นักศึกษามาเดินเรี่ยไร คุณคิดอย่างไร? คุณจะร่วมบุญไหม?

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย NuJulie, 6 มีนาคม 2012.

  1. NuJulie

    NuJulie Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    140
    ค่าพลัง:
    +64
    ได้ไปปฏิบัติธรรมกับเพื่อนๆที่วัดแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี เกิดศรัทธาในสัมมาปฏิบัติของพระ เณร หลักธรรมคำสอนเป็นอย่างยิ่ง และทางวัดกำลังมีโครงการก่อสร้างเจดีย์+อาคารปฏิบัติธรรม(คือใช้เป็นพื้นที่ปฏิบัติ2ชั้นล่าง 2ชั้นบนเป็นพื้นที่ประดิษฐาณพระพุทธรูป พระบรมสารีริกธาตุสำคัญต่างๆ) แต่ยังขาดปัจจัยอีกเป็นจำนวนมาก

    พอกลับมากรุงเทพฯแล้ว อยากจะไปเดินเรี่ยไร ตามเยาวราช ตลาดไท จตุจักร ประตูน้ำ ฯลฯ บอกบุญโดยทำกล่องรับบริจาค ไปเดินกับเพื่อน ใส่ชุดนักศึกษาไป (แต่ว่าเราทำกันเองส่วนตัว ไม่เกี่ยวกับทางมหาวิทยาลัย)

    ไม่ทราบว่าคนเขาจะมองเราอย่างไรบ้าง บอกบุญเดี๋ยวนี้ของปลอมก็มาก เราเองก็ไม่เคยไปเดินบอกบุญแบบนี้ แต่อยากช่วยหลวงตาเจ้าอาวาส ท่านชราภาพมากแล้ว

    ถ้าเป็นคุณ คุณจะคิดอย่างไร คุณจะร่วมบุญด้วยไหม
     
  2. kengjingjung

    kengjingjung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    1,366
    ค่าพลัง:
    +1,494
    ส่วนมากที่เห็นเป็นนักศึกษามาเดินเรี่ยไรยังดูน่าเชื่อถือกว่า
    ที่มาเป็นคันรถแล้วเดินเรี่ยไรตามบ้านครับ
    การที่นักศึกษาเรี่ยไรนั้นส่วนมากไม่ได้ไปบังคับใคร คนที่ให้ก็ให้ด้วยความสมัครใจ
    น่าสนับสนุนครับ :cool::cool::cool:
     
  3. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,731
    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    ว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ<o:p></o:p>
    พ.ศ.๒๕๔๔<o:p></o:p>
    ____________<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของทางราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น<o:p></o:p>
    อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริการราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๔"<o:p></o:p>
    ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป<o:p></o:p>
    ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของทางราชการ พ.ศ.๒๕๓๙<o:p></o:p>
    ข้อ ๔ ในระเบียบนี้<o:p></o:p>
    "การเรี่ยไร" หมายความว่า การเก็บเงินหรือทรัพย์สินโดยขอร้องให้ช่วยออกเงินหรือทรัพย์สินตามใจสมัคร และให้หมายความรวมถึงการซื้อขายแลกเปลี่ยน ชดใช้หรือบริการซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือโดยปริยายว่ามิใช่เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยน ชดใช้หรือบริการธรรมดา แต่เพื่อรวบรวมเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นด้วย<o:p></o:p>
    "เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร" หมายความว่า เข้าไปช่วยเหลือโดยมีส่วนร่วมในการจัดให้มีการเรี่ยไรในฐานะเป็นผู้ร่วมจัดให้มีการเรี่ยไร หรือเป็นประธานกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ที่ปรึกษา หรือในฐานะอื่นใดในการเรี่ยไรนั้น<o:p></o:p>
    "หน่วยงานของรัฐ" หมายความว่า ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับดูแลของรัฐทุกระดับทั้งในราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ<o:p></o:p>
    "เจ้าหน้าที่ของรัฐ" หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ<o:p></o:p>
    ข้อ ๕ ให้ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    หมวด ๑<o:p></o:p>
    บททั่วไป<o:p></o:p>
    ____________<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ข้อ ๖ หน่วยงานของรัฐจะจัดให้มีการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรมิได้ เว้นแต่เป็นการเรี่ยไรตามข้อ ๑๙ หรือได้รับอนุมัติจาก กคร. หรือ กคร. จังหวัด แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้<o:p></o:p>
    หน่วยงานของรัฐซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตในการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร นอกจากจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรแล้ว จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ด้วย ในกรณีนี้ กคร. อาจกำหนดแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐดังกล่าวให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรก็ได้<o:p></o:p>
    ข้อ ๗ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ควบคุมดูแลให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติตามระเบียบนี้โดยเคร่งครัด<o:p></o:p>
    ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการลงโทษทางวินัยแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นตามควรแก่กรณี และในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาเห็นว่าการกระทำนั้นอาจมีเหตุเกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ มีมูลความผิดทางอาญา หรืออาจเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายอื่น ให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งให้หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในเรื่องนั้นเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    หมวด ๒<o:p></o:p>
    คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ<o:p></o:p>
    _____________<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ข้อ ๘ ให้มีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ เรียกโดยย่อว่า "กคร." ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้แทนสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกไม่เกินสี่คนเป็นกรรมการ และผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นกรรมการและเลขานุการ<o:p></o:p>
    กคร. จะแต่งตั้งข้าราชการในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจำนวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการก็ได้ <o:p></o:p>
    ข้อ ๙ ให้กรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้<o:p></o:p>
    ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการใหม่เข้ารับหน้าที่<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามข้อ ๙ กรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตำแหน่งเมื่อ<o:p></o:p>
    (๑) ตาย<o:p></o:p>
    (๒) ลาออก<o:p></o:p>
    (๓) ต้องโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ<o:p></o:p>
    (๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ<o:p></o:p>
    (๕) เป็นบุคคลล้มละลาย<o:p></o:p>
    (๖) นายกรัฐมนตรีให้ออก<o:p></o:p>
    ในกรณีที่กรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ให้นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการแทน และให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่แต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๑ การประชมของ กคร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม<o:p></o:p>
    ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม<o:p></o:p>
    การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๒ กคร. มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    (๑) พิจารณาเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการแก้ไขปรับปรุงระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๒) พิจารณาอนุมัติให้หน่วยงานของรัฐที่ประสงค์จะทำการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรในเขตกรุงเทพมหานคร หรือในเขตท้องที่เกินหนึ่งจังหวัดจัดให้มีการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๓) ตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๔) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำขออนุมัติให้จัดให้มีการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรตามระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๕) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการกับสิ่งของที่หน่วยงานของรัฐได้รับมาจากการเรี่ยไรโดยฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๖) ให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติตามระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๗) มอบหมายให้ กคร.จังหวัด ปฏิบัติการอื่นใดตามที่เห็นสมควร<o:p></o:p>
    (๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ระเบียบนี้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ กคร. หรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย<o:p></o:p>
    เมื่อ กคร. ได้พิจารณาอนุมัติตาม (๒) แล้ว ให้แจ้งให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบด้วย<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๓ กคร. จะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ กคร. มอบหมายก็ได้<o:p></o:p>
    การประชุมของคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานให้นำข้อ ๑๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๔ ให้มีสำนักงานเลขานุการ กคร. ขึ้นในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการและงานอื่นตามที่ กคร. มอบหมาย<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    หมวด ๓<o:p></o:p>
    คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด<o:p></o:p>
    ______________<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ข้อ ๑๕ ให้มีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัดในทุกจังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า "กคร. จังหวัด" โดยออกนามจังหวัดนั้น ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งหนึ่งคน หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัดของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ศึกษาธิการจังหวัด สรรพากรจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด นายกเทศมนตรีนครหรือนายกเทศมนตรีเมืองที่เป็นที่ตั้งจังหวัด ผู้แทนหอการค้าจังหวัด ผู้แทนสมาคมหรือชมรมธนาคารพาณิชย์จังหวัด ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมจังหวัด บุคคลอื่นซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งอีกไม่เกินสามคนเป็นกรรมการ และหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งหนึ่งคนเป็นกรรมการและเลขานุการ<o:p></o:p>
    กคร.จังหวัด จะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในจังหวัดจำนวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการก็ได้<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๖ ให้ กคร.จังหวัด มีหน้าที่ช่วย กคร. ปฏิบัติการในจังหวัด และให้มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    (๑) พิจารณาอนุมัติให้หน่วยงานของรัฐที่ประสงค์จะทำการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรภายในเขตจังหวัด จัดให้มีการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้<o:p></o:p>
    (๒) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ระเบียบนี้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ กคร.จังหวัด หรือตามที่ กคร. มอบหมาย<o:p></o:p>
    เมื่อ กคร. จังหวัด ได้พิจารณาอนุมัติตาม (๑) แล้ว ให้แจ้งหน่วยงานของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินในภูมิภาคนั้นและรายงาน กคร. ให้ทราบด้วย<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๗ ให้นำความในข้อ ๙ ข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๓ มาใช้บังคับกับวาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง การประชุม กคร.จังหวัด และการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานโดยอนุโลม<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    หมวด ๔<o:p></o:p>
    หลักเกณฑ์การเรี่ยไร<o:p></o:p>
    ____________<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ข้อ ๑๘ การเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรที่ กคร. หรือ กคร.จังหวัด แล้วแต่กรณี จะพิจารณาอนุมัติให้ตามข้อ ๖ ได้นั้นจะต้องมีลักษณะและวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    (๑) เป็นการเรี่ยไรที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐนั้นเอง<o:p></o:p>
    (๒) เป็นการเรี่ยไรที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อประโยชน์แก่การป้องกันหรือพัฒนาประเทศ<o:p></o:p>
    (๓) เป็นการเรี่ยไรที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์<o:p></o:p>
    (๔) เป็นกรณีที่หน่วยงานของรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรแล้ว<o:p></o:p>
    ข้อ ๑๙ การเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรดังต่อไปนี้ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุมัติจาก กคร. หรือ กคร.จังหวัด แล้วแต่กรณี<o:p></o:p>
    (๑) เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล และมีมติคณะรัฐมนตรีให้เรี่ยไรได้<o:p></o:p>
    (๒) เป็นการเรี่ยไรที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจำเป็นต้องดำเนินการเพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายหรือบรรเทาความเสียหายที่เกิดจากสาธารณภัยหรือเหตุการณ์ใดที่สำคัญ<o:p></o:p>
    (๓) เป็นการเรี่ยไรเพื่อร่วมกันทำบุญเนื่องในโอกาสการทอดผ้าพระกฐินพระราชทาน<o:p></o:p>
    (๔) เป็นการเรี่ยไรตามข้อ ๑๘ (๑) หรือ (๓) เพื่อให้ได้เงินหรือทรัพย์สินไม่เกินจำนวนเงินหรือมูลค่าตามที่ กคร. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา<o:p></o:p>
    (๕) เป็นการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรตามข้อ ๑๘ (๔) ซึ่ง กคร. ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษายกเว้นให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการได้โดยไม่ต้องขออนุมัติ<o:p></o:p>
    (๖) เป็นการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐอื่นที่ได้รับอนุมัติหรือได้รับยกเว้นในการขออนุมัติตามระเบียบนี้แล้ว<o:p></o:p>
    ข้อ ๒๐ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐได้รับอนุมัติหรือได้รับยกเว้นตามข้อ ๑๘ ให้จัดให้มีการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร ให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    (๑) ให้กระทำการเรี่ยไรเป็นการทั่วไป โดยประกาศหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน<o:p></o:p>
    (๒) กำหนดสถานที่หรือวิธีการที่จะรับเงินหรือทรัพย์สินจากการเรี่ยไร<o:p></o:p>
    (๓) ออกใบเสร็จหรือหลักฐานการรับเงินหรือทรัพย์สินให้แก่ผู้บริจาคทุกครั้ง เว้นแต่โดยลักษณะแห่งการเรี่ยไรไม่สามารถออกใบเสร็จหรือหลักฐานดังกล่าวได้ ก็ให้จัดทำเป็นบัญชีการรับเงินหรือทรัพย์สินนั้นไว้เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้<o:p></o:p>
    (๔) จัดทำบัญชีการรับจ่ายเงินหรือทรัพย์สินที่ได้จากการเรี่ยไรตามระบบบัญชีของทางราชการภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่สิ้นสุดการเรี่ยไร หรือทุกสามเดือนในกรณีที่เป็นการเรี่ยไรที่กระทำอย่างต่อเนื่อง และปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ ที่ทำการของหน่วยงานของรัฐที่ได้ทำการเรี่ยไรไม่น้อยกว่าสามสิบวันเพื่อให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ และจัดให้มีเอกสารเกี่ยวกับการดำเนินการเรี่ยไรดังกล่าวไว้ ณ สถานที่สำหรับประชาชนสามารใช้ในการค้นหาและศึกษาข้อมูลข่าวสารของราชการด้วย<o:p></o:p>
    (๕) รายงานการเงินของการเรี่ยไรพร้อมทั้งส่งบัญชีตาม (๔) ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้จัดทำบัญชีตาม (๔) แล้วเสร็จ หรือในกรณีที่เป็นการเรี่ยไรที่ได้กระทำอย่างต่อเนื่องให้รายงานการเงินพร้อมทั้งส่งบัญชีดังกล่าวทุกสามเดือน<o:p></o:p>
    ข้อ ๒๑ ในการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    (๑) กำหนดประโยชน์ที่ผู้บริจาคหรือบุคคลอื่นจะได้รับซึ่งมิใช่ประโยชน์ที่หน่วยงานของรัฐได้ประกาศไว้<o:p></o:p>
    (๒) กำหนดให้ผู้บริจาคต้องบริจาคเงินหรือทรัพย์สินเป็นจำนวนหรือมูลค่าที่แน่นอน เว้นแต่โดยสภาพมีความจำเป็นต้องกำหนดเป็นจำนวนเงินที่แน่นอน เช่น การจำหน่ายบัตรเข้าชมการแสดงหรือบัตรเข้าร่วมการแข่งขัน เป็นต้น<o:p></o:p>
    (๓) กระทำการใด ๆ ที่เป็นการบังคับให้บุคคลใดทำการเรี่ยไรหรือบริจาคหรือกระทำในลักษณะที่ทำให้บุคคลนั้นต้องตกอยู่ในภาวะจำยอมไม่สามารถปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงที่จะไม่ช่วยทำการเรี่ยไรหรือบริจาคไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม<o:p></o:p>
    (๔) ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐออกทำการเรี่ยไร หรือใช้ สั่ง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือบุคคลอื่นออกทำการเรี่ยไร<o:p></o:p>
    ข้อ ๒๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรซึ่งมิใช่หน่วยงานของรัฐจะต้องไม่กระทำการดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    (๑) ใช้หรือแสดงตำแหน่งหน้าที่ให้ปรากฎในการดำเนินการเรี่ยไรไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาด้วยสิ่งพิมพ์ตามกฎหมายว่าด้วยการพิมพ์หรือสื่ออย่างอื่น หรือด้วยวิธีการอื่นใด<o:p></o:p>
    (๒) ใช้ สั่ง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือบุคคลใดช่วยทำการเรี่ยไรให้ หรือกระทำในลักษณะที่ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือบุคคลอื่นนั้นต้องตกอยู่ในภาวะจำยอมไม่สามารถปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงที่จะไม่ช่วยทำการเรี่ยไรให้ได้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p></o:p>
    บทเฉพาะกาล<o:p></o:p>
    _____________<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ข้อ ๒๓ การเรี่ยไร การเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร หรือการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดในการเรี่ยไรที่ได้รับการอนุมัติหรือได้รับยกเว้นในการขออนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของทางราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของทางราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ และดำเนินการไปก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ก็ให้ดำเนินการต่อไปได้ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของทางราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ จนกว่าจะแล้วเสร็จ<o:p></o:p>
    ข้อ ๒๔ ให้ กคร. และ กคร.จังหวัด ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของทางราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันที่ระเบียบนี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหน้าที่ กคร. และ กคร.จังหวัด ตามระเบียบนี้ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งกรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี แต่งตั้งตามระเบียบนี้เข้ารับหน้าที่<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ประกาศ ณ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๔<o:p></o:p>
    ชวน หลีกภัย<o:p></o:p>
    (นายชวน หลีกภัย)<o:p></o:p>
    นายกรัฐมนตรี <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 41%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="41%">
    <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 18%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="18%">
    <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 41%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="41%">
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ประกาศคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำขออนุมัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มี <o:p></o:p>
    การเรี่ยไรหรือให้หน่วยงานของรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร <o:p></o:p>
    ___________________ <o:p></o:p>
    ด้วยข้อ ๖ วรรคหนึ่ง แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ กำหนดห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการเรี่ยไร หรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร เว้นแต่เป็นการเรี่ยไรตาม ข้อ ๑๙ หรือได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด ฉะนั้น สมควรกำหนดลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำขออนุมัติดังกล่าวเพื่อความเหมาะสมในการปฏิบัติราชการ <o:p></o:p>
    อาศัยอำนาจตามความใน ข้อ ๑๒ (๔) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ จึงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำขออนุมัติให้จัดให้มีการเรี่ยไร หรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรดังต่อไปนี้ <o:p></o:p>
    ข้อ ๑ หน่วยงานของรัฐที่ประสงค์จะทำการเรี่ยไร ให้ยื่นคำขออนุมัติตามแบบ กคร.๑ ท้ายประกาศนี้ <o:p></o:p>
    ข้อ ๒ หน่วยงานของรัฐที่ประสงค์จะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร ของบุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรให้ยื่นคำขออนุมัติตามแบบ กคร.๒ ท้ายประกาศนี้ <o:p></o:p>
    ข้อ ๓ การยื่นคำขอตามข้อ ๑ และข้อ ๒ ให้ยื่นต่อหน่วยงานดังต่อไปนี้ <o:p></o:p>
    (๑) ในกรณีการเรี่ยไรในเขตกรุงเทพมหานคร หรือในเขตท้องที่เกินหนึ่งจังหวัด ให้ยื่นต่อสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี <o:p></o:p>
    (๒) ในกรณีการเรี่ยไรในเขตจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง นอกจากกรณีตาม (๑) ให้ยื่นต่อสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด <o:p></o:p>
    ข้อ ๔ การยื่นคำขอตามข้อ ๑ และข้อ ๒ อาจยื่นโดยวิธีการส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปยังหน่วยงานตามข้อ ๓ (๑) หรือ (๒) ได้ <o:p></o:p>
    ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ <o:p></o:p>
    เดช บุญ-หลง <o:p></o:p>
    (นายเดช บุญ-หลง) <o:p></o:p>
    รองนายกรัฐมนตรี <o:p></o:p>
    ประธานกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    กคร. ๑ <o:p></o:p>
    คำขออนุมัติให้จัดให้มีการเรี่ยไร <o:p></o:p>
    (วัน เดือน ปี)....................................................... <o:p></o:p>
    เรียน ......................................................... <o:p></o:p>
    ชื่อหน่วยงานของรัฐที่ยื่นคำขออนุมัติ .......................................................................... <o:p></o:p>
    ....................................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    วัตถุประสงค์ของการเรี่ยไร ................................................................................................................. <o:p></o:p>
    เป็นการเรี่ยไรเพื่อ ประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐที่ขออนุมัติ <o:p></o:p>
    ให้จัดให้มีการเรี่ยไรโดยตรง <o:p></o:p>
    ประโยชน์แก่การป้องกันหรือพัฒนาประเทศ <o:p></o:p>
    สาธารณประโยชน์ <o:p></o:p>
    ระยะเวลาดำเนินการเรี่ยไรตั้งแต่วันที่..........................................ถึงวันที่................................................. <o:p></o:p>
    วิธีการเรี่ยไร ...................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    ....................................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    พื้นที่การเรี่ยไร ................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    ....................................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    สถานที่หรือวิธีการที่จะรับเงินหรือทรัพย์สินจากการเรี่ยไร.......................................................................... <o:p></o:p>
    เคยทำการเรี่ยไรเรื่องใดมาแล้วหรือไม่ <o:p></o:p>
    เคย ๑. ...................................................... ไม่เคย <o:p></o:p>
    ๒. ...................................................... <o:p></o:p>
    ๓. ...................................................... <o:p></o:p>
    สถานที่ติดต่อ.................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    ........................................................โทรศัพท์.....................................โทรสาร.................................... <o:p></o:p>
    ทั้งนี้ ได้แนบ โครงการจัดให้มีการเรี่ยไร และหรือ รายละเอียดของการจัดให้มีการเรี่ยไร <o:p></o:p>
    หลักฐานการได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร (ถ้ามี) และ หลักฐานอื่น ๆ (ถ้ามี) <o:p></o:p>
    (ลงชื่อ) .................................................... หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    (.................................................) <o:p></o:p>
    (ตำแหน่ง) ................................................. <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p></o:p>
    กคร. ๒ <o:p></o:p>
    คำขออนุมัติให้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร <o:p></o:p>
    (วัน เดือน ปี) ..................................................... <o:p></o:p>
    เรียน .................................................... <o:p></o:p>
    ชื่อหน่วยงานของรัฐที่ยื่นคำขอ.................................................................................... <o:p></o:p>
    ....................................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    ชื่อบุคคลหรือนิติบุคคลที่จัดให้มีการเรี่ยไร.............................................................................................. <o:p></o:p>
    หนังสือการได้รับอนุญาตให้บุคคลหรือนิติบุคคลทำการเรี่ยไร จากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร..................................................................................................... <o:p></o:p>
    วัตถุประสงค์ของการเรี่ยไร................................................................................................................... <o:p></o:p>
    ระยะเวลาดำเนินการเรี่ยไรตั้งแต่วันที่ ..............................................ถึงวันที่............................................ <o:p></o:p>
    วิธีการเรี่ยไร....................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    พื้นที่การเรี่ยไร.................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    สถานที่หรือวิธีการที่จะรับเงินหรือทรัพย์สินจากการเรี่ยไร.......................................................................... <o:p></o:p>
    วิธีการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร................................................................................................ <o:p></o:p>
    เคยเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรเรื่องใดมาแล้วหรือไม่ <o:p></o:p>
    เคย ๑. ...................................................... ไม่เคย <o:p></o:p>
    ๒. ...................................................... <o:p></o:p>
    ๓. ...................................................... <o:p></o:p>
    สถานที่ติดต่อ.................................................................................................................................... <o:p></o:p>
    ........................................................โทรศัพท์.....................................โทรสาร.................................... <o:p></o:p>
    ทั้งนี้ ได้แนบ โครงการจัดให้มีการเรี่ยไร และหรือ รายละเอียดของการจัดให้มีการเรี่ยไร <o:p></o:p>
    หลักฐานการได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร (ถ้ามี) และ หลักฐานอื่น ๆ (ถ้ามี) <o:p></o:p>
    (ลงชื่อ) .................................................... หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    (.................................................) <o:p></o:p>
    (ตำแหน่ง) ................................................. <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    \<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 42%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="42%">
    <o:p> </o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 16%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="16%">
    <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 42%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="42%">
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ประกาศคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    เรื่อง การกำหนหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการกับสิ่งของที่หน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    ได้รับมาจากการเรี่ยไรโดยฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบ <o:p></o:p>
    ______________________ <o:p></o:p>
    โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการกับสิ่งของที่หน่วยงานของรัฐได้รับมาจากการเรี่ยไร โดยฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ <o:p></o:p>
    อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๑๒ (๕) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ ๒๕๔๔ คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ <o:p></o:p>
    เงินหรือทรัพย์สินที่หน่วยงานของรัฐได้รับมาจากการเรี่ยไร ถ้าไม่ต้องจ่ายเพราะไม่อาจดำเนินการตามวัตถุประสงค์แห่งการเรี่ยไรตามที่ได้แสดงไว้ หรือเหลือจ่ายเพราะเหตุใดหรือได้มาโดยฝ่าฝืนระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ให้หน่วยงานของรัฐที่จัดให้มีการเรี่ยไร รายงานให้คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ เพื่อพิจารณาสั่งให้ส่งเงินหรือทรัพย์สินดังกล่าว ไปประกอบการกุศลหรือสาธารณประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใด ตามวัตถุประสงค์ของการเรี่ยไรเดิม หรือตามที่เห็นสมควร <o:p></o:p>
    ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ <o:p></o:p>
    เดช บุญ-หลง <o:p></o:p>
    (นายเดช บุญ-หลง) <o:p></o:p>
    รองนายกรัฐมนตรี <o:p></o:p>
    ประธานกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 43%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="43%">
    <o:p> </o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 15%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="15%">
    <HR align=center SIZE=1 width="100%">
    <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f4f4f4; BORDER-LEFT: #f4f4f4; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 42%; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #f4f4f4; BORDER-RIGHT: #f4f4f4; PADDING-TOP: 0cm" width="42%">
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ประกาศคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ <o:p></o:p>
    เรื่อง การยกเว้นให้หน่วยงานของรัฐทำการเรี่ยไรได้โดยไม่ต้องขออนุมัติต่อคณะกรรมการ <o:p></o:p>
    ควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด <o:p></o:p>
    ตามข้อ ๑๘ (๔) และ (๕) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของ <o:p></o:p>
    หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ <o:p></o:p>
    _____________________ <o:p></o:p>
    โดยที่เป็นการสมควรกำหนดจำนวนเงินหรือมูลค่าทรัพย์สินที่หน่วยงานของรัฐทำการเรี่ยไรได้โดยไม่ต้องขออนุมัติต่อคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐและคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด และสมควรกำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร ตามข้อ ๑๘ (๔) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ ๒๕๔๔ ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรหรือคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด แล้วแต่กรณี <o:p></o:p>
    อาศัยอำนาจตามความใน ข้อ ๑๙ (๔) และ (๕) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงารนของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ <o:p></o:p>
    ข้อ ๑ หน่วยงานของรัฐอาจจัดให้มีการเรี่ยไร โดยไม่ต้องขออนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัดได้ สำหรับการเรี่ยไรตามข้อ ๑๘ (๑) หรือ (๓) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้จำนวนเงินหรือมูลค่าทรัพย์สิน หรือจำนวนเงิน และมูลค่าทรัพย์สินรวมกันไม่เกิน จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท <o:p></o:p>
    ในกรณีที่มีการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่งแล้ว หากได้รับเงิน หรือทรัพย์สินเกินกว่าจำนวนตามที่กำหนดในวรรคหนึ่ง ให้ผู้จัดให้มีการเรี่ยไร แจ้งให้คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐทราบ เพื่อพิจารณาสั่งการให้ส่งเงินหรือทรัพย์สินส่วนที่เกินไปประกอบการกุศลหรือสาธารณประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใดตามวัตถุประสงค์ของการเรี่ยไรเดิมหรือตามที่เห็นสมควร <o:p></o:p>
    ข้อ ๒ ให้หน่วยงานของรัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรขององค์กร สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร และบุคคลหรือนิติบุคคลดังกล่าว เป็นองค์กร สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามประกาศกระทรวงการคลัง ที่ออกตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) ๕ แห่งประมวลรัษฎากร และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุมัติต่อคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ และคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด <o:p></o:p>
    ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ <o:p></o:p>
    เดช บุญ-หลง <o:p></o:p>
    (นายเดช บุญ-หลง) <o:p></o:p>
    รองนายกรัฐมนตรี <o:p></o:p>
    ประธานกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ
    ไม่ทราบว่าระเบียบนี้จะเก่าไปหรือเปล่านะคะ
     
  4. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,731
  5. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,731
    (๑) ในกรณีการเรี่ยไรในเขตกรุงเทพมหานคร หรือในเขตท้องที่เกินหนึ่งจังหวัด ให้ยื่นต่อสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    (๒) ในกรณีการเรี่ยไรในเขตจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง นอกจากกรณีตาม (๑) ให้ยื่นต่อสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจังหวัด <o:p></o:p>


    ที่อำเภอเห็นมีการไปขออนุญาตก่อนทำการเรี่ยไรค่ะ
    อย่างไรก็ตามขออนุโมทนาในจิตอันเป็นกุศลของท่าน
    และยินดีบริจาคค่ะ
     
  6. 19ETA

    19ETA สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +12
    ถ้าไม่น่าตะขิดตะขวงใจแบบชัดเจนเกินไป
    เราเป็นคนนึงที่บริจาคโดยไม่ลังเลค่ะ
     
  7. pim_jai

    pim_jai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    305
    ค่าพลัง:
    +568
    เป็นพิมคงตั้งเป็นกองบุญไว้แถวๆตลาดหรือวัดน่ะค่ะ คือเป็นต้นฟางมัดแล้วก็มีไม้ปักๆ มีซองบริจาค มีสมุดปากกาไว้จดว่าใครทำบุญเท่าไรบ้างค่ะ ง่ายดีออก ไม่ต้องออกแรงเดินหรือยืนให้เหนื่อย
    หรือไม่ก็ถ่ายรูปวัดนั้นที่กำลังก่อสร้าง แล้วมาแปะในกระทู้อินเตอร์เน็ต หลายๆเว็บ เป็นกระทู้ธรรมะบอกบุญให้โอนไปที่บัญชี...น่ะค่ะ
     
  8. pim_jai

    pim_jai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    305
    ค่าพลัง:
    +568
    ไม่รู้ดิ ถ้ามีคนเดินมาขอเรียไรบุญ กับมีกองบุญหรือตู้บริจาคตั้งเอาไว้ พิมชอบทำกับกองบุญหรือตู้บริจาคมากกว่าค่ะ
     
  9. obs2553

    obs2553 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2011
    โพสต์:
    1,289
    ค่าพลัง:
    +176
    จริงค่ะ เดี๋ยวนี้ของปลอมมีมาก

    ความเห็นส่วนตัว ถ้าเป็นในนามชมรมของมหาวิทยาลัยเป็นผู้จัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ์ให้ร่วมบริจาค ดิฉันจะให้ความเชื่อถือมากกว่านะ และน้องๆ น่าจะได้จำนวนเงินบริจาคตามเป้าที่วางไว้เร็วขึ้น เพราะได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคนในมหาวิทยาลัยและคนทั่วไปมากกว่าจะตั้งกล่องขอรับเอง

    ด้วยความตั้งใจดีของน้องกับเพื่อนๆ น่าจะลองไปปรึกษาอาจารย์หรือชมรมอาสาพัฒนา หรือชมรมพุทธศาสนาของมหาวิทยาลัยดู จะได้ทำกันเป็นรูปแบบ มีการแสดงยอดรับบริจาคและบัญชีรายรับ-รายจ่ายให้คนทั่วไปได้รับรู้กัน

    เป็นเครดิตที่ดีสำหรับงานหน้าด้วย (ถ้าคิดจะทำอีก)

    :cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...