รวมปัจจัยอายตนะภายนอก- ที่นำสู่ความสงบภายใน

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย NAMOBUDDHAYA, 8 สิงหาคม 2023.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  2. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    0_nhxEQMgg9pdshGQtit_JHMwlWqQrJU-&_nc_ohc=KXIJPrB8NXgAX9cmdzA&_nc_zt=23&_nc_ht=scontent.fbkk22-3.jpg
     
  3. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +29,710
  4. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  5. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  6. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    เบื้องต้น อย่างหยาบ ---- ภายนอก หมายถึง สิ่งที่มากระทบทางหู ตา จมูก ลิ้น กาย คือ เสียง รูปหยาบอันเกิดจากธาตุสี่ กลิ่น รส สัมผัสทางกายหยาบที่มีธาตุสี่

    อย่างกลาง คือ คุณธรรมของกายละเอียด หรือภพภูมิที่หยาบกว่าเช่น คุณธรรมของกายทิพย์หยาบ คุณธรรมของเทวดาทั้งหกชั้น คุณธรรมของพรหมหยาบ คุณธรรมของพรหมละเอียด

    อย่างละเอียด คือ กิเลส และอาสวะที่เกิดในจิตภายนอก ที่ใจภายนอก (ขันธ์ห้า )
     
  7. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978

    -------

    สิ่งทั้งปวง ฯ หมายถึง สิ่งที่เป็นสังขตธาตุ สังขตธรรม อันปัจจัยในภพสามยังปรุงแต่งได้
     
  8. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    สมาธิคือความตั้งมั่น
    ไม่ได้ตั้งมั่น..ด้วยความปรุงแต่ง
    แต่เป็นความตั้งมั่นอยู่กับผู้รู้...ความว่าง

    หลวงพ่อเยื้อน ขันติพโล
    วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร
    จังหวัดสุรินทร์
    งานวิสาขบูชา พุทธบารมี ๑ ทศวรรษ ประจำปี ๒๕๕๙ เดอะมอลล์ นครราชสีมา วันที่ ๒๔ พ.ค. ๒๕๕๙

    ?temp_hash=88228b6d2aa52f4c2660663219bd0848.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    ?temp_hash=13de28cf55666d6375838f6566f6e8ec.jpg



    ความสุขระดับต่างๆ
    ..............
    กามสุข
    [๙๐] อานนท์ กามคุณ ๕ ประการนี้ กามคุณ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
    ๑. รูปที่พึงรู้แจ้งทางตา ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัด
    ๒. เสียงที่จะพึงรู้แจ้งทางหู ...
    ๓. กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งทางจมูก ...
    ๔. รสที่จะพึงรู้แจ้งทางลิ้น ...
    ๕. โผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้งทางกาย ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจชวนให้รัก ชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัด
    กามคุณ ๕ ประการนี้
    สุขโสมนัสที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยกามคุณ ๕ ประการนี้ เราเรียกว่า กามสุข
    ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ชนทั้งหลายย่อมเสวยสุขโสมนัสที่สงบอย่างยิ่งนี้’ เราก็ไม่คล้อยตามคำของชนนั้น
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะยังมีสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้

    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่า
    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร
    คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้
    ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ชนทั้งหลายย่อมเสวยสุขโสมนัสที่สงบอย่างยิ่งนี้’ เราก็ไม่คล้อยตามคำของชนนั้น
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะยังมีสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้

    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร คือ เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป ภิกษุในธรรมวินัยนี้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสในภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิอยู่ ... บรรลุตติยฌาน ... บรรลุจตุตถฌาน ... อยู่ นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้

    ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ฯลฯ สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไม่กำหนดนานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง บรรลุอากาสานัญจายตนฌานอยู่โดยกำหนดว่า
    ‘อากาศหาที่สุดมิได้’ นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้

    ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ฯลฯ
    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร
    คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุวิญญาณัญจายตนฌานอยู่ โดยกำหนดว่า ‘วิญญาณหาที่สุดมิได้’
    นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้
    ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ฯลฯ
    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร
    คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงฌานได้โดยประการทั้งปวง บรรลุอากิญจัญญา-
    ยตนฌานอยู่ โดยกำหนดว่า ‘ไม่มีอะไร’
    นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้
    ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ฯลฯ
    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร
    คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุเนวสัญญา-
    นาสัญญายตนฌานอยู่
    นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้
    อานนท์ ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ชนทั้งหลายย่อมเสวยสุขโสมนัสที่สงบ
    อย่างยิ่งนี้’ เราก็มิได้คล้อยตามคำของชนนั้น
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร
    เพราะยังมีสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้
    สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้ เป็นอย่างไร
    คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงฌานได้โดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่
    นี้แล ชื่อว่าสุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้
    [๙๑] อานนท์ เป็นไปได้ที่อัญเดียรถีย์ปริพาชกทั้งหลายจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    ‘เป็นไปได้หรือ เป็นไปได้อย่างไรที่พระสมณโคดมกล่าวสัญญาเวทยิตนิโรธ และ
    บัญญัติสัญญาเวทยิตนิโรธนั้นไว้ในสุข’
    อานนท์ อัญเดียรถีย์ปริพาชกทั้งหลายผู้กล่าวอย่างนี้ เธอทั้งหลายพึงค้านว่า
    ‘ท่านทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคไม่ได้ทรงหมายถึงสุขเวทนาเพียงอย่างเดียวแล้ว
    บัญญัติสัญญาเวทยิตนิโรธนั้นไว้ในสุขเลย แต่บุคคลย่อมประสบสุขในฐานะใดๆ มีสุข
    ในฐานะใดๆ พระตถาคตจึงทรงบัญญัติฐานะนั้นๆ ไว้ในสุข”
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสภาษิตนี้แล้ว ท่านพระอานนท์มีใจยินดีชื่นชมพระภาษิต
    ของพระผู้มีพระภาค ดังนี้แล


    ข้อความบางตอนใน พหุเวทนิยสูตร มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=13&siri=9

    ดูเทียบกับ ปัญจกังคสูตร สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=18&siri=213

    หมายเหตุ สรุปได้ว่า พระผู้มีพระภาคทรงแบ่งความสุขออกเป็น ๓ ประเภท คือ
    ๑. สุขที่เกิดจากกามคุณ ๕
    ๒. สุขที่เกิดจากฌาน ๘
    ๓. สุขที่เกิดจากสัญญาเวทยิตนิโรธ (การดับสัญญาและความรู้สึก)


    ที่มา https://web.facebook.com/TipitakaSt...5gIXA7YX8sHV4quZP3Z_Suu7GI2OmJJQ&__tn__=-UC*F
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    การปิดอายตนะที่รู้เห็นนิมิตเรื่อยเปื่อย จนคล้ายจะมีอาการวิปลาส

    มีวิธีบรรเทา หรือแก้ไข ประการสำคัญอย่างหนึ่งคือ ให้ตั้งสติ-สัมปชัญญะ ไว้ที่กายเนื้อ
    เอากายเนื้อนี้เป็นองค์ภาวนา
     
  11. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    ผู้เจริญสติ-สัปชัญญะ มาน้อย แต่ใส่ใจที่จะรู้เห็นในสิ่งต่างๆนอกกายนอกใจ ไม่มีกายและใจตนเป็นที่จรไปเพื่อเกิดปัญญาพ้นทุกข์ จะมีความทุกข์ซ้อนขึ้นอีกจากทุกข์เดิม คือติดในสิ่งที่เป็นกิเลสละเอียด

    เมื่อสติสัมปชัญญะตามความปรุงแต่งแห่งนิมิตที่เกิดไม่ทัน ความวิปลาส ก็เกิดได้มาก
     
  12. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    รู้ แล้วไม่หวั่น- ไม่ไหว คือปฏิปทาที่ควรเจริญ
     
  13. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  14. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  15. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  16. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
  17. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,143
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,005
    ค่าพลัง:
    +69,978
    กระดองเต่ากับกายคตาสติ


    พระผู้มีพระภาคเจ้าอุปมา...
    "เต่า" ที่เดินหากินอยู่ริมลำธาร
    สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งก็เดินมาที่ริมลำธารเช่นกัน


    กายคตาสติ
    การที่จะป้องกันอกุศลธรรมต่าง ๆ ไม่ให้เกิดขึ้น
    ก็สำรวมจิตใจ มีสติสัมปชัญญะอยู่กับกาย
    ตั้ง "สติ" ไว้กับกายอยู่เสมอ
    อยู่กับ "ลมหายใจ" เข้าออกอยู่เสมอ
    เวลาจะไปมองอะไรก็พิจารณาก่อน
    ลดการสัมผัสที่ไม่จำเป็นลง
    การดูหนัง ฟังเพลง
    ซีรีส์ เรื่องราวข่าวสารต่าง ๆ
    อะไรที่มันไม่ได้จำเป็นกับชีวิต
    ก็ค่อย ๆ ลด ละ สละ วาง
    ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า..
    จิตนี้ประภัสสรผ่องใสมาแต่เดิม
    แต่เศร้าหมองเพราะอุปกิเลสที่จรมา
    เหมือนผ้าขาวบาง
    ที่ตกลงไปในบ่อน้ำคลำที่สกปรก
    อะไรจะเกิดขึ้น ?
    ผ้าขาวนั้นก็ซึมซับสิ่งสกปรก
    จากผ้าที่ขาวสะอาด
    ก็กลายเป็นผ้าที่สกปรก
    "จิต" นี้ก็เช่นกัน
    จากจิตใส ๆ ซึมซับอารมณ์ต่าง ๆ ในโลก
    รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสต่าง ๆ
    โดยเฉพาะยุคนี้มากเลยนะ
    ก็ซึมซับสิ่งเหล่านี้เข้าสู่ใจ
    เกิดความหนักความร้อน
    จิตก็มีแต่ความเป็นอกุศลขึ้นมาอยู่เนือง ๆ
    สังเกตคนยุคนี้จะมีความคิดลบ
    คิดไม่ดีเยอะ ก็เร่าร้อน
    พอคิดไม่ดีก็ส่งผลให้
    คำพูด การกระทำต่าง ๆ ที่ไม่ดี
    ทำให้เกิดความเสียหาย
    ทั้งต่อตนเอง และผู้อื่นมากมาย
    การที่จะเพียรป้องกันอกุศลธรรม
    ก็สำรวมอินทรีย์
    เป็นธรรมดาที่คฤหัสถ์ฆราวาส
    ก็ต้องใช้ชีวิตอยู่ในโลก
    สัมผัสโลก ก็สัมผัสเท่าที่จำเป็น
    มองไม่เห็นโทษภัยของสิ่งเหล่านี้
    #จากความไม่รู้
    เราไปแสวงหาความสุข
    รสอร่อย จากสิ่งภายนอก
    ไปดูหนัง ดูละคร ดูซีรีส์
    ก็มองให้เห็นโทษว่า..
    เกิดความเพลิดเพลินใจแป๊บเดียว
    แต่มันสะสมอะไรหมักหมมในใจเรามากมาย
    สิ่งที่เป็นพิษภัยลงสู่ใจ
    ทำให้มีกิเลสเครื่องเศร้าหมอง
    ทีนี้อยู่กันไม่เป็นสุข
    จากที่เคยอยู่กับความสงบ
    ความไม่มีอะไรได้ ทีนี้กลายเป็นคนขี้เหงา
    ขี้โกรธ ขี้หงุดหงิด ขี้โมโห
    ขี้เอาแต่ใจ ขี้น้อยใจต่าง ๆ
    ความทุกข์ต่าง ๆ ในชีวิตก็มากมาย
    ปัญหาในชีวิตมากมาย
    มาจากการไม่สำรวมอินทรีย์
    เรียนรู้การสำรวมอินทรีย์
    และลดการสัมผัสลง
    จะได้มีโอกาสในการชำระสะสาง
    สิ่งที่มันคั่งค้างอยู่ในจิตใจนั่นเองนะ
    .
    ธรรมบรรยาย โดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร
    เช้าวันที่ 17 ตุลาคม 2566

    ?temp_hash=1bfbf4655a9b410c62bf89f28db20558.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...