพราะท่านเห็นว่า การฝึกในฌาน หรือ ใช้ฤทธิ์ นั้นเป็นการฝึกในขณะที่จิตปราศจากนิวรณ์ 5 อย่างแท้จริง ดังนั้นการที่จะตัดกิเลสและบรรลุธรรมย่อมเป็นไปได้ง่ายมากๆอย่างยิ่ง
    สม ดังข้อความ (2 บรรทัดสุดท้าย) ที่ว่า “ เพราะฉะนั้นฤาษีทั้งห้าร้อยนั้น เมื่อไปฟังคำสอนของพระพุทธเจ้าที่แสดงถึงไตรลักษณ์ ฤาษีทั้งห้าร้อยก็สำเร็จได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีพลังจิตอยู่พร้อมแล้ว “


    ขอ ท่านสมาชิกทั้งหลายพึงพิจารณาเนื้อความเหล่านี้ “ด้วยจิตอันบริสุทธิ์เป็นกลางอย่างแท้จริง” แล้วท่านจะได้รับประโยชน์อันยิ่งใหญ่จากคำสอนของพระครูบาอาจารย์ เพื่อจะได้นำไปใช้เจริญวิปัสสนาได้อย่างถูกทางและถูกต้อง ต่อไปด้วยเทอญ


    { คัดลอกมาจาก : หนังสือ “คุณค่าของชีวิต : ธรรมเทศนาแนวทางการปฏิบัติธรรม” (หัวข้อ : สมาธิวิสุทธิ) โดย พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินธโร) หน้าที่ 91 – 92 พิมพ์ครั้งที่ 2 /2543 ของ วัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ }

    โดย...พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินธโร)

    http://www.bp.or.th/webboard/index.php?topic=14176
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]

    ๑๗ อภิญญาสมาบัติ ทิพย์แห่งจิต หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

    บันทึกไว้ในหนังสือกายสิทธิ์โดยอาจารย์ศุภรัตน์ แสงจันทร์
    เป็นเรื่องราวของหลวงปู่ดู่ สมัยที่อาจารย์เคยเป็นศิษย์อยู่กับท่าน
    ผมได้เคยขออนุญาตอาจารย์ด้วยตัวผมเอง
    เพื่อเผยแพร่ข้อมูลที่อาจารย์ได้เขียนขึ้นเพื่อเป็นธรรมทาน
    ซึ่งอาจารย์ได้อนุญาตแล้ว
    เรื่องราวทั้งหมดนี้ ผมได้ลงมือพิมพ์ด้วยตัวผมเองทั้งหมดเมื่อสามปีก่อน
    เพื่อเผยแพร่ในเว็บพลังจิตเป็นครั้งแรก
    มิได้ไปคัดลอกมาจากเวปอื่นแต่ประการใด
    เพราะก่อนหน้านี้ ก็มิได้มีข้อมูลเหล่านี้อยู่ก่อนเลย

    ขอเชิญทุกท่านได้รับรู้เรื่องราวแห่งมหาบารมีของหลวงปู่ดู่ครับ


    ท่านที่สนใจในความสามารถทางจิตของพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลายควรเข้าไปอ่านกันครับ ผมนำมา link ไว้ให้อ่านกันเพลินๆ แล้ว
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    พระราคาหลักร้อยปลายๆ คนระยองรุ่นใหม่ไม่ค่อยเล่นหากัน แต่หากเป็นชาวระยองโดยแท้ จะบอกว่า "โค-ตะ-ระ อภินิหารเลยฮิ" วันนี้เห็นรูปในเวบ เลยนำมาลงให้ชมกัน พระยังหาง่ายๆ อยู่ พวกระยองมือใหม่ บางคนยังไม่รู้จักเลยน่าเอน็จอนาถใจพระบ้านเกิดตัวเองแท้ๆ วันก่อนยังเห็นจำวัดในตู้ที่ร้านเฮียตี๋ตลาดพระระยอง อยู่ 2 องค์แต่ไม่มีคราบลงทอง เลยขอผ่านไปก่อน แต่คิดว่าราคาน่าจะ หกเจ็ดร้อยบาท ใครเจอที่อื่น เก็บท่านไว้เน้อ แล้วจะรู้ว่าดีจังฮิ..

    [​IMG]
    วัดเก๋งจีน ระยองเป็นวัดที่สร้างในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ประวัติการสร้างไม่ชัดเจน
    (ลองนึกเล่นๆดูนะครับ สร้างสมัยอยุธยาตอนปลาย ที่มาของชื่อวัดเก๋งจีน คือมีอุโบสถทรงเก๋ง ศิลป์ช่างจีน
    พระเจ้าตากสินมหาราชมีเชื้อสายชาวจีน ท่านเคยผ่าวงล้อมทหารพม่า จากอยุธยา ไปสะสมกำลังอยู่แถวๆระยอง
    ฟังเค้ามาอีกที่หนึ่งนะ แต่มันก็น่าคิด)


    [​IMG]
    อดีตเจ้าอาวาสวัดเก๋งจีน คือพระอุปัฌชาย์สังข์้เฒ่า
    พระอุปัฌชาย์สังข์เป็นพระที่เรืองวิทยาอาคมมาก ขนาดน้ำลายที่ท่านถมถ้าถูกพื้น ๆ จะแตก
    ท่านเป็นพระสายวิปัสสนากรรมฐาน และยังเป็นอาจารย์ใหญ่ภาคตะวันออกสายเมืองระยอง
    พระอุปัฌชาย์สังข์้นั้นมีศักดิ์เป็นปู่แท้ๆของหลวงปู่ทิม แห่งวัดละหารไร่

    [​IMG]
    ปัจุบัน
    วัดเก๋งจีนได้กลายเป็นวัดร้างอยู่หลายปี
    ก่อนที่จะปรับปรุงเป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดระยอง ในปัจจุบันนี้


    <table id="ncode_imageresizer_warning_14" class="ncode_imageresizer_warning" width="421"><tbody><tr><td class="td1" width="20">[​IMG]</td><td class="td2">ต้องการดูรูปภาพขนาดต้นฉบับเดิมคลิกที่นี่... </td></tr></tbody></table>[​IMG]
    พระกรุเก๋งจีน เป็นพระเนื้อชินตะกั่วสนิมแดงลงรักปิดทอง
    เมื่อผลิกดูด้านหลังจะพบคราบปูนสีขาวอมเหลืองติดอยู่ทุกองค์ไม่มากก็น้อย
    ทั้งนี้เนื่องจากพระวัดเก๋งมิได้ถูกบรรจุอยู่ในกรุ แต่ใช้น้ำอ้อยผสมกับปูนขาวนำไปทาด้านหลังพระทุกองค์
    แล้วนำไปแปะติดประดับประดาตามผนังอุโบสถ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กุมภาพันธ์ 2010
  6. kratium

    kratium เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มกราคม 2007
    โพสต์:
    484
    ค่าพลัง:
    +3,670
    เดือนนี้เป็นเดือนเกิด เลยชวนพ่อและแม่มาร่วมบุญด้วยกันค่ะ เมื่อวานนี้ 4 ก.พ. 2553 เวลา 19.21 น. โอนเงินทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ จำนวน 800 บาท
    อนุโมทนาบุญกับทุกท่านด้วยค่ะ
     
  7. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 12"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 12"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLocal%20Settings%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLocal%20Settings%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLocal%20Settings%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-bidi-font-family:"Cordia New";} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-bidi-font-family:"Cordia New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่กับหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่บรมครู พระครูธรรมเทพโลกอุดร[/FONT][FONT=&quot]
    (คัดลอกจากหนังสือ ตามรอยหลวงปู่ใหญ่ พ.ศ.2549 โดยคุณพรหมินทร์ อึ้งสกุลรัตน์)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]หลวง ปู่ดู่ พรหมปัญโญ เป็นพระอริยสงฆ์อีกรูปหนึ่งที่เคยพบ หลวงปู่บรมครู พระครูธรรมเทพโลกอุดร ดังที่คุณวิรัตน์ โรจนจินดาได้บันทึกไว้ดังนี้[/FONT][FONT=&quot]

    “เหตุการณ์ ครั้งหนึ่ง เกิดขึ้นในช่วงที่ข้าพเจ้า เริ่มตระเวณหา ครูบาอาจารย์ ตามวัดต่างๆ ตามคำแนะนำของผู้ปฏิบัตธรรม วันหนึ่งข้าพเจ้าได้เดินทางไปกราบหลวงปู่ดู่ ที่วัดสะแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อไปถึงนั้นเป็นเวลา 4 โมงเย็น ข้าพเจ้าได้ไปถามเด็กวัดว่า กุฏิหลวงปู่ดู่ อยู่ทางไหน เด็กคนนั้นก็พาข้าพเจ้าไปจนพบตัวท่าน ขณะท่านกำลังอยู่ที่ศาลาริมน้ำ ข้าพเจ้าเข้าไปกราบเท้าท่าน ท่านก็เมตตาและถามว่ามาจากที่ไหน ข้าพเจ้าก็กราบเรียนถามท่านว่า มาจากกรุงเทพฯ ครับ แล้วท่านก็นั่งหลับตาอยู่นานสองนาน จนข้าพเจ้าคิดไปต่างๆ นานาว่าท่านคงไม่สบาย เวลาผ่านไปนานพอสมควร พอท่านลืมตาขึ้นข้าพเจ้าก็รีบถามท่านทันทีว่า หลวงปู่ไม่สบายหรือเปล่า หลานจะไปซื้อยามาถวาย ท่านก็ตอบข้าพเจ้าว่า “ฉันกำลังคุยกับหลวงพ่อเกษมที่ลำปางอยู่ จึงไม่ได้พูดคุยกับเธอ”

    เหตุการณ์ ครั้งนั้นข้าพเจ้าแทบไม่อยากเชื่อเลยว่า หลวงปู่ดู่ ท่านอยู่ถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะสามารถส่งกระแสจิต ติดต่อกับหลวงพ่อเกษมที่จังหวัดลำปางได้ มันเป็นสิ่งที่ไม่น่าจะเป็นไปได้ จิตใจก็เกิดปรามาสท่าน เพราะขณะนั้นข้าพเจ้ายังไม่แตกฉานในเรื่องธรรมะ ภายหลังต่อมาข้าพเจ้าได้เริ่ม ปฏิบัติพระกรรมฐาน เริ่มศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าจึงได้เข้าใจ อย่างลึกซึ้งว่า ท่านคือ พระสุปฏิปันโนรูปหนึ่ง ข้าพเจ้าจึงได้กลับไปที่วัดสะแก อีกครั้งหนึ่ง พร้อมด้วย ดอกไม้ ธูป เทียน และเครื่องสักการะ เพื่อขอขมาลาโทษ ที่ได้เคยล่วงเกินด้วย กาย วาจา หรือใจก็ตาม ท่านก็เมตตาให้โอวาทและอบรมสั่งสอนธรรมะแก่ข้าพเจ้านับแต่นั้นมา

    จาก นั้น ข้าพเจ้าก็ฝากตัวเป็นลูกศิษย์ของท่าน ท่านไดสอนวิปัสสนากรรมฐานจนข้าพเจ้าพอได้รู้ ได้เห็นบ้างตามสมควร ทำให้ข้าพเจ้าทราบว่า พระสุปฎิปันโนนั้นสภาวะจิต สภาวะธรรมของท่านละเอียดอ่อน สามารถติดต่อถึงกันได้ไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลแค่ไหนก็ตาม

    หลังจากนั้น แล้ว ข้าพเจ้าก็ได้คอยรับใช้ท่านอยู่หลายปี ท่านมีเมตตาเล่าเรื่องหลวงปู่ใหญ่ให้ข้าพเจ้าฟังว่า สมัยที่ท่านออกเดินธุดงค์ไปตามป่าเขาลำเนาไพรนั้น วันหนึ่งในฤดูหนาวท่านเดินทางไปถึงดงพญาเย็น แล้วเกิดเป็นไข้มาลาเรียอยู่ท่านกลางป่าดงดิบ ท่านคิดว่าคงจะไม่รอดชีวิตแน่แล้ว แต่จู่ๆ ก็มีพระรูปร่างสูงใหญ่องค์หนึ่งเอายาเม็ดกลมๆ ปั้นเหมือนลูกกลอนมาให้ท่านฉัน 2 เม็ด เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปรากฎว่าอาการไข้กลับทุเลาลงอย่างน่าอัศจรรย์ พอท่านหายพระรูปร่างสูงใหญ่องค์นั้นก็จากไป โดยที่ท่านไม่ทราบว่า พระองค์นั้นชื่ออะไร ภายหลังที่ท่านกลับมาอยุธยา ได้เล่าเรื่องทั้งหมดให้ หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ อาจารย์ของท่านฟัง หลวงพ่อกลั่นหัวเราะแล้วบอกว่า พระรูปร่างสูงใหญ่องค์นี้ ท่านเป็นพระหลายยุค หลายสมัย ท่านเข้ามาเผยแผ่ พระไตรปิฎกในสุวรรณภูมิ คอยค้ำชูบวรพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง ไม่ให้ตกต่ำจนกว่าจะถึงยุคพระศรีอาริย์ พระภิกษุ สามเณร สมณชีพราหมณ์ อุบาสก อุบาสิกา ท่านใดได้พบเห็น ไม่ว่าจะเป็นการทิพย์ หรือ กายเนื้อ ถือเป็นมงคลอันสูงสุด

    หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ ท่านเป็นหน่อพุทธภูมิที่จุติลงมาเพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา ท่านเพียรสั่งสอนอบรมเหล่าบรรดาศิษยานุศิษย์ของท่านให้ปฎิบัติดี ปฏิบัติชอบ เพื่อมิให้ตกไปสู่อบายภูมิ หลังจากละสังขารไปจากโลกนี้แล้ว

    ข้าพเจ้า ได้พบเห็นบารมี ในทางธรรมของท่าน สมัยที่ข้าพเจ้าไปรับใช้ท่านอยู่ เมื่อครั้งท่านสร้างพระสมเด็จ ลักษณะมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับนั่งอยู่เหนือสุดของพระพรหม วิธีการสร้างของท่านนั้น ท่านแกะแม่พิมพ์ขึ้นมาด้วยตัวของท่านเอง รวมทั้งท่านทำผงวิเศษเอง มีตระไคร่โบสถ์ ผลนะปัด ตลอดซึ่งท่านสำเร็จวิชานะปัดตลอดมาจากครูบาอาจารย์ของท่าน ซึ่งวิธีการนั้น ทำได้โดยใช้ชอล์คเขียนอักขระ เลขยันต์ลงบนกระดานชนวน เมื่อเขียนเสร็จแล้วก็ใช้มือลูบเบาๆ ที่อักขระ เลขยันต์นั้น ผงวิเศษก็จะทะลุกระดาษชนวนลงไปในบาตร จากนั้นนำผงวิเศษนี้ไปผสมกับปูนขาว ปั๊มออกมาเป็นพระสมเด็จตามต้องการ

    พระที่หลวงปู่สร้างไว้รุ่นแรกๆ นี้ วิธีการอธิษฐานจิตของท่านเป็นเรื่องแปลกมหัศจรรย์ และเล่าขานสืบต่อมาดังนี้

    ท่าน จะนำพระที่สร้างไว้แล้ว เข้าไปไว้หน้าพระประธานในโบสถ์ โยงสายสิญจ์จากโบสถ์มาที่กุฎิของท่าน แล้วปิดหน้าต่างทุกบานรวมทั้งประตูโบสถ์ก็ล็อคกุญแจเรียบร้อย วันนั้นเป็นวันอาสาฬหบูชา เมื่อพระภิกษุ สามเณร สมณชีพราหมณ์ และอุบาสิกาที่ไปปฏิบัติธรรมกับท่าน ทำวัตรเย็นเสร็จเรียบร้อยแล้วท่านก็กล่าวว่า

    “วันนี้เป็นวันดี ฉันจะเชิญองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอริยสาวกทุกพระองค์ และครูบาอาจารย์ของฉันมี หลวงปู่บรมครู พระครูธรรมเทพโลกอุดร หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ มาร่วมอธิษฐานจิตในเวลาสองยามของค่ำคืนนี้ ขอให้ทุกคนจงร่วมจิตอธิษฐานด้วย”

    พอ ได้เวลาสองยาม ท่านก็นั่งลงจุด ธูป เทียน สักการะบูชา องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าและท่านเองก็นั่งสมาธิอธิษฐานจิตพระเครื่องของ ท่านด้วย

    และแล้วสิ่งมหัศจรรย์เหลือเชื่อก็บังเกิดขึ้น เหล่าบรรดาพระภิกษุ สามเณร และอุบาสก อุบาสิกา ตลอดจน สมณชีพราหมณ์ ที่นั่งอยู่ในนั้น ต่างได้ยินเสียงสวดมนต์ดังออกมาจากโบสถ์ ซึ่งปิดสนิทหมดทุกด้าน และไม่มีใครอยู่ในนั้นเลย !!!

    พระเครื่องของ หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ รุ่นนี้ ผู้ใดได้ไว้สักการะบูชา พร้อมทั้งปฏิบัติตนอยู่ในศีล ในธรรม มีกาย วาจา ใจบริสุทธิ์ ก็บังเกิดพระธาตุเสด็จมาที่องค์พระนั้นเป็นที่อัศจรรย์[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขอประชาสัมพันธ์แจ้งให้ผู้บริจาคเข้าทุนนิธิฯ ทราบนิดนึงครับ เมื่อสักครู่ราวเวลา 17.00 น. ผมได้รับโทรศัพท์ด่วนจาก รพ.แม่สอด จ.ตาก ว่า คาดว่าในคืนนี้ จะมีพระมรณภาพที่ รพ. 1 รูป ซึ่งพระรูปนี้ได้เข้าออก รพ.หลายครั้งมาแล้ว และส่วนใหญ่ใช้เงินของทุนนิธิฯ รักษามาโดยตลอด แต่คราวนี้อาการท่านหนักมาก เพราะเป็นมะเร็งที่ลำไส้ใหญ่ส่วนปลายระยะสุดท้่ายมีอาการปวดท้องรุนแรงมากและมีอาการบวมน้ำตามร่างกายหลายที่ โดยในขณะนี้อยู่ในห้องผู้ป่วยหนักและใช้เครื่องช่วยหายใจอยู่โดยที่มีชีพจรที่เต้นอ่อนลงเรื่อยๆ ร่างกายไม่ตอบสนองในทางการแพทย์รวมถึงเรื่องการฉันและการข้บถ่ายแล้ว โดยเมื่อปลายเดือนที่แล้ว รพ.เพิ่งถวายผ้าห่มหนาวไปให้ท่านเอง กอรปกับญาติๆของพระรูปนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและมีฐานะยากจนมาก จึงได้โทร.มาขอความช่วยเหลือในเรื่องค่าโลงศพ ค่าส่งศพ รวมถึงผ้าไตรสำหรับทอดหน้าศพตามที่ผมได้แจ้งไว้กับทุก รพ.ว่า หากมีพระรูปใดที่มีฐานะยากจนและขัดสนในเรื่องเหล่านี้แล้ว ให้แจ้งมาที่ทุนนิธิฯ เพื่อที่จะได้ช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษให้ โดยในกรณีนี้ทาง รพ.แจ้งมาว่าจะใช้เงินไม่เกิน 10,000.- ดังนั้น ผมจึงได้รับปากที่จะช่วยให้ท่านทันทีในฐานะประธานทุนนิธิฯ และจะได้นำเข้าที่ประชุมอย่างเป็นทางการในสัปดาห์หน้าต่อไป และหากท่านใดที่ประสงค์จะมีส่วนร่วมในตรงนี้ ก็อย่างเดิมคงต้องใช้วิธีเอาใจเป็นใหญ่ เอาใจเป็นประธาน จะบริจาคมาคราวนี้หรือคราวหน้าก็ต้องใช้วิธีการอธิษฐานจิตขอให้มีส่วนร่วมในบุญนี้ด้วยเช่นกัน ว่าครั้งหนึ่งท่านได้มีส่วนร่วมในค่าโลงศพ ค่าขนส่งศพ และได้มีส่วนในการบริจาคเพื่อซื้อผ้าไตรสำหรับทอดหน้าศพให้พระสงฆ์ที่ถึงกาลมรณภาพรูปนี้ด้วย สำหรับพระรูปนี้ รายละเอียดตามที่ทางเจ้าหน้าที่พยาบาลส่งมาให้ด่วนมีดังนี้ครับ

    พภ.สนศิล กาวิละเดช อายุ46ปี
    วัดบุญญาวาส ต.แม่สอด อ.แม่สอด จ.ตาก
    16/25 ถ.อินทรคีรี อ.แม่สอด จ.ตาก
    <style>.hmmessage P { PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px } BODY.hmmessage { FONT-FAMILY: Verdana; FONT-SIZE: 10pt } </style><style title="owaParaStyle">BODY { SCROLLBAR-ARROW-COLOR: #3f52b8; SCROLLBAR-DARKSHADOW-COLOR: #fafafa; SCROLLBAR-BASE-COLOR: #f7f7f7; SCROLLBAR-HIGHLIGHT-COLOR: #cecfce; SCROLLBAR-TRACK-COLOR: #fffbff } </style>

    [​IMG]

    ในภาพท่านกำลังให้พรผู้ที่ถวายผ้าห่มทีทุนนิธิฯ บริจาคปัจจัยซื้อให้ท่าน และตัวแทนมอบโดย จนท.พยาบาลของหอสงฆ์อาพาธ รพ.แม่สอดครับ

     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขออนุโมทนาและสาธุบุญกับครอบครัวของน้องเทียมด้วย และขอให้มีความสุขในวันเกิดสำหรับน้องรักคนนี้ด้วยเช่นกัน
    สำหรับผู้ที่บริจาคท่านอื่นคงยังไม่รู้ว่า ครอบครัวของน้องเทียมนี้จริงๆ แล้วต่างศาสนากับเรา แต่ด้วยน้องเทียมมีใจที่ยึดมั่นในทานมัยมาก มีศรัทธาในการบริจาคช่วยสงฆ์อาพาธมานานนับปี นับเป็นผู้ที่มีอุปการะคุณแก่พุทธศาสนาในเรื่องสงฆ์อาพาธเป็นอย่างมาก สุดท้ายโดยส่วนตัวพี่นับถือน้ำใจน้องเทียมคนนี้ด้วยความดีของน้องที่ได้ปฏิบัติมาอย่างสม่ำเสมอพร้อมกับผู้ที่บริจาคท่านอื่นๆ ด้วยจริงๆ และขอมอบเค๊กก้อนใหญ่ข้างล่างให้น้องในโอกาสนี้อีกครั้ง สุขสันต์็วันเกิดครับ...

    [​IMG]


     
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เมื่อเวลา 19.50 ที่ผ่านมา ได้รับทราบจากทาง รพ.แม่สอด แล้วว่า พระภิกษุสนศิล กาวิละเดช ข้างต้น ได้มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบและทาง รพ.จะได้ดำเนินการตามที่ได้หารือกับทุนนิธิฯ ไว้ และได้ขอโมทนาบุญกุศลมาพร้อมกับผู้ที่บริจาคให้ทุนนิธิฯ ด้วย (น้อง จนท.พยาบาลผู้นี้ นับถือศาสนาอิสลามครับ) และเช่นเดียวกัน ในนามของทุนนิธิฯ ก็ต้องขอขอบคุณกับทุกๆ ท่านที่ได้บริจาคปัจจัยของท่านเข้ามาเพื่อสงฆ์อาพาธ และหากทาง รพ.รักษาท่านไม่หาย และถึงกาลมรณภาพ ทุนนิธิฯ ก็จะสงเคราะห์พระรูปนั้นจนถึงที่สุด หากทาง รพ.ต้นทางที่รักษาทุก รพ.ที่ทุนนิธิฯ ได้โอนปัจจัยช่วยเหลือไว้ ได้พิจารณา และร้องขอความช่วยเหลือมา

    บุญกุศลในการบริจาคให้สงฆ์อาพาธ ซื้อโลงศพ ช่วยค่าส่งศพ พร้อมถวายผ้าไตรหน้าศพ มีขนาดไหน ก็ลองหาอ่านดูตามเวบต่างๆ ได้ ในนามคณะกรรมการทุนนิธิฯ ขออนุโมทนาในบุญและกุศลที่เกิดขึ้นในครั้งนี้จงมีแด่ทุกท่านที่ได้บริจาคปัจจัยเข้ามาเป็นเสบียงบุญไว้เลี้ยงตัวกับทุนนิธิฯ แห่งนี้อีกครั้งหนึ่งครับ

    [​IMG]


     
  11. noppornl

    noppornl เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    1,607
    ค่าพลัง:
    +8,008
    วันนี้ผมได้โอนเงินร่วมบุญด้วยแล้วนะครับ ตามข้างล่างครับ

    กุศลอันใดที่เกิดขึ้นจากการนี้ขอมอบให้แก่
    บิดามารดาครูบาอาจารย์ผู้อุปการะผู้อุปถัมป์
    เจ้ากรรมนายเวรของข้าพเจ้ารอบครอบจักรวาล

    ---------------------------------------
    รายละเอียดการทำรายการ
    วิธีโอนเงิน ออนไลน์ (06.00 - 21.00)
    จากบัญชี นาย นพพร ลัทธิธรรม
    ธนาคารเจ้าของบัญชี ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

    เพื่อเข้าบัญชี 348-1-23245-9 ศ. ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    ชื่อเจ้าของบัญชีในฐานข้อมูล PRATOM F.
    จำนวนเงิน (บาท) 555.00
    ค่าธรรมเนียม (บาท) 25.00
    วันที่โอนเงิน 06/02/2010 [20:17:24]
     
  12. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    โมทนาสาธุครับ
     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    สืบหาพระเครื่องดีสัปดาห์นี้มาเป็นวันเสาร์แทน แต่ยังคงหนีไม่พ้นพระขลังของเมืองระยองซึ่งต่อจากวัดเก๋งจีนอีกหน่อย แต่คราวนี้ เป็นพระสงฆ์ร่วมสมัยกับหลวงปู่ทิม แห่งวัดละหารไร่ แต่ท่านเป็นพระที่ขลังกว่า คลับคล้ายคลับคลาว่าเคยอ่านในหนังสือพระเล่มนึงที่เขียนเอาไว้ถึงพลังจิตของท่านว่าขนาดหลวงปู่ทิมยังบอกว่า "เรื่องยิงไม่ออก ฉัีนขอเวลาเสกสัก 7 วัน" แต่หากเป็น "ท่านเพ่ง แห่งวัดละหารใหญ่ละก็ใช้ได้เลย" (ขออภัยหากข้อความคลาดเคลื่อน)

    ท่านหลวงปู่เพ่ง แห่งวัดละหารใหญ่นี้ นักพระเครื่องรุ่นใหม่ในระยองจะไม่ค่อยรู้จัก แต่หากเป็นรุ่นใหญ่แล้วส่วนใหญ่จะรู้จักหมด เมื่อสักสิบกว่าปีมาแล้ว ท่าน อ.ประถม อาจสาคร เคยเล่าให้ผมฟังถึงเรื่องพลังจิตของท่าน ผมจึงได้มีโอกาสเก็บเหรียญท่านไว้ 1 เหรียญ ด้านหน้าเป็นเหรียญรูปไข่ ด้านหลังเป็นยันต์ใบพัด เก็บมานานนับสิบปี ยังไม่เคยนำมาตรวจสักที เอาไว้มีเวลาจะให้ผู้ที่เป็นฌาณลาภีบุคคลท่านตรวจสอบพลัีงภายในอีกสักครั้ง ได้ผลยังไงแล้วจะได้นำมาบอกกัน เอาเป็นว่า วันนี้เรามาอ่านประวัติท่านก่อนดีกว่าครับ

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td bgcolor="#ffffff">
    </td> <td class="titles" bgcolor="#ffffff" width="477">พระอธิการเพ่ง สาสโน</td> <td align="right" bgcolor="#ffffff">[​IMG]</td> </tr> <tr><td colspan="3">[​IMG]</td> </tr> <tr><td colspan="3" class="main" background="images/article_bg.gif" valign="top" height="214"> <!----------------------start message------------------------------------------------------------------------------> [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG] อดีตเจ้าอาวาสที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักคือเปรียญแดง ( หรือแตง ) เจ้าอาวาสรูปแรกเป็นชาวอยุธยา มาเปิดสอนภาษา บาลีมูลกระจาย พร้อมทั้งสร้างวัดควบคู่ไปด้วย รูปที่ 3 คือ หลวงปู่สังข์เฒ่า เจ้าพุทธาคม และรูปที่ 8 พระอธิการเพ่ง สาสโน ซึ่งขออนุญาตนำประวัติของท่านมาเล่าโดยสังเขป พร้อมกับประวัติหลวงพ่อสิน เจ้าอาวาสปัจจุบัน ศิษย์หลวงพ่อเพ่ง สาสโน และศิษย์หลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG] หลวงพ่อเพ่ง สาสโน เกิดในตระกูลแก้วสว่าง ชาวบ้านตาสิทธิ์ ( หมู่ 7 ตำบลหนองละลอกปัจจุบัน ) ท่านเขียนประวัติไว้ว่า ท่านเป็นมหาดเล็กของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ได้ตามเสด็จไปฝากตัวเป็นศิษย์หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า พร้อมกับกรมหลวงฯ ต่อมาได้ทูลลาเจ้านายของท่านออกบวชเป็นพระภิกษุ ที่วัดบ้านโพ อำเภอพระราชวังบางปะอินทร์ จังหวัดอยุธยา และออกมาเยี่ยมญาติที่จังหวัดระยอง และมาพำนักที่วัดละหารใหญ่ เมื่อเจ้าอาวาสได้ว่างลง พระครูวิจิตรธรรมานุวัติ ( หลวงพ่อวงษ์ ) เจ้าคณะแขวงบ้านค่าย ได้ตั้งใหพระภิกษุเพ่ง สาสโน รั้งเจ้าอาวาส ต่อมาท่านเจ้าคุณพระพิศาล อดีตเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม เจ้าคณะจังหวัดจันทบุรี ได้มารับหน้าที่เจ้าคณะจังหวัดระยอง จัดการแต่งตั้งให้เป็นพระอธิการเพ่ง สาสโน เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดตั้งแต่ พ.ศ.2478 – 2501 ท่านพัฒนาวัดควบคู่กับการตั้งโรงเรียนประชาบาลสอนนักเรียนในละแวกนั้น เพราะท่านเป็นพระที่มีความรู้แตกฉาน ทั้งภาษาไทย ภาษาขอมโบราณ เป็นพระที่มีความรู้ดี ประสบการณ์ดี ไม่เคยอวดดี แต่ใครอย่ามาลองดี ท่านมีดีให้ดู ดังเช่น ครูวาว บุญปลื้ม ครูประชาบาล วัดไร่ มาถามหลวงพ่อเพ่งว่า หลวงพ่อใครว่าหลวงพ่อมีดี ผมไม่เห็นมีอะไร หลวงพ่อเพ่งไม่ว่าอะไร ท่านเขียนอักษรขอมคำว่า เฑาะ แล้วส่งให้ครูวาว เอาไปยิงต่อหน้าคนหลายๆ คนที่อยู่ในวันนั้น ปรากฏว่า ยิงไม่ออก จากนั้นมามีคนที่มีลูกหลานถูกเกณฑ์ ไปเป็นทหาร ( เดิมเรียกว่าลูกหมู่ ) จะนำแผ่นทองแดง อลูมิเนียม ( ฝาหม้อ ฝาบาตรที่ชำรุด ) มาให้หลวงพ่อเพ่งทำตะกรุดนำติดตัวไปด้วย หลวงพ่อเพ่งมรณภาพ เมื่อ ปี พ.ศ.2502 เมื่อ ทายก ทายิกา ประกอบพิธีประชุมเพลิง( เผา ) สัปเหร่อทำพิธีเผา อย่างไรก็ไหม้ไม่หมด ต้องนิมนต์หลวงปูทิม ทำน้ำมนต์รด และประกอบพิธีให้จึงเผาได้ พุทธาคม ที่หลวงพ่อเพ่งได้ศึกษาไว้ นอกจากของหลวงปู่ศุข วัดมะขามเฒ่าแล้ว ยังศึกษาตำราคู่วัด ซึ่งตำราดังกล่าว ท่านได้ครอบครูและมอบให้ พระครู สุภัททาจารคุณ ( หลวงพ่อสิน ) เจ้าอาวาส วัดละหารใหญ่ รูปปัจจุบัน ศึกษาและเก็บไว้ตนถึงปัจจุบันนี้
    [​IMG][​IMG][​IMG] “อิทธิฤทธิ์...หลวงพ่อเพ่ง, เมตตามหานิยม...หลวงพ่อทาบ, อาคม...หลวงพ่อทิม”
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG] วลีสามประโยคนี้เป็นคำกล่าวของชาวระยองเมื่อเอ่ยถึงหลวงพ่อเพ่ง หลวงพ่อทาบ และหลวงพ่อทิม ภายหลังจากที่หลวงพ่อวงศ์ วัดบ้านค่าย หลวงพ่ออ่ำ วัดหนองกระบอก และหลวงพ่อกาจ วัดหนองสนมได้มรณภาพแล้ว ซึ่งแสดงให้เห็นเอกลักษณ์อันเด่นชัดของพระเกจิอาจารย์แต่ละรูปว่าโดดเด่นไป คนละทาง หลวงพ่อเพ่งนั้น โดดเด่นทางอิทธิฤทธิ์ หลวงพ่อทาบนั้นโดดเด่นทางเมตตามหานิยม ส่วนหลวงพ่อทิมนั้นโดดเด่นเรื่องคาถาอาคม ทั้งสามท่านมีอายุไล่เลี่ยกัน โดยหลวงพ่อทาบแก่กว่าหลวงพ่อทิม ๒ ปี ส่วนหลวงพ่อทิมและหลวงพ่อเพ่งมีอายุเท่ากันเพราะไล่ทหารปีเดียวกัน

    อิทธิฤทธิ์หลวงพ่อเพ่ง ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์รูปนี้อดีตเป็นเจ้าอาวาสวัดละหารใหญ่ ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งของจังหวัดระยอง อยู่คนละฟากแม่น้ำบ้านค่ายกับวัดละหารไร่ หลวงพ่อทิมได้เล่าให้ผู้เขียนฟังว่าหลวงพ่อเพ่งสมัยเป็นทหารเรือ ท่านเคยเป็นบ๋อย (มาจาก Boy ใช้เป็นศัพท์สแลงแปลว่า คนรับใช้) ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ พระบิดาของทหารเรือไทย พระอาจารย์สิน เจ้าอาวาสวัดละหารใหญ่ ซึ่งเป็นศิษย์เอกของหลวงพ่อเพ่งและหลวงพ่อทิมได้เล่าว่า หลวงพ่อนั้นท่านเป็นคนหัวดี สมองไว เก่งทางเลขผานาที การคำนวณ และเก่งทางหนังสือหนังหา เมื่อถูกเกณฑ์เป็นทหารเรือจึงได้รับคัดเลือกให้ไปรับใช้ใกล้ชิดเสด็จเตี่ย หรือกรมหลวงชุมพรฯ ซึ่งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือในยุดนั้น หลวงพ่อเพ่งเป็นผู้ที่ใฝ่ใจทางวิทยาอาคม เมื่อมีโอกาสจึงติดตามเสด็จในกรมไปเล่าเรียนวิทยาอาคมต่างๆ ด้วย เมื่อครบกำหนดการเป็นทหารซึ่งในสมัยนั้นใช้เวลา ๓ ~ ๔ ปี ท่านก็กลับมาบ้านเกิดของท่านโดยบวชเป็นพระภิกษุมาแล้ว และมาจำพรรษาอยู่วัดละหารใหญ่ เจ้าอาวาสองค์ก่อนจึงขอให้หลวงพ่อเพ่งสอนหนังสือแก่กุลบุตรกุลธิดาแถววัดละ หารใหญ่และวัดละหารไร่ นั่นเอง หลวงพ่อสินยังเล่าต่ออีกว่าหลังจากนั้นก็มีพวกเจ้าขุนมูลนายจากกรุงเทพฯ มาเยี่ยมเยียนหลวงพ่อเพ่งเป็นประจำ และมาอยู่ค้างที่วัดละหารใหญ่ครั้งละหลายๆ วัน ส่วนสาเหตุที่ทำให้คนทั่วไปรู้ว่าหลวงพ่อเพ่งมีอิทธิฤทธิ์ด้านคงกระพันเป็น เอกนั้น ก็เพราะวันหนึ่งขณะที่พวกชาวบ้านกำลังเอามีดผ่าไม้รวกอยู่ หลวงพ่อเพ่งมาเห็นเข้าบอกว่า “ผ่าด้วยมีดมันช้า” ว่าแล้วท่านก็เอามือผ่าลำไม้รวกซึ่งผิวของมันคมกริบปานคมมีดโกน แต่ท่านใช้มือผ่าไม้รวกให้ชาวบ้านดูอย่างหน้าตาเฉย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ผู้คนก็ไปขอของดีจากท่านมิได้ขาด บางครั้งขณะที่ท่านกำลังสอนหนังสือเด็กก็มีคนไปรอเพื่อขอให้ลงตะกรุดให้ ผู้เฒ่าผู้แก่แถวๆ วัดละหารไร่เล่าว่า เมื่อชาวบ้านหยิบเอาวัสดุที่เตรียมมาซึ่งมีทั้งแผ่นทองเหลือง แผ่นหม้ออลูมิเนียมตัดเป็นแผ่นๆ มาให้ท่าน หลวงพ่อเพ่งท่านจะหยิบแผ่นโลหะนั้นมาจารอักขระลงไปในแผ่นเพียงตัวเดียว คือ ตัวเฑาะว์มหาพรหม หรือที่เรียกอีกชื่อว่า “ตัวเฑาะว์ใหญ่” จารเสร็จแล้วท่านก็ม้วนเป็นตะกรุด ยกขึ้นจบเหนือศีรษะ แล้วส่งให้ผู้ขอเลย โดยไม่เห็นท่านปลุกเสกอะไร แรกๆ ชาวบ้านไม่แน่ใจก็ลองเอาตะกรุดนั้นวางบนตอไม้ แล้วใช้ปืนยิงลองดู ปรากฏว่า นัดแรกดัง แชะ ด้านทุกราย! ส่วนนัดที่สองด้านบ้าง ยิงออกแต่ไม่ถูกบ้าง บางครั้งมีคนมาขอตะกรุดแต่ไม่มีโลหะมาให้ท่านลง ท่านก็บอกว่ามึงเอาซองห่อยากาแรตนั้นแหละมาลง ปรากฏว่ากระดาษอลูมิเนียมชนิดบางที่ใช้ห่อบุหรี่ตราฆ้องสมัยนั้นก็กลายเป็น ตะกรุดไปอย่างวิเศษก็มี หลวงพ่อเพ่งท่านไม่ได้สร้างพระเครื่องอะไรทั้งสิ้นนอกจากตะกรุดอย่างเดียว ปัจจุบันชาวบ้านแถบนั้นจึงหวงตะกรุดหลวงพ่อเพ่งมากกว่าตะกรุดของหลวงพ่อทิม เสียอีก ! อีกเรื่องหนึ่งที่แสดงถึงอิทธิฤทธิ์หลวงพ่อเพ่งให้เป็นที่ประจักษ์ คือ เมื่อวัดละหารใหญ่มีงาน ชาวบ้านก็ล้างจานชามกันที่สระน้ำหน้าวัดทีละใบๆ หลวงเพ่งท่านมาเห็นเข้าท่านจึงบอกว่า “ล้างแบบนี้ช้าไป เอาใส่แข่งเขย่าเลย” ชาวบ้านก็ทำตามท่าน ถ้วยชามที่เป็นแก้วเป็นกระเบื้องก็ไม่แตก! เป็นที่น่าอัศจรรย์ใจ อาคมหลวงพ่อทิม ในยุคที่หลวงพ่อเพ่งดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดละหารใหญ่อยู่นั้น หลวงพ่อทิมยังเป็นเพียงพระหมอยาเท่านั้น ใครที่เจ็บไข้ได้ป่วยก็พากันไปหาหลวงพ่อทิม แต่ถ้าจะเอาเรื่อง คงกระพัน ยิงไม่ออกฟันไม่เข้า ก็ต้องไปหาหลวงพ่อเพ่ง แต่ทั้งหลวงพ่อเพ่งและหลวงพ่อทาบนั้น ท่านรู้อยู่เต็มอกว่าไม่ว่าด้านคงกระพันหรือเมตตามหานิยมนั้น หลวงพ่อทิมก็ไม่เป็นสองรองทั้งสองรูป แต่หลวงพ่อทิมท่านเป็นพระสำรวมนอบน้อมถ่อมตนจึงเก็บงำไม่ยอมสำแดงออก ก่อนที่หลวงพ่อเพ่งจะมรณภาพ ท่านสั่งลูกศิษย์ใกล้ชิดไว้ว่า เมื่อท่านตายแล้วและศพท่านเผาไม่ไหม้ก็ให้คนไปตามท่านทิมมาช่วยเผา และก็เป็นไปตามคำที่หลวงพ่อเพ่งสั่งไว้

    </td></tr></tbody></table>

    เป็นยังไงบ้างครับ พระขลังแห่งเมืองระยอง เหรียญของท่านในปัจจุบันยังหาได้ราคาไม่แพง แต่เหรียญแท้นี่สิหาลำบาก เอาไว้ได้ผลการตรวจยังไงแล้ว จะมาแนะนำเหรียญรุ่นนี้ให้ครับแต่หากเช่าหาเหรียญลักษณะตามที่ผมบอกข้างต้น ราคาอย่าให้เกิน 500-800 บาทครับ ที่เช่าได้ราคานี้ เพราะคนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักท่านนั่นเอง

    ขอขอบคุณข้อมูลจาก

    วัดละหารใหญ่สังฆาราม


     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขออาลัยหลวงปู่ครูบาดวงดี

    ต่อจากนั้นได้ไปถวายปัจจัยแด่ครูบาดวงดี ที่พักรักษาอาการอาพาธที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
    [​IMG]

    [​IMG]

    ถวายปัจจัยให้ไว้กับพระที่ดูแลหลวงปู่

    [​IMG]

    แจกพระของครูบาดวงดี ได้รับกันทุกท่านที่ไปในวันนั้น

    [​IMG]

    ก่อนกลับได้ถ่ายภาพร่วมกันไว้เป็นที่ระลึกว่าครั้งหนึ่งใน ชีวิต เราเคยมาร่วมกันทำบุญสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ ที่เป็นพระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นอริยะที่หาได้ยาก ณ ปัจจุบันนี้

    โมทนากับทุกๆท่านครับ[/QUOTE]

    เมื่อเช้านี้ท่านครูบาดวงดี สุภัทโท วัดท่าจำปี จ.เชียงใหม่ท่านได้มรณภาพลงแล้วโดยสงบ ด้วยวัยกว่า 103 ปี จึงขอนำภาพเก่าที่ชาวคณะทุนนิธิฯ ไปเยี่ยมท่านพร้อมกับมอบปัจจัยช่วยค่ารักษาท่านที่ รพ.บำรุงราษฏร์เป็นจำนวนเงินกว่า 10,000.-บาท โดยก่อนกลับท่านได้ "มนต์" เหรียญรุ่นกฐินแจกให้คณะทุนนิธิฯ ในวันนั้่นเป็นที่ระลึกทุกคน ในนามของคณะทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ขอใช้ศรัทธาจิตอันบริสุทธิ์ที่มีต่อพระพุทธศาสนากราบขอขมากรรมต่อหลวงปู่ และขอแสดงความเสียใจต่อชาวเชียงใหม่ที่สิ้นอริยสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และปฏิบัติตรงตามพระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปอีกรูปหนึ่งครับ

    สังฆังนะมามิ
    สังฆังนะมามิ
    สังฆังนะมามิ

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กุมภาพันธ์ 2010
  15. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    กราบๆๆๆหลวงปู่ครูบาดวงดีด้วยครับ
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ภาพต่อเนื่องที่ได้รับมาในคืนนี้จาก จนท.ของ รพ.แม่สอด สำหรับการเตรียมงานสวดศพให้ท่าน ในภาพจะเห็นผ้าไตรสำหรับทอดหน้าศพ โดยผ้าไตรของทุนนิธิฯ จะเป็นพานด้านขวามือ และจะถูกวางหน้าศพทุกคืนตามความประสงค์ตามที่ผมไ้ด้แจ้งไว้แล้ว ซึ่งทั้ง 2 รายการนี้ รวมทั้งค่าขนย้ายศพจาก รพ.มายังวัด ล้วนเป็นเงินจากทุนนิธิฯ ที่ได้รับจากการบริจาคของผู้ที่มีจิตใจเป็นบุญกุศลผ่านทุนนิธิฯ แห่งนี้ทุกคน การบริจาคทั้งหมดแม้เพียงเป็นเบื้องหลังแก่ผู้ที่ไปในงานศพ แต่ผมก็ขอให้เป็นเบื้องหน้าสำหรับให้พวกเราได้รู้กันในการอนุเคราะห์พระสงฆ์รูปหนึ่งอันอยู่ในความดูแลเรื่องค่ารักษาพยาบาลจากทุนนิธิฯ มาโดยตลอดและสุดที่แพทย์จะเยียวยารักษาท่านได้ การอนุเคราะห์ในครั้งนี้ จึงเป็นครั้งสุดท้ายที่ทุนนิธิฯ ได้จัดการให้ท่าน และในฐานะผู้บริจาคและมีส่วนร่วมในครั้งนี้ทุกๆ คน ผมขอให้ทุกท่านได้ตั้งจิตอธิษฐานขอเอาบุญนี้เป็นที่ตั้ง และขอเอาบุญนี้ส่งให้เราได้ถึงยังที่หมายปลายทางที่พวกเราปรารถนาด้วยเทอญ...นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ ขอให้ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้าถึงแดนฝั่งพระนิพพานในชาตินี้ด้วยเทอญ. (หลวงปู่เคราท่านให้อธิษฐานเอาในชาตินี้เป็นพื้นก่อน ส่วนจะได้หรือไม่ได้ก็ว่ากันตามวาสนาบารมีของแต่ละท่านครับ เพราะแรงอธิษฐานนั้นจะเป็นตัวมุ่งให้จิตพาไปได้ในระดับหนึ่งเช่นกัน)


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2010
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วันนี้ช่วงเช้าผมกับภรรยาได้ขับรถไปทำบุญกับหลวงพ่อจรัญ ที่ จ.สิงห์บุรี ตามคำบัญชาของหลวงปู่เคราที่ให้พวกเราเร่งรีบไปกราบท่านเพราะเรามีเวลาที่จะทำบุญกับท่านน้อยลงทุกทีแล้ว ขับรถไปเรื่อยๆ ก่อนไปได้อธิษฐานบอกหลวงปู่และหลวงพ่อทั้งสองเรียบร้อย คนมากจริงๆ ถวายเครื่องบูชาเสร็จท่านเหลือบตามองแวบนึง (ปกติท่านจะนิ่งมาก) พอเดินออกมาทานข้าวที่ทางวัดจัดไว้ให้ (คุณวิบูลย์บอกว่าเมื่อไปถึงวัดให้ทานข้าวของวัดด้วย เพราะหลวงพ่อบอกว่าข้าวในวัดท่านเสกไว้ให้คนมาวัดได้ทานแล้วร่ำรวย เลยขอลองสักหน่อย บ๊ะ..แกงลูกชิ้นของแม่ครัวเมืองสิงห์นี่อร่อยจริงสมคำร่ำลือ)

    ขากลับ แวะกราบหลวงปู่เยี่ยมที่วัดประดู่ทรงธรรมที่ อยุธยา ขึ้นไปกราบท่านถึงเตียง บริจาคช่วยค่ารักพยาบาลให้ท่าน พร้อมกับบริจาคช่วยสร้างพระปางปาลิไลย์ที่หน้ากุฏิท่าน แม่ชีที่เป็นลูกสาวท่านบอกว่า น้อยคนที่จะรู้ว่าท่านนอนป่วยอยู่ในกุฏินี้ เพราะทางเข้ากุฏิถูกองค์พระที่กำลังก่อสร้างบังหมดหากไม่สังเกตุจะไม่รู้ว่ามีกุฏินี้อยู่ แถมทางเดินเข้า ก็มีแต่หมาและแมวจรจัดอยู่เกลื่อน หลายคนเลยหมดบุญที่จะมากราบท่าน พอถวายปัจจัยช่วยท่านเสร็จท่านมอบลูกแก้วที่เสกเต็มกำลังก่อนอาพาธมาให้สิบกว่าลูก พร้อมกับอังสะที่เพิ่งถอดออกมาจากท่านมาให้และบอกยิ้มๆ ว่าช่วยซักให้ด้วยน๊ะ (แปลกเหมือนกันเหมือนท่านรู้อะไรสักอย่าง แต่ผมไม่กล้าถาม เพราะปกติผมจะชอบขออังสะพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลายมาตัดแบ่งให้พวกเรานำมาบูชากัน) ท่านแม่ชีนำลูกแก้วพร้อมกับอังสะใส่มือหลวงปู่ แล้วให้หลวงปู่มอบให้ผมเอง ผมจึงถามหลวงปู่ว่าลูกแก้วนี้ดีอย่างไร ท่านยกนิ้วโป้งให้ (ท่านพูดไม่มีเสียงเพราะท่านถูกเจาะคอเพื่อให้อาหารทางสายยาง) ผมได้ทีจึงถามต่อว่า แล้วคนแขวนจะรวยแบบลูกแก้วสารพัดนึกมั๊ยครับ ท่านชอบใจแถมพยักหน้ารับ แล้วทำท่าว่า ให้นำไปเลี่ยมแล้วแขวนไว้ตลอด ท่านแม่ีชีลูกสาวเลยเล่าให้ฟังในประสบการณ์แห่งการใช้ลูกแก้วว่ามีคนนำไปใช้แล้วเห็นผลมาก ปัจจุบันจึงเอาแอบไว้ ใครไม่ขอก็๋ไม่ให้ นี่ก็กะว่าจะให้พวกที่ทำกิจกรรมประจำเดือนที่ รพ.สงฆ์ได้บูชากันเพื่อหาเงินช่วยรักษาพยาบาลท่าน เพราะค่าใช้จ่ายท่านเยอะมาก เอาไว้ช่วงปลายเดือนจะได้ไปเยี่ยมท่านอีกครั้งกะว่าจะใช้เงินส่วนตัวจากเบี้ยเลี้ยงถวายให้ท่านสักห้าพันบาท

    เอ้า...ใครอยู่แถวอยุธยาอย่าลืมไปกราบท่านให้ได้น๊ะครับ ท่านอยู่ในกุฏิหลัังพระปางปาลิไลย์ที่กำลังสร้างอยู่ โดยอยู่ทางซ้ายมือของทางเข้าวัด แม่ชีลูกสาวท่านนี่ก็ไม่ธรรมดาแล้ว อย่าเผลอไปทักอะไรเข้าล่ะ เข้าข่ายปรามาสท่านเหมือนกันนา ก็แม่ชีท่านบอกว่าภูมิธรรมของท่านนั้นเลยที่จะมาเห็นอะไรแล้ว แหมก็ท่านเล่นพิจารณากระดูกท่านจนเห็นเป็นแก้วสว่างใสโดยมีหลวงปู่เป็นเทรนเนอร์นั่นเอง กำลังจะหันหลังกลับ ท่านแม่ชีบอกหลวงปู่เรียก เมื่อเข้าไปนั่งใกล้ๆ หลวงปู่เอานิ้วชี้มาลงตัวเฑาะว์ให้ที่หน้าผากทั้งผมและภรรยา โดยแม่ชีสั่งว่าคราวหน้าให้นำลูกสาวทั้ง 2 คนตามที่ผมเล่าให้ฟังว่ายังมีลูกสาวที่ไม่ได้มาด้วย มาให้หลวงปู่ลงตัวเฑาะว์ให้หมด จะได้คุ้มครองป้องกันอันตรายทั้งหลาย ตรุษจีนนี้ ไม่รู้จะไปทำบุญที่ไหน ผ่านไปอยุธยาไปกราบหลวงปู่ ไปช่วยทำบุญช่วยค่ารักษาพยาบาลให้ท่าน พร้อมกับรับของดีจากท่าน และช่วยสร้างพระปางปาลิไลย์กับแม่ชี ท่านว่าสร้างพระปางนี้แล้ว ผู้สร้างจะไม่มีความอดอยากเพราะจะมีผู้คนมาคอยช่วยเหลือ อุปมาเหมือนกับมีช้างและมีลิงคอยหาอาหารมาถวายให้ ดังรูปที่เราเห็นด้วยนา...จะบอกให้(รูปถ่ายของหลวงปู่ ผมจะนำมาลงให้ดูภายหลังเพราะหลวงปู่ดวงตาท่านใสแจ๋ว แจ่มใสดีมาก เหมือนกับแววตาของ ท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสุวรรณฯ และครูบาดวงดี วัดท่าจำปีที่เพิ่งมรณภาพไปทั้งคู่ ตามที่ผมเคยสังเกตุเห็นครับ)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2010
  18. สิทธิชัยพัทยา

    สิทธิชัยพัทยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2009
    โพสต์:
    52
    ค่าพลัง:
    +304
    ตอนนี้โอนเงินทาง Internet ได้แล้ว ดีใจจังเลย จะได้โอนมาบ่อยขึ้นนะครับ..วันนี้ลองระบบก่อน ก็โอนมา 300 บาทครับ..
     
  19. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886

    ตำนานเหล็กไหล

    เหล็กไหลเป็นโลหะธาตุที่มีความลี้ลับพิสดาร แปลกประหลาดมหัศจรรย์แตกต่างไปจากโลหะธาตุทั้งปวง จึงได้ถูกจัดอยู่ในฐานะ “ธาตุกายสิทธิ์” ที่มีชีวิตจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นไปตามวิบากของกฎแห่งกรรม ที่บันดาลให้วิญญาณในสังสารวัฏมาปฏิสนธิ ในสภาวะที่เป็นโลหะธาตุที่ศักดิ์สิทธิ์มี อิทธิฤทธิ์เหนือธรรมชาติทั่วไป

    ดังนั้น “เหล็กไหล” จึงถือเสมือนหนึ่งเป็น “สัตว์โลกที่มีชีวิต” เผ่าพันธุ์หนึ่งในโลก เพราะเหล็กไหลมีทั้งตัวผู้และตัวเมีย สามารถเคลื่อนไหวได้ เสพบริโภคน้ำผึ้งเป็นอาหาร มีการขับถ่ายออกมาได้ ซึ่งเรียกกันว่า “ขี้เหล็กไหล” นอกจากนี้ยังสามารถเสพกามได้ แต่เป็นการเสพกามกันทางกระแสจิตวิญญาณ เพราะเพียงแต่มีความรู้สึกใคร่ในกามารมณ์ ก็สามารถบรรลุจุดสุดยอดได้ในทันที โดยไม่ ต้องมีการถูกต้องสัมผัสกัน และชอบพักผ่อนหลับนอนในสถานที่สงบตามถ้ำ

    เหล็กไหลจึงจัดเป็นสัตว์ที่ประเสริฐเผ่าพันธุ์หนึ่งของโลก จัดอยู่ในจำพวกเทพ แต่เป็นเทพที่ มาชดใช้วิบากกรรมในโลกมนุษย์ ดังนั้นจึงทำให้มีพวก ยักษ์ คนธรรพ์ ครุฑ นาค คอยให้ความอารักขาอีกทีหนึ่ง เหล็กไหลจึงมีถิ่นกำเนิด และบารมีที่แตกต่างกันไป ตามเผ่าพันธุ์และวรรณะ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ และสมมุติเรียกหาเพื่อให้เห็นความแตกต่างชัดเจนขึ้นเท่านั้น เช่น

    ประเภทของเหล็กไหล

    เรียบเรียงโดย ๛ชมรมผู้สนใจพลังลี้ลับ๛.

    1. เหล็กไหลโกฏิปี
    เป็นเหล็กไหลที่หาได้ยากที่สุด และมีอิทฤิทธิ์มากที่สุดในบรรดาเหล็กไหลทั้งหมด เพราะเนื่องจากตัดได้ยากมาก ถ้าตัดไม่ดีอาจถึงชีวิตได้ และเก็บรักษาได้ยาก เป็นเหล็กไหลที่ยังไม่แข็งตัวตามธรรมชาติ เหล็กไหลโกฏิปี มีลักษณะสีเขียวคล้ายปีกแมลงทับ หรือสีออกประกายรุ้ง และยังสามารถเปลี่ยนสีได้เรื่อยๆ บางที่เรียกเหล็กไหลชนิดนี้ว่า เหล็กไหลปีกแมลงทับ ยังไม่สามารถระบุน้ำหนักได้ และจุดแข็งตัวได้

    ความสามารถ - สามารถล่องหน หายตัวได้ และยังสามารถทะลุผ่านวัตถุได้ทุกชนิด มีคุณสมบัติในการดับพิษไฟ และความร้อนทุกชนิด กินดินปืน แคล้วคลาด มหาอุดคงกระพัน กันสัตว์มีพิษและ ฑูตผีปีศาจได้ทุกชนิด เหมาะสำหรับเสาะหามาเพื่อใช้ในการฝึกอภิญญาและเพิ่มพลังของสมาธิ และสามารถสร้างภาพมายาให้กับเจ้าของได้เช่นกัน เช่น บางครั้งจะแสดงเป็นภาพเจ้าของให้คนอื่นเห็นว่ามีเจ้าของอีกคนนั่งอยู่ข้างๆ คือนั่งอยู่คนเดียว แต่คนอื่นมองเห็นเป็น 2 คนนั้นเอง และมีพลังป้องกันตัวเองสูง สามารถช่วยปรับอุณหภูมิในร่างกายเจ้าของให้มีความสมดุลได้ เช่น เวลาร้อนก็จะแผ่พลังกระแสความเย็นให้ และยามหนาวก็จะปล่อยพลังกระแสความอบอุ่นให้

    สิ่งที่ชอบ - กินพลังงานไฟฟ้าเป็นอาหาร ชอบน้ำผึ้ง และอาบแสงจันทร์เมื่อยามพระจันทร์เต็มดวง ฯลฯ

    2. เหล็กไหลเจ้าป่า
    มีอานุภาพใกล้เคียงกับเหล็กไหลโกฏิปี มีลักษณะสีดำเหมือนนิล กลม หากเป็นประเภทที่หาได้ยากจะยังไม่มีการแข็งตัวตามธรรมชาติ บางแห่งเรียกว่า "พญาสมิงเหล็ก" เพราะมีความเชื่อว่าเหล็กไหลชนิดนี้ มีเทพที่เป็นเจ้าป่าคอยปกปักษ์รักษาอยู่นั่นเอง

    ความสามารถ - มีอานุภาพเป็นรองแค่เหล็กไหลโกฏิปีเท่านั้น สามารถกินดินปืน พลังงานไฟฟ้า ดับความร้อนและพิษร้อนได้ทุกชนิด และสามารถล่องหนหายตัวได้ ป้องกันฑูตผีปีศาจ มีพลังป้องกันตัวเองสูง สามารถช่วยปรับอุณหภูมิในร่างกายเจ้าของให้มีความสมดุลได้ เช่น เวลาร้อนก็จะแผ่ กระแสความเย็นให้ และยามหนาวก็จะปล่อยพลังกระแสความอบอุ่นให้

    สิ่งที่ชอบ - กินพลังงานไฟฟ้าเป็นอาหาร ชอบน้ำผึ้ง และอาบแสงจันทร์เมื่อยามพระจันทร์เต็มดวง ฯลฯ

    3. เหล็กไหลเพลิง
    เป็นเหล็กไหลที่มีพลังธาตุไฟสูงมาก มีสีแดงเลือด สีเนื้อใส ถ้าพลังน้อยลงมาหน่อยจะมีสีแดงเหมือนอิฐมอญ ไม่นิยมนำมาฝังตามร่างกายเนื่องจากมีความร้อนสูง เพราะมีความเชื่อว่าเหล็กไหลชนิดนี้ชอบดูดซับความร้อนจากลาวาใต้โลก และพิษของสัตว์มีพิษต่างๆ "เหล็กประสานกาย"

    ความสามารถ - เด่นในเรื่องสร้างภาพมายาเพื่อป้องกันตัวเองและเจ้าของไม่ให้ได้รับอันตราย และสามารถล่องหนหายตัวได้ ป้องกันฑูตผีปีศาจ มีพลังป้องกันตัวเองสูง ยามหนาวก็จะปล่อยพลังกระแสความอบอุ่นให้เพื่อให้เกิดอุณภูมิที่สมดุลในร่างกายของเจ้าของ ป้องกันไข้ป่า กินดินปืน แคล้วคลาด มหาอุดคงกระพัน กันสัตว์มีพิษและ ฑูตผีปีศาจได้ทุกชนิด

    สิ่งที่ชอบ - ชอบน้ำผึ้ง

    4. เหล็กไหลเงินยวง
    มักอยู่ตามที่ๆมีอากาศเย็นมาก บางแห่งเรียกว่า เหล็กไหลชีปะขาว ค้นมากในแถบเนปาล ธิเบต และแถบที่มีหิมะปกคลุมตลอด เหล็กไหลชนิดนี้ มีสีเงินขาวเป็นยวงคล้ายกับปรอทมีความแวววาวเหมือนโลหะ มักมีวิญญาณของชีปะขาวหรือคนธรรพ์ดูแลรักษาอยู่

    ความสามารถ - สร้างภาพลวงตา และปรับอุณภูมิภายในร่างกายให้กับเจ้าของ ล่องหนหายตัวได้ ใช้ทำน้ำมนต์รักษาโรค ป้องกันคุณผี คุณคน เป็นมหาอุด

    สิ่งที่ชอบ - ไม่ชอบเสพน้ำผึ้ง แต่ชอบแสงจันทร์

    5. เหล็กไหลน้ำ
    มีลักษณะเป็นเหล็กไหลก้อนสีดำเหมือนนิลแกมเขียว บางแห่งที่พบอาจมีสีน้ำตาลอมแดง บางคนจะเรียกว่าเป็น "เหล็กไหลตาน้ำ" เอาล่อแม่เหล็กติด เพราะมักพบเจอได้ตามบริเวณใกล้กับแม่น้ำ ลำธารเสมอๆ เป็นเหล็กไหลที่หาได้ยากอีกชนิดหนึ่ง เพราะไม่ค่อยมีใครรู้จัก คนโบราณมักเอาแร่เหล็กไหลชนิดนี้มาหุงเคี่ยวด้วยคาถาอาคมเพื่อนำมาหล่อเป็นวัตถุกายสิทธิ์หรือเป็นพระพุทธรูป มักพบมากบริเวณลำธารในแถบภูเขาควาย และถ้ำเพียงดิน จังหวัดหนายคาย มักมีวิญญาณของพญานาคเป็นผู้ดูแลรักษา

    ความสามารถ - ดับพิษไฟ - น้ำกรดเข้มข้นสูงได้ทุกชนิด มีความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ที่พกพา มีความสามารถในการสร้างน้ำได้ ล่องหน หายตัวได้

    สิ่งที่ชอบ - ชอบเสพน้ำมะพร้าว

    6. เหล็กเปียก
    มีลักษณะสีสันใกล้เคียงกับเหล็กไหลเงินยวงแต่สามารถเปลี่ยนสีกลับเป็นสีดำได้ และกลับสีไปมาได้ เช่น สีเงินกลายเป็นสีดำ หรือ สีดำกลายเป็นสีเงิน

    ความสามารถ - สามารถรวบรวมความชื้นในอากาศมารวมตัวกันจนกลายเป็นหยดน้ำได้ ป้องกันฟ้าผ่า มีความชื้นสูง สามารถทำให้ดินปืนชื้นได้ บางแห่งพบว่ามีการจำเหล็กไหลชนิดนี้มาหลอมรวมกับเศียรของพระพุทธรูปและสามารถสร้างหยดน้ำซึ่งกลายเป็นหยดน้ำทิพย์ให้เกิดขึ้นในเศียรของพระพุทธรูปได้ เช่นพระพุทธรูปที่วัดตูม จ.อยุธยา เป็นต้น

    7. โคตรเหล็กไหลงอก
    โคตรเหล็กไหลงอกเป็นเหล็กไหลชั้นรอง หรือเหล็กไหลน้ำรอง คือแข็งตัวไปตามธรรมชาติแล้ว ไม่เหมือนกับเหล็กไหลจำพวกน้ำหนึ่งที่ยังมีสภาพเป็นของเหลว ที่ต้องอาศัยถาคาอาคมในการตัด โคตรเหล็กไหลงอกนั้นไม่จำเป็นต้องอาศัยวิชาใดๆในการตัด สามารถนำออกมาได้เลย แต่ต้องทำพิธีขออนุญาตกับเจ้าที่และผู้ดูแลเหล็กไหลชนิดนี้เสียก่อน เพราะอาจจะเกิดอาเพศและอาถรรพ์ต่างๆ ตามมาถึงชีวิตได้ โคตรเหล็กไหลงอกที่ขึ้นชื่อที่พบมากมาจาก 3 แหล่งใหญ่ในประเทศไทยคือ

    1. เขาอึมครึม จ. กาญจนบุรี
    2. เกาะล้าน พัทยา
    3. อ.ลอง จ.แพร่ ที่ชาวบ้านเขาเรียกว่าตับเหล็กเมืองลอง
    4. อ. ปราสาท จ.สุรินทร์
    และตามชายแดนเขตไทยพม่าอีกหลายแห่ง


    โครตรเหล็กไหลงอกมีลักษณะการงอกเหมือนเม็ดไข่ปลาสีดำอมเขียว มีหลายสีสัน เช่น สีรุ้ง สีดำอมเขียว สีดำอมแดง สีดำผสมเงิน เป็นต้น
    มักมีดวงวิญญาณของเจ้าป่าเจ้าเขาดูแลรักษามากมาย ทั้งเทพ คนธรรพ์ และพญานาค หรือมีญาณของพระฤๅษีที่มีตบะวิชาแรงกล้า

    ความสามารถ - ช่วยบรรเทาภัยพิบัติต่างๆที่จะเกิดขึ้นกับโลกได้(ถ้ามีจำนวนมาก) สามารถงอกตัวได้เรื่อยๆ หรือขยายตัวเองให้ใหญ่ขึ้นได้ ป้องกันชีวิตเจ้าของได้ดี สามารถโต้ตอบกับเจ้าของได้ ปรับอุณภูมิร่างกายให้กับเจ้าของ เมื่อถูกสัตว์มีพิษสัตว์กัด ต่อย สามารถฝนด้านหลังของเหล็กไหลนำมาใส่แผลแก้พิษและบรรเทาอาการปวดได้ ไม่กินดินปืนและฟอสฟอรัส

    สิ่งที่ชอบ - ชอบเสพน้ำผึ้ง โดยหยดน้ำผึ้งลงไปบนเหล็กไหล หรือจะน้ำแช่ลงไปเลย หรือว่าจะใส่แก้วเล็กๆวางข้างๆก็ได้เหมือนกัน กินพลังงานไฟฟ้าภายในบ้านได้หากมีภายในบ้านเป็นปริมาณมาก หากเพิ่งถวายน้ำผึ้งให้เสพใหม่ แล้วนำเหล็กไหลมาวางบนมือ เหล็กไหลจะปล่อยคลื่นพลังแรงกว่าปกติเป็นสัญญาณตอบรับ

    ***หากต้องการให้เหล็กไหลเปลี่ยนสีเป็นปีกแมลงทับ ควรนำเข้าพิธีพุทธาภิเษกบ่อยๆ และนั่งสมาธิให้ทุกวัน เหล็กไหลจะค่อยๆ มีการเปลี่ยนสีไปเรื่อยๆ

    8. โคตรเหล็กไหลทรหด
    โคตรเหล็กไหลทรหดมีอิทธิฤทธิ์ใกล้เคียงกับโคตรเหล็กไหลงอกมาก แต่ลักษณะการงอกของโคตรเหล็กไหลทรหดนั้นจะงอกในรูปแบบเป็นก้อนๆ คล้ายก้อนกล้ามเนื้อเพิ่มขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เป็นแร่เย็นเหมาะสำหรับนำมาช่วยในเรื่องการเจริญสมถกรรมฐาน เพื่อช่วยให้มีการสงบสดชื่นมากขึ้น ทั้งจะเพิ่มกำลังจิตให้มีความสงบนานขึ้น(เหมือนกับเหล็กไหลงอกทุกประการ)

    ความสามารถ - โคตรเหล็กไหลทรหดจะเด่นในเรื่องมหาอุด เหมือนกับโคตรเหล็กไหลงอกทุกประการ

    สิ่งที่ชอบ - ชอบเสพน้ำผึ้งและแสงจันทร์ เหมือนกับโคตรเหล็กไหลงอก

    9. โคตรเหล็กไหลย้อย
    เป็นต้นกำเนิดของเหล็กไหลเหล็กไหลหยด มีขนาดใหญ่ตั้งแต่เท่ากำปั้นไปจนเท่าโอ่งใบขนานดย่อมๆก็มี สีดำ บ้างก็สีดำอมแดง บ้างก็สีเงิน หรือบางทีสีรุ้งก็มี มีลักษณะคล้าย เทียนเวลาโดนไฟลน สามารถงอกออกมาได้เรื่อยๆ โดยลักษณะการงอกจะเป็นเม็ด หรือเป็นคล้ายหยดเทียนออกมาเรื่อยๆก็ได้ มีวิญญาณของเจ้าป่าเจ้าเขา คนธรรพ์ พวกลับแลคอยเข้าดูแลรักษา โดยมีญาณของฤๅษีที่มีตบะแก่กล้าประจุอยู่ด้วย

    บริเวณที่พบเป็นจำนวนมาก - อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ ฯลฯ

    ความสามารถ - มหาอุด คงกระพันหนังเหนียว ถ้าเอามาเข้าพิธีปลุกเสกแล้วจะเพิ่มพลังในตัวให้สูงกว่าเดิมมาก ป้องกันภูตผีปีศาจ ล่องหนหายตัวได้

    สิ่งที่ชอบ - ชอบเสพน้ำผึ้ง

    10. เหล็กไหลหยด
    มีลักษณะคล้ายน้ำตาเทียนเวลาโดนความร้อน มักมีขนาดไม่ใหญ่ สีดำด้านไม่มีความแวววาว มีรูพรุนกลวง บางแห่งคนเรียกว่า "เหล็กหยด" หรือ "เหล็กหลบ"ไม่อยู่ในพวกของประเภทโคตรเหล็กไหล และไม่อยู่ในประเภทของเหล็กไหลน้ำหนึ่ง เพราะมีคุณภาพต่ำกว่ามาก มีขนาดเล็กความยาวประมาณ 1 นิ้วชี้ และมีหลายรูปร่างแต่โดยส่วนมากจะมีลักษณะคล้ายน้ำตาเทียน บางทีก็มีลักษณะกลม

    บริเวณที่พบเป็นจำนวนมาก - อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ ฯลฯ

    ความสามารถ - มหาอุด คงกระพันหนังเหนียว ถ้าเอามาเข้าพิธีปลุกเสกแล้วจะเพิ่มพลังในตัวให้สูงกว่าเดิมมาก ป้องกันภูตผีปีศาจ ล่องหนหายตัวได้

    สิ่งที่ชอบ - ชอบเสพน้ำผึ้ง

     
  20. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    910
    ค่าพลัง:
    +4,284
    [​IMG]


    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กุมภาพันธ์ 2010

แชร์หน้านี้

Loading...