พระสมเด็จวัดพระแก้ว พิมพ์ทรงเจดีย์(ใหญ่) พระเกศทะลุซุ้ม พ.ศ.๒๔๐๘

ในห้อง 'ลงประกาศ ซื้อ-ขาย หรือทั่วไป' ตั้งกระทู้โดย uree, 9 ตุลาคม 2011.

  1. uree

    uree Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +39
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เนื้อมวลสารกังไส[/FONT][FONT=&quot] <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เนื้อมวลสารลงชาดสีแดงและรักสีน้ำเงินจากพม่า[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เนื้อมวลสารลงชาดสีแดงและรักสมุกสีดำ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เนื้อมวลสารผงแร่รัตนชาติ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เนื้อมวลสารผงแร่ทองนพคุณ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ครอบครองจะอุดมไปด้วยโภคสมบัติ อำนาจ วาสนา บารมี สุขภาพกายใจสมบูรณ์ อายุยืนยาว [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]- วรรณะองค์พระจะเป็นสีขาว ขาวอมเหลือง ขาวอมเทา สีน้ำตาลทั้งอ่อน และเข้ม เนื้อละเอียด หนึกนุ่ม มันวาว แข็งแกร่ง มีน้ำหนัก ลงชาดสีแดงทาทับด้วยรักสมุกสีดำ และรักน้ำเงินจากประเทศพม่า(ชาด รัก ลอกออกไปบางส่วน) และไม่ลงรัก ชาด ทอง แต่จะปรากฏผงทองนพคุณ และผงแร่รัตนชาติ ทั้งด้านหน้า และด้านหลังสวยงาม[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]- พุทธลักษณะพิเศษ พระพิมพ์นี้แสดงให้เห็นถึงการบำเพ็ญเพียร และบรรลุประจักษ์แจ้งตลอด และให้ระลึกถึงพระธรรมเจดีย์ องค์พระล่ำสันอวบอิ่มสง่างามมาก พระพักตร์กลม พระเกศยาวทะลุซุ้ม พบเส้นพระสอบางๆ พระอุระนูนกว้างสอบลงเป็นรูปตัว วี งดงาม พระนาภีกิ่ว วงพระพาหารับกับพระกรโค้งเรียวสวยงาม พระเพลาขัดสมาธิกว้างโค้งเล็กน้อยเห็นชายจีวรชัดเจน ไม่พบอาสนะ ลักษณะสมาธิที่สง่างาม ฐานทั้งสามชั้นไล่ระดับเหมือนฐานของพระเจดีย์สมส่วน (ฐานหมอน) ปรากฏฐานสิงห์คมขวานไม่ชัดเจนนัก ฐานด้านล่างเป็นหน้ากระดานตัดเฉียง ไม่ตัดขอบข้าง (ลักษณะพิมพ์ถอดยก) กรอบเส้นซุ้มคล้ายหวายผ่าซีกหนานูนสมส่วนห่างขอบเล็กน้อย ด้านหลังขององค์พระเรียบ และไม่เรียบ พบเกาะแก่ง หลุมเล็กๆ รอยปูไต่ หนอนด้น (บางองค์ด้านหลังจะ ปรากฏลัญจกร และรูปสัญลักษณ์ พญาครุฑ จักร ชฎา ช้าง เป็นต้น แต่จะมีเป็นส่วนน้อยเท่านั้น) [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]- พบการแตกลายงาทั้งหยาบและละเอียด และไม่แตกลายงา[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]- ความหนา ๔.๕ มิลลิเมตร ฐานกว้าง ๒.๕ เซนติเมตร สูง ๓.๘ เซนติเมตร [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot](โดยประมาณ)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]- จัดเป็นพิมพ์ที่มีความเป็นเลิศแห่งศิลป์ สวยงาม และหายาก[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ประวัติโดยย่อ [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]การสร้างพระสมเด็จที่บรรจุกรุวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) และวัดบวรสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า) ที่เรียกกันทั่วไปว่า [/FONT][FONT=&quot]“พระสมเด็จกรมท่า และพระสมเด็จวังหน้า” เริ่มในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) พิธีพุทธาภิเษกในแต่ละครั้งก็จัดเป็นพิธีหลวงถูกต้องตามหลักพิธีการมี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี เป็นองค์ประธานในการพุทธาภิเษก[/FONT][FONT=&quot]และพระเกจิอาจารย์ที่ประพฤติดีปฏิบัติชอบชื่อดังหลายรูปในยุคนั้นมาร่วมพิธีนั่งปรกด้วย (ในเรื่องของพิธีหลวง หรือพิธีธรรมดาสามัญนั้นความสำคัญขึ้นอยู่กับพระภิกษุที่เข้าร่วมพุทธาภิเษกเป็นสำคัญ และจะขอกล่าวให้ได้รับความรู้เพิ่มเติมว่าการพุทธาภิเษกพระพุทธรูป หรือพระเครื่องซึ่งเป็นวัตถุมงคลนั้น มงคลที่ถูกบรรจุในวัตถุมงคลเรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]“อิทธิคุณ” อิทธิคุณ คือ พระคาถาในทางไสยศาสตร์ หรือไสยเวททั้งสองด้านคือขาวและดำ พุทธคุณ คือ คำกล่าวพรรณนาคุณของพระพุทธเจ้า หรือการกล่าวถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า แต่ส่วนใหญ่พุทธศาสนิกชนจะนิยมเรียกว่า “พุทธคุณ” ซึ่งก็น่าจะมีส่วนถูกต้องเพราะการเริ่มบทสวดที่จะเจริญพระคาถาใดๆจะต้องเริ่มจากบทสวดในการคำกล่าวพรรณนาคุณของพระพุทธเจ้าก่อนเสมอ)<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ส่วนในเรื่องของแบบพิมพ์มีมากมายหลายพิมพ์ทั้งเป็นพิมพ์ดั้งเดิมหรือพิมพ์นิยมของพระสมเด็จวัดระฆัง และที่แกะแบบพิมพ์ขึ้นมาใหม่ โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าอยู่หัว พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ เจ้ากรมช่างสิบหมู่ และฝีมือช่างสิบหมู่แห่งกรุงรัตนโกสินทร์จึงมีความวิจิตรบรรจง มีความลงตัวทั้งรูปแบบและรูปทรงสวยงามเป็นอย่างยิ่ง โดยแกะจากไม้มะเกลือ หินลับมีด หินอ่อน ปูน และโลหะ (สันนิษฐานว่ามีมากกว่าหนึ่งร้อยพิมพ์) ส่วนมวลสารก็คัดสรรจากหลายประเทศ เช่น จีน พม่า และประเทศในแถบยุโรป ถือเป็นสุดยอดแห่งมวลสาร ในด้านการย่อยสลายมวลสารต่างๆนั้นค่อนข้างที่จะมีความทันสมัยมากกว่ายุคแรกๆ ที่แต่เดิมจากการใส่ครกตำมาใช้เป็นเครื่องบด จึงได้มวลสารที่มีความละเอียดสม่ำเสมอ และได้จำนวนมากขึ้น [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]รหัสพระ[/FONT][FONT=&quot] C 095 ให้เช่าบูชา 25,000 บาท<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] เชิญชม พระสมเด็จวัดพระแก้ว องค์อื่นๆ ได้ที่<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]http://www.phrasomdej.in.th/index.php/2009-10-10-04-31-23 <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ศึกษาเพิ่มเติม[/FONT][FONT=&quot] และค้นหาพระสมเด็จที่ท่านต้องการได้ที่ www.phrasomdej.in.th ศูนย์รวมพระสมเด็จ และแหล่งเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สำหรับผู้ศรัทธา สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]สนใจติดต่อ[/FONT][FONT=&quot] คุณกวินทร์ 086-996-9762 <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]phrasomdejthai@hotmail.com<o></o>[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • PIC_1798.jpg
      PIC_1798.jpg
      ขนาดไฟล์:
      80.4 KB
      เปิดดู:
      2,260
    • PIC_1799.jpg
      PIC_1799.jpg
      ขนาดไฟล์:
      93.5 KB
      เปิดดู:
      245
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 ตุลาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...