ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ในห้อง 'พระไตรปิฎก' ตั้งกระทู้โดย titawan, 16 พฤศจิกายน 2010.

  1. titawan

    titawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มกราคม 2008
    โพสต์:
    2,290
    ค่าพลัง:
    +5,139
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%"><TBODY><TR><TD height=41>ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    </TD></TR><TR><TD align=right>พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%"><TBODY><TR><TD>
    ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระองค์ไม่ทรงแต่งตั้งพระภิกษุรูปใดเป็นศาสดาปกครองคณะสงฆ์สืบต่อจากพระองค์ นอกจากประทานแนวทางไว้ว่า “โดยที่เราล่วงลับไป ธรรมวินัยที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย”

    ชาว พุทธจึงถือเอาพระธรรมวินัยเป็นเสมือนตัวแทนพระศาสดา แต่เนื่องจากพระธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าแสดงไว้สมัยยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ นั้นไม่ได้รับการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรจึงเป็นไปได้ที่พระธรรมวินัยบาง ส่วนจะสูญหายไปภายหลังปรินิพพานของพระพุทธเจ้าถ้าไม่มีมาตรการเก็บรักษาที่ ดี​

    [​IMG] มาตรการในการเก็บรักษาพระธรรมวินัยเรียกว่า การสังคายนา หมายถึง การประชุมสงฆ์จัดระเบียบหมวดหมู่พระะรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้จน สรุปเป็นมติที่ประชุมว่า พระพุทธเจ้าสอนไว้อย่างนี้แล้ว ก็มีการท่องจำถ่ายทอดสืบต่อ ๆ กันมาการสังคายนาพระะรรมวินัยมีขึ้นหบายครังและการนับครั้งของการสังคายนาก็ แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา การสังคายนาที่ทึกฝ่ายยอมรับตรงกันได้แก่การสังคายนา ๓ ครั้งแรกในประเทศอินเดียการสังคายนาครั้งที่หนึ่ง จัดขึ้นใกล้กรุงราชคฤห์ภายหลังที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วได้ ๓ เดือน มีพระอรหันต์ประชุมกัน ๕๐๐ องค์ พระมหากัสสปะเถระเป็นประะานและเป็นผู้สอบถาม พระอุบาลีตอบข้อซักถามเกี่ยวกับธรรมคำตอบของพระอานนท์เริ่มต้นด้วยประโยคว่า “เอวัมเม สุตัง” แปลว่า “ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้”
    ในการสังคายนาครั้งที่สอง ซึ่งจัดขึ้นใน พ.ศ. ๑๐๐ ยังไม่มีการแบ่งพระธรรมวินัยเป็นพระไตรปิฎกอย่างชัดเจน การจัดประเภทพระธรรมวินัยเป็นรูปพระไตรปิฎก มีขึ้นในการสังคายนา ครั้งที่ ๓ ใน พ.ศ. ๒๓๕ จัดขึ้น ณ กรุงปาฏลีบุร ประเทศอินเดีย ไตรปิฎก แปลว่า สามคัมภีร์ หมายความว่า พระธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าแสดงไว้นั้นแบ่งออกเป็น ๓ ปิฎกหรือคัมภีร์ นั่นคือ วินัยปิฎก ว่าด้วยศีลหรือวินัยของภิกษุ ภิกษุณี สุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระธรรมเทศนาทั่วไป ตัวอย่างหรือเรื่องราวประกอบ อภิธรรมปิฎก ว่าด้วยหลักธรรมล้วน ๆ เน้นหนักในเรื่องจิตวิทยา และอภิปรัชญา [​IMG]

    ในสมัยนั้นยังไม่มีการจารึกพระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษร การเก็บบันทึกพระไตรปิฎกต้องอาศัยความจำเป็นเครื่องมือสำคัญ อาจารย์ท่องจำพระไตรปิฎกแล้วบอกปากเปล่าแก่ศิษย์ซึ่งจะต้องรับภาระท่องจำกัน ต่อๆ ไป และเมื่อท่องจำได้ก็มาสวดซักซ้อมพร้อมกัน ทำให้เกิดประเพณีสวดมนต์ การท่องจำและการบอกเล่าต่อๆ กันมาเช่นนี้ เรียกว่า การศึกษาระบบ มุขปาฐะ หมายถึง การเรียนโดยอาศัยคำบอกเล่าจากปากของอาจารย์​

    พระ ไตรปิฎกถูกเก็บรักษาและถ่ายทอดต่อๆ กันมาด้วยระบบการศึกษาแบบมุขปาฐะนี้จนกระทั่งได้รับการจารึกเป็นลายลักษณ์ อักษรลงในใบลานในการสังคายนาครั้งที่ ๔ ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศลังกาใน พ.ศ. ๔๕๐​

    [​IMG] ภาษาที่บันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่า ภาษาบาลี บาลีแปลว่า “ภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์” สันนิษฐานว่าบาลีเป็นภาษาที่ใช้พูดกันในแคว้นมคธในครั้งพุทธกาล เมื่อมีการจารึกพระไตรปิฎกลงในใบลานเป็นครั้งแรก ท่านใช้อักษรสิงหลเขียนภาษาบาลีของพระไตรปิฎกประเทศอื่นๆ ก็ได้จารึกภาษาบาลีลงในใบลานโดยใช้อัการของประเทศนั้น ในปัจจุบันเมื่อการพิมพ์หนังสือเจริญขึ้น พระไตรปิฎกถูกจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มหนังสือทำให้มีพระไตรปิฎกฉบับอักษรต่างๆ เช่นฉบับอักษรสิงหลของลังกา แบบอักษรเทวนาครีของอินเดีย ฉบับอักษรของฉบับอักษรพม่า ฉบับอักษรไทย และแบบอักษรโรมันของสมาคมบาลีปกรณ์ที่อังกฤษ ​

    เมื่อพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ได้รับการเผยแพร่ในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพ่อ ขุนรามคำแห่งมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย พระไตรปิฎกสมัยนั้นยังไม่ถูกจารึกเป็นอักษรไทย ดังปรากฎในหนังสือ สังคีติยวงศ์ ว่าการสังคายาพระธรรมวินัยตรวจชำระพระไตรปิฎกมีขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ใน พ.ศ. ๒๐๒๐ พระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่ อาราธนาพระสงฆ์หลายร้อยรูปให้ช่วยชำระอักษรพระไตรปิฎกในใบลาน ณ วัดโพธารามใช้เวลา ๑ ปีจึงเสร็จการสังคายนา อักษรที่ใช้ในการจารึกพระไตรปิฎกในครั้งนั้นคงเป็นอักษรไทยลานนา​

    [​IMG] การสังคายนาครั้งที่ ๒ ในประเทศไทยมีขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๓๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอาราธนาพระสงฆ์ให้ชำระพระไตรปิฎกซึ่งกระจัดกระจายสูญหายหลังกรุง ศรีอยุธยาถูกพม่าเผาทำลาย การสังคายนาครั้งนี้จัดทำ ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ อักษรที่ใช้จารึกพระไตรปิฎกในครั้งนั้นเป็นอักษรขอม​

    ต่อมาในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๑ - ๒๔๓๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงให้คัดลอกพระไตรปิฎกอักษรขอมในใบลานออกมาเป็นตัวอักษรไทย แล้วชำระแก้ไขและพิมพ์ขึ้นเป็นเล่มหนังสือได้ ๔๙ เล่ม นับเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่ได้มีการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นรูปเล่ม หนังสือด้วยอักษรไทย​

    ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๓ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ คระสงฆ์ได้แปบพรไตรปิฎก ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และได้จัดพิมพ์เป็นการฉลองยี่สิบห้าพุทธศตวรรษใน พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นเล่มหนังสือได้ ๘๐ เล่ม ในการพิมพ์ครั้งต่อมาได้รวมเล่มลดจำนวนเหลือ ๔๕ เล่มเท่าฉบับบาลี​

    [​IMG] ใน พ.ศ. ๒๕๓๐ คณะสงฆ์และรัฐบาลไทยได้จัดงานสังคายนาพระธรรมวินัยตรวจชำระพระไตรปิฎกทั้ง ฉบับภาษาบาลีและภาษาไทยแล้วจัดพิมพ์ขึ้นใหม่เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับสังคายนา เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบนักษัตร​

    ใน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนินีนาถทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบนักษัตร มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ตรวจชำระพระไตรปิฎกภาษาบาลีสำเร็จเรียบร้อย เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย นอกจากนี้ยังได้ตรวจชำระและพิมพ์คำอธิบายพรไตรปิฎกที่เรียกว่า อรถกถาภาษาบาลีอีกด้วย​

    ในวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๓๕ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดงานสัปดาห์สมโภชพระไตรปิฎกและอรรถกถาฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย​

    ใน พ.ศ. ๒๕๓๗ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เห็นสมควรแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยายาลัย เป็นภาษาไทย ที่พระพุทงะศาสนิกชนทั่วไปสามารถอ่านเจ้าใจอรรถธรรมได้ง่าย เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในมหามงคลสมัยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษาและเมื่อความนี้ได้ทราบถึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แล้ว พระดงค์ทรงมีพระกรุณาธิคุณรับเป็นประธานอุปถัมภ์โครงการแปลและจัดพิมพ์พระ ไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย​

    ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้มีพิธีเปิดประชุมการแปลพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ณ พระอุโบสถวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี เป็นประธานฝ่ายคฤกัสถ์​

    โครงการแปลพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีกำหนดแล้วเสร็จในปลายปี ๒๕๓๙​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>ที่มา พลังจิต เว็บพุทธศาสนา ธรรมะ พระไตรปิฎก ลึกลับ อภิญญา วิทยาศาสตร์ทางจิต Buddhism
     
  2. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    [​IMG]
    พุทธพจน์:
    “...ดูกรสุภูติ หากชายคนหนึ่ง
    ทำทานโดยการถวายทาน
    ด้วยสมบัติกองสูงเท่ากับภูเขา
    พระสุเมรุทั้งจักรวาลมารวมกัน
    ส่วนอีกคนหนึ่ง
    รับฟังคำสอนไว้ในใจ
    อ่าน เรียนรู้ จดจำ
    แล้วสั่งสอนผู้อื่น
    บุญกุศลของชายคนแรก
    ยังไม่มากเท่าหนึ่งในร้อย
    หนึ่งในพัน หนึ่งในแสน
    ของบุญกุศลที่ชายคนที่สองได้รับ
    เพราะไม่สามารถจะเปรียบกันได้เลย”

    [​IMG]
    “.......พวกเธอจงเที่ยวไปเพื่อประโยชน์ของคนหมู่มาก
    อนุเคราะห์คนหมู่มากเพื่อประโยชน์แก่สัตว์และมนุษย์ทั้งหลาย
    แต่อย่าไปทางเดียวกันถึงสององค์ จงไปองค์เดียวหลายๆทาง
    นำธรรมอันดี ในเบื้องต้นท่ามกลางที่สุด
    บุคคลทั้งหลาย ผู้มีธุลีน้อยเป็นปกติยังมีอยู่
    แต่ได้เสื่อมจากธรรมเพราะไม่ได้ฟังธรรม
    จงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์
    พร้อมทั้งอรรถพยัญชนะ...”
    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]



    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    ธีโร จะ ทานัง อนุทมาโน
    บุคคลที่ฉลาดพลอยยินดีการให้ทาน
    (ที่มา..พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 ข้อที่ 23)ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ธีโร จะ ทานัง อนุทมาโน
    บุคคลที่ฉลาด พลอยยินดีการให้ทาน
    (ที่มา.. พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 ข้อที่ 23)

    ทาน ศิล สมาธิ ปัญญา
    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ติดตามต้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิให้หลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพานเอย


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    ธีโร จะ ทานัง อนุทมาโน
    บุคคลที่ฉลาด พลอยยินดีการให้ทาน
    (ที่มา.. พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 ข้อที่ 23)

    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ติดตามต้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิไหลหลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพานเอย

    ขออนุโมทนา สาธุ ๆ
    กับท่านทั้งหลายทั้งในอดีตและในปัจจุบันและในอนาคต
    ที่ได้ร่วมกันทำการสังคยนาและสร้างพระไตรปิฎก
    และได้เผยแพร่พระไตรปิฎกพระธรรม
    และได้ร่วมกันสร้างบุญกุศลทุกอย่างด้วยครับ
    การสะสมบุญ เป็น การสะสมความสุขความเจริญ
    นิพพานัง ปัจจโย โหตุ
    นิพพานัง ปรมัง สุขขัง
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    ธีโร จะ ทานัง อนุทมาโน
    บุคคลที่ฉลาด พลอยยินดีการให้ทาน
    (ที่มา.. พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 ข้อที่ 23)

    ทาน ศิล สมาธิ วิปัสสนา(ปัญญา)
    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ติดตามต้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิไหลหลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพานเอย

    [​IMG]
    [​IMG]
    “จิตเต สังกิลิฏเฐ ทุคติ ปาฏิกังขา” <O[​IMG]
    ถ้าก่อนตาย จิตเศร้าหมอง ก็มีทางไปสู่อบายภูมิ มีสัตว์นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน….
    “จิตเต ปาริสุทเธ สุคติ ปาฏิกังขา” <O[​IMG]
    ถ้าก่อนตาย จิตผ่องใส ก็ไปสุคติ อันมี สวรรค์ พรหม หรือ นิพพานก็ได้ ตามกำลังบารมี….
    สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ปญฺญวา สุสมาหิโต
    อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ

    ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล มีปัญญา มีใจมั่นคงดีแล้ว
    ปรารภความเพียรตั้งตนไว้ในกาลทุกเมื่อ
    ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก




    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กรกฎาคม 2012
  3. hidekun

    hidekun Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +31
    ส่วนที่วัดนาป่าพง ใช้บาลีสยามรัฐ เห็นบอกว่ามีความผิด ถูก อย่างไร วอนท่านผู้รู้ช่วยชี้แนะหน่อยเเถอะนะ จะเกิดความสับสนได้ เช่น ศีลมี พันกว่าข้อ และบัวมี 3 เหล่า ฯลฯ
     
  4. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    พระบาลีกล่าวไว้ว่า "เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
    เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น
    เมื่อหลุดพ้น ญาณว่าหลุดพ้นย่อมมีขึ้น"<!-- google_ad_section_end -->

    [​IMG]

    ในความเห็นของผม สวดมนต์แล้วแปลไปด้วย ผมว่าจะได้บุญกุศลมากกว่า
    เพราะทำให้ผู้สวดและผู้ฟัง ได้เข้าใจในหลักธรรมะและง่ายต่อการเข้าใจ
    เช่น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งเป็นยอดของปัญญา ถ้าไม่แปล จะรู้กันใหมครับ
    หรือถ้าจะให้ดีก็แปลให้ต่อเนื่องกันเป็นภาษาไทยตลอดก็ยิ่งจะทำให้ง่ายต่อการเข้าใจ
    ต่อการฟัง และการปฏิบัติ
    เหมือนพระเทศน์ถ้าท่านเทศน์เป็นภาษาบาลีทั้งหมด
    ราจะเข้าใจกันสักกี่คนล่ะครับ
    นี่เป็นความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ
    เหมือนเราอ่านภาษาอังกฤษ คนที่เขาเก่งก็ฟังออก
    แต่คนที่ไม่ได้รู้หรือได้ศึกษามาน้อย
    ก็ฟังไม่ออก ไม่เข้าใจ
    ก็ไม่รู้ว่าจะไปปฏิบัติได้อย่างไร <!-- google_ad_section_end --><!-- / message --><!-- sig -->
    ก็อยากให้พระพุทธศาสนาของเราเจริญมาก ๆ
    อย่างเช่นวันหยุดข้าราชการ ศาสนาอื่น เขาหยุด วันศุกร์ วันเสาร์ อาทิตย์
    แต่ศาสนาพุทธเราไม่หยุด วันโกน วันพระ และให้หยุดหลังวันพระอีก 1 วันยังได้
    เป็น 3 วัน จะได้ประหยัดงบประมาณ น้ำไฟฟ้า รัฐบาล
    และจะได้มีเวลาไปทำบุญ ฟังเทศน์ ฟังธรรม ฯลฯ
    ศาสนาอื่นเขาเคร่งครัดกันมาก ๆ
    แต่ของเราไม่ค่อยให้ความสนใจมากเท่าที่ควร เกิดมาพบพุทธศาสนาแล้ว
    การเกิดเป็นมนุษย์ก็แสนจะยาก การใส่ใจในพุทธศาสนา ซึ่งเป็นของดีของคนไทย
    ก็ยังมีน้อย แต่เวลาตาย เอาไปวัด นิมนต์พระมาสวดให้ไปสวรรค์ นิพพาน
    เราจะไปวัดกันตอนที่เราตายกันหรือครับ

    ศาสนาอื่นเขาสวดมนต์ให้ความสนใจกันมากกว่าเรานะครับ
    ศาสนาเขาถึงเจริญ และเขาก็เกิดศรัทธาในศาสนาเขามาก
    ของเราล่ะครับ เจริญ ทาน ศิล สมาธิ ปัญญา
    กันกี่วัน กี่ครั้ง ให้ผู้มีอำนาจรีบ ๆ ทำซะ
    เกี่ยวกับวัดหยุด วันโกน วันพระ และหลังวันพระ
    เป็น 3 วันของข้าราชการและนักเรียน
    ก่อนที่จะสายเกินไป นะครับ
    ประเทศออสเตเรีย ข้าราชการเขาหยุด 3 วัน
    ประเทศเขายังเจริญก้าวหน้ากว่าเราเลยครับ
    ][​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG][​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG][​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2012
  5. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]


    [​IMG]

    อานิสงส์ที่ยิ่งใหญ่แห่งธรรมทาน การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

    พุทธพจน์:
    “...ดูกรสุภูติ หากชายคนหนึ่ง
    ทำทานโดยการถวายทาน
    ด้วยสมบัติกองสูงเท่ากับภูเขา
    พระสุเมรุทั้งจักรวาลมารวมกัน
    ส่วนอีกคนหนึ่ง
    รับฟังคำสอนไว้ในใจ
    อ่าน เรียนรู้ จดจำ
    แล้วสั่งสอนผู้อื่น
    บุญกุศลของชายคนแรก
    ยังไม่มากเท่าหนึ่งในร้อย
    หนึ่งในพัน หนึ่งในแสน
    ของบุญกุศลที่ชายคนที่สองได้รับ
    เพราะไม่สามารถจะเปรียบกันได้เลย”


    1.)ให้ธรรมเป็นทานชนะการให้ทั้งปวง

    2).ในเชตวันมหาวิหาร ณ กรุงสาวัตถี
    พระสารีบุตรเถระเจ้า ทูลถามกับพระพุทธเจ้า
    "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าชนทั้งหลายให้พุทธศาสนายืนยาวถึง ๕ พันวัสสา
    จะมีอานิสงส์เป็นประการใด พระพุทธเจ้าข้า "

    พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า ดูกรท่านสารีบุตร
    ถ้าชนทั้งหลายมีจิตรศรัทธาเลื่อมใสเช่นนั้นแล้ว
    เมื่อตายไปแล้วก็จักรได้เสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าจักรพรรดิราชถึง ๘ หมื่น ๔ พันกัลป์ ใช่แต่เท่านั้น
    เมื่อเคลื่อนจากความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิแล้ว ก็จะได้เป็นพระราชา มีอนุภาพอีก ๙ อสงไขย
    ต่อจากนั้นก็ได้เสวยสมบัติในตระกูลต่าง ๆ เป็นลำดับไป คือตระกูลพราหมณ์มหาศาล ตระกูลเศรษฐีคฤหบดี และเป็นภูมิเทวดาอากาศเทวดา อย่างละ ๙ อสงไขย
    ต่อแต่นั้นก็จะได้เสวยในสวรรค์ทั้ง ๖ ชั้น เป็นลำดับไปชั้นละ ๘ อสงไขย

    เมื่อ จุติจากชั้นเทวโลกแล้ว มาถือกำเนิดเกิดเป็นมนุษย์ ก็จะมีร่างกายบริสุทธิ์ผุดผ่อง เป็นที่รักใคร่แก่คนทั้งหลายที่ได้พบเห็นทั้งน้ำใจก็บริสุทธิ์
    สุจริตปราศจากบาปธรรมอกุศลทั้งปวง และเป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาดรอบรู้ทั้งทางโลกและทางธรรม

    ดังนี้เป็นต้น ดูกรท่านสารีบุตรเมื่อตถาคตสร้างบารมีอยู่ได้เกิดเป็นอำมาตย์ของพุทธบิดา แห่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า ปุราณโคดม ได้สร้างพระไตรปิฎกไว้ให้สืบองค์ได้ตั้งความปรารถนา ขอตรัสเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งเถิดในอนาคตกาลโน้น สมเด็จพระปุราณโคดมบรมศาสดาทรงพยากรณ์ไว้ว่า อำมาตย์ผู้นี้ต่อไปภายภาคหน้า จะได้ตรัสเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งมีพระนามว่า พระสมณโคดม
    ก็คือพระตถาคต เรานี้เองดังนี้แลก็สิ้นสุดพระกระแสธรรมเทศนา ที่พระบรมศาสดาทรงแสดงแก่พระสารีบุตรเถระเจ้าแต่เพียงเท่านี้<!-- google_ad_section_end -->

    ครั้งนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงมีพระพุทธฎีกาว่า
    “ดูก่อนพระสารีบุตร อันบุคคลผู้ใดสร้างพระไตรปิฎก
    ถวายในพระศาสนานี้ ย่อมได้อานิสงส์เป็นอันมาก
    สุดที่จะนับจะประมาณได้ก็ป่วยการกล่าวไปใยถึงอานิสงส์สิ้นทั้งนั้นเล่า
    เฉพาะอานิสงส์แห่งอักขระตัวเดียว ก็จะนับประมาณมิได้
    สารีบุตรผลานิสงส์แห่งบุคคลผู้ใดสร้างซึ่งอักขระตัวเดียวไว้ ในศาสนา นี้
    ก็อาจให้ผลยังตนให้ประสบสุขสิ้นกาลช้านาน
    คือจะได้เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ์เป็นเวลานานถึง 84,000 กัลป์
    จะได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินในประเทศราชเป็นเวลานานถึง 9 อสงไขย
    จะได้เป็นมหาเศรษฐีคหบดีผู้ใหญ่มีทรัพย์สมบัติมากเป็นเวลานาน 9 อสงไขย
    และเสวยทิพย์สมบัติในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา นิมมานรดี
    และปรนิมมิตวสวดีเหล่านี้ ชั้นละ 9 อสงไขย เป็นกำหนด
    ครั้นจุติจากเทวโลกแล้ว ก็จะเกิดมาในโลกมนุษย์อีก
    จะได้เป็นคนมีทรัพย์นับวิชามากด้วยสมบัติศฤงคารบริวาร
    จะได้เป็นคนดีมีศีลมีสัตย์ยินดี อยู่ในการบำเพ็ญกุศล
    จะได้เป็นคนมีรูปโฉมงาม มีน้ำใจโอบอ้อมอารีแก่ชนทั่วไป
    จะบริบูรณ์พูนเกิดไม่รู้จักพกพร่อง

    ทั้งนี้เพราะอานิสงส์อักขระตัวเดียว ของบุคคลผู้สร้างพระไตรปิฎกไว้ในพระศาสนา
    การที่จะกำหนดอานิสงส์แห่งการสร้างพระไตรปิฎกนั้น เป็นอาจินไตย”

    <!-- google_ad_section_end -->เรื่องอานิสงส์ในการสร้างคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา
    ท่านแสดงไว้ในคัมภีร์จูฬคันธวงศ์ปริจเฉทที่ ๕ ว่า
    ผู้ใดผู้หนึ่งเป็นบัณฑิตมีปรีชาญาณสร้างเองก็ดี ให้คนอื่นสร้างก็ดี
    ซึ่งคัมภีร์อรรถ<WBR>กถา<WBR>ฎีกา<WBR>ย่อม<WBR>เป็นกองบุญอันหาที่สุดมิได้
    มีอานิสงส์บุญไม่มีที่สุด
    เช่นเดียวกับการสร้างเจดีย์ ๘๔,๐๐๐ องค์
    และเช่นเดียวกับการสร้างพระพุทธรูป ๘๔,๐๐๐ องค์
    เช่นเดียวกับการปลูกต้นโพธิ์ ๘๔,๐๐๐ ต้น
    และเช่นเดียวกับการสร้างพระวิหาร ๘๔,๐๐๐ หลัง
    อนึ่ง ผู้ใดสร้างหีบใส่พระพุทธพจน์หรือแนะนำให้คนอื่นกระทำก็ดี
    อนึ่ง ผู้ใดให้เองก็ดี ให้ผู้อื่นให้ก็ดี ซึ่งในใบลานก็ดี มูลค่าใบลานก็ดี
    อนึ่ง ผู้ใดให้เองก็ดี ให้ผู้อื่นให้ก็ดี ซึ่งน้ำมันก็ดี จุณก็ดี ข้าวเปลือกก็ดี
    ผ้าใหม่อย่างใดอย่างหนึ่งก็ดี เพื่อประโยชน์แก่การเช็ดใบลาน
    ซึ่งด้ายอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การเป็นหมุดร้อยในรอยเจาะใบลานก็ดี
    ซึ่งแผ่นกระดานคู่ก็ดี ซึ่งผ้าอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การห่อใบลาน
    ซึ่งเชือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การผูกใบลาน
    ซึ่งถุงอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การห่อกำใบลาน
    อนึ่ง ผู้ใดกระทำการเองก็ดี ใช้ผู้อื่นให้กระทำก็ดี
    ซึ่งการประดับใบลานก็ดี ซึ่งการ<WBR>ประ<WBR>ดับ<WBR>แผ่น<WBR>ไม้กระดานไม้ก็ดี
    ด้วยหรดาลหรือด้วยมโนศิลา หรือด้วยทองและเงิน
    ผู้นั้นย่อมมีกองบุญ อานิสงส์บุญหาที่สุดมิได้
    เช่นเดียวกับการสร้างพระเจดีย์ ๘๔,๐๐๐ องค์
    เช่นเดียวกับการสร้างพระวิหาร ๘๔,๐๐๐ หลัง
    ผู้นั้นเป็นผู้ประกอบด้วยศีลคุณ
    เมื่อบังเกิดอยู่ในภพ ย่อมเป็นผู้มีเดชมากอยู่ทุกเมื่อ
    บันลือสีหนาทแกล้วกล้า ประกอบด้วยอายุ วรรณะ และพละ
    เป็นผู้ใคร่ธรรมอยู่ทุกเมื่อ เป็นผู้มีศักดิ์ใหญ่ในหมู่เทวดาและมนุษย์ ปราศจากโรคาพาธ
    ผู้นั้นเมื่อบังเกิดอยู่ในภพ เป็นผู้มีปัญญา มีจิตตั้งมั่นด้วยดี
    มีความเป็นใหญ่ประกอบด้วยบริวาร
    ย่อมบรรลุสุขทั้งปวง เป็นผู้มีศรัทธา มีหิริ-โอตัปปะ
    รู้ถ้อยคำของผู้ขอ ด้วยวิบากผลของตน
    ย่อมเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยอวัยวะน้อยใหญ่ มีทรวดทรงงาม เป็นที่รักใคร่ของสัตว์ทั้งปวง
    ได้รับการบูชาในที่ทุกสถาน เมื่อยังท่องเที่ยวไปในหมู่เทวดาและมนุษย์ ก็มีมิตรสหายคุ้มครอง
    ย่อมเสวยเทวสมบัติอยู่เนืองๆ จักบรรลุอรหัตตผล ถึงซึ่งพระนิพพาน
    จักบรรลุปฏิสัมภิทา ๔ อภิญญา ๖ วิโมกข์ ๘ อันประเสริฐในอนาคตกาล
    เพราะฉันนั้นนั่นแล บุรุษผู้เป็นบัณฑิตเล็งเห็นประโยชน์ของตน
    ควรสร้างเองและแม้ให้ผู้อื่นสร้างซึ่งคัมภีร์
    และจารเองให้ผู้อื่นจารคัมภีร์บาลีอรรถกถาเป็นต้น
    ลงในใบลานและหีบใส่คัมภีร์พระธรรม
    พึงเป็นผู้มีจิตเลื่อมใสให้เองและชักชวนมิตรสหายพวกพ้องให้สร้าง
    ย่อมจะได้อานิสงส์ดังกล่าวนี้
    นี่คืออานิสงส์ของการสร้างคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]



    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]



    [​IMG]

    ขออนุโมทนา สาธุ ๆ
    กับท่านทั้งหลายที่ได้ร่วมกันสร้างพระไตรปิฎก
    และเผยแพร่ธรรมะ
    และทำบุญสร้างกุศลทุกอย่าง
    ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน และในอนาคตกาล
    ด้วยครับ
    การสะสมบุญ คือ การสะสมความสุขความเจริญ
    นิพพานัง ปรมัง สุขขัง
    นิพพานัง ปัจจโย โหตุ

    [​IMG]
    [​IMG]


    [​IMG]



    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 กุมภาพันธ์ 2012
  6. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    [​IMG]
    [​IMG]

    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ตามต้อง สนองผล

    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สั่งสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิไหลหลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัน ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพานเอย

    38 อานิสงส์ถวายสัพพทาน
    ...... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานของสัปบุรุษเหล่านี้ ๘ อย่าง คือ
    ๑. ให้ของที่สะอาด
    ๒. ให้ของประณีต
    ๓. ให้ถูกกาล
    ๔. ให้ของที่สมควร
    ๕. เลือกให้
    ๖. ให้เสมอ ๆ
    ๗. กำลังให้ยังจิตให้เลื่อมใส
    ๘. ครั้นให้แล้วปลื้มใจ

    สัปปุริสทาน ๘ อย่างนี้ประเสริฐยิ่งนักหนา

    ในกาลครั้งนั้น องค์สมเด็จพระพุทธเจ้าก็สถิตสำราญอยู่ในป่าเชตวันอันเป็นอารามของนาย
    อนาถปิณฑิกมหาเศรษฐีอยู่ในที่ใกล้ ๆ นครสาวัตถี
    ในกาลครั้งนั้นมีพระยาองค์หนึ่ง ชื่อ มหานามะ ก็เอา ประธูปประทีปคันธรสของหอม
    แล้วพาหมู่บริวารทั้งหลายเข้าไปสู่ที่เฝ้าพระสัพพัญญูเจ้า แล้วก็นั่งในที่
    ควรแห่งหนึ่ง จึงทูลถามพระสัพพัญญูเจ้าว่า “ภนฺเต ภควา” ข้าแต่องค์สมเด็จพระพุทธเจ้าบุคคลผู้ใด
    เลื่อมใสศรัทธา มาก่อสร้างสัพพาทานหลาย ๆ ชนิด ก็จักมีอานิสงส์ดังรือพระเจ้าข้า “ภควา” อันว่าองค์​

    ... สมเด็จพระศาสดาจารย์เจ้าจึงเทศนาว่า ดูกรมหาบพิตร นรชนหญิงชายทั้งหลายมีใจเลื่อมใสศรัทธา
    มาก่อสร้างสัพพาทานหลาย ๆ ชนิดเป็นต้นว่า
    สร้างพระพุทธรูปก็จักได้อานิสงส์ ๙ กัลป
    สร้างพระไตรปิฏกธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็ได้อานิสงส์ ๑๐ กัลป
    ผู้ใดได้บวชตนเป็นสามเณร ก็จักได้อานิสงส์ ๑๒ กัลป
    ผู้ไดได้บวชตนเป็นพระภิกษุ ก็จักได้ อานิสงส์ ๒๔ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างพระธาตุเจดีย์ก็จักได้อานิสงส์ ๘๐ กัลป
    ผู้ใดได้ปลูกไม้ศรีมหาโพธิ์ ก็จักได้อานิสงส์ ๙ กัลป
    ผู้ใดให้โภชะนังยังข้าวน้ำ โภชนะอาหารให้เป็นทานแก่ภิกษุสามเณร ก็จักได้บริวารแสนหนึ่ง
    ผู้ใดได้สร้างเจดีย์ทรายก็จักได้อานิสงส์ ๖๐ กัลป
    ผู้ใดสร้างกุฏีให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป
    ผู้ใดสร้างอุโบสถให้เป็น ทานก็จักได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป
    ผู้ใดสร้างกฐินให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๘๐ กัลป
    ผู้ใดสร้างอารามให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๔๐กัลป
    ผู้ใดสร้างพัทธสีมาให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๑๐๐ กัลป
    ผู้ใดได้บวชบุรุษผู้อื่นให้เป็นพระภิกษุก็จักได้อานิสงส์ ๘ กัลป
    บวชบุตรตนเองให้เป็นภิกษุ ก็จะได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ภรรยาบวชสามีของตนให้เป็นสามเณร ก็จักได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ภรรยาบวชสามีของตนให้เป็นพระภิกษุ ก็จักได้อานิสงส์ ๓๒ กัลป
    สามีบวชภรรยาให้เป็นภิกษุณี ก็จักได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างพระเจดีย์ธาตุข้าวเปลือกให้เป็นทาน ก็จักได้อานิสงส์ ๓๑ กัลป
    ผู้ใดสร้างพระเจดีย์ธาตุข้าวสารให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๔๒ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างพระเจดีย์ธาตุเหลือให้เป็นทาน ก็จักได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป
    ผู้ใดสร้างรั้วล้อมอาราม ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดปัดกวาดขยะมูลฝอยถอนเสียจากเขตอารามได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดสร้างศาลาสะพานบ่อน้ำให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๓๐ กัลป
    ผู้ใดได้ถวายดอกไม้ธูปเทียนได้อานิสงส์ ๘ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างอัฏฐให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๓๖ กัลป
    ผู้ใดได้ถวายจีวรเถราภิเษก ได้อานิสงส์ ๓๒ กัลป
    ผู้ใดถวายผ้าป่าได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป
    ผู้ใดให้ฝาผนังและเพดานเป็นทานได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดสร้างธงฝ้าย ธงผึ้ง ธงชัย ธงชาย ธงเหล็ก บูชาพระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป
    ผู้ใดสร้างขันหมากเบ็งบูชาระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดถวายซึ่งข้าวพันก้อนบูชาพระรัตนตรัยได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดถวายผ้าอาบน้ำฝน และผ้าจำนำพรรษา ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดสร้างปราสาทดอกผึ้งให้เป็นทาน ได้อานิสงส์ ๓ กัลป
    ผู้ใดสร้างต้นกัลปพฤกษ์ให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป์
    ผู้ใดสร้าง ฆ้อง กลอง แคน ซอ หอยสังข์ ปี่ แตร แตรวง ดนตรีให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๖๐ กัลป
    ผู้ใดได้ถวายเสื่อสาดอาสนะได้อานิสงส์ ๔ กัลป
    ผู้ใดถวายเตียงเก้าอี้ฟูกเบาะให้เป็นทาน ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดได้ปลูกกุฏีกรรมให้พระภิกษุเข้าปริวาสกรรม และมานัตตกรรม ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างบั้งไฟจุดบูชาพระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๔ กัลป ผู้ได้สร้างพัทธสีมาน้ำได้อานิสงส์ ๖๗ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างธรรมาสน์ ได้อานิสงส์ ๓๒ กัลป ผู้ใดได้สร้างเวจกุฏี ได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป
    ผู้ใดได้เผาซากศพที่ตกเรี่ยราดอยู่ตามป่าตามดง ได้บริวารหมื่นหนึ่ง
    ผู้ใดได้เผาศพญาติมิตรสหาย ได้บริวาร ๓ หมื่น
    ผู้ใดได้เผาศพบิดามารดาได้บริวารหนึ่งแสน
    ผู้ใดได้เผาศพอุปัชฌาย์อาจารย์ ได้บริวารโกฏิหนึ่ง
    ผู้ใดได้ถวายโอ่งน้ำ และส้วมอาบน้ำ และครุตักน้ำก็ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    สัพพทานทั้งหลายชนิดเหล่านี้บุคคลผู้ใดมีศรัทธากล้าหาญอาจสละสมบัติออกสร้างวัตถุประสงค์
    ดังแสดงมานี้ ก็มีอานิสงส์ผลบุญพูนสุขในชั่วนี้และชั่วหน้า
    อานิสงส์ที่ได้ปัจจุบันนี้คือ จะไปมาทางใดก็มีคนนับหน้า
    ถือตาไม่ได้เป็นที่รังเกียจของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีแต่ผู้อยากให้ร่วมกินร่วมอยู่ทั้งนั้น เราจะเข้าไปสู่
    สมาคมใด ๆ ก็ไม่ครั้นคร้ามสยดสยองเกรงกลัวต่ออำนาจผู้ใด การทำมาหากินก็สมความมุ่งมาตร
    ปรารถนาสมประสงค์ ครั้นสิ้นบุพพกรรมมนุษย์ในโลกนี้แล้ว ก็จะถือเอาตนเมื่ออุบัติขึ้นบนสวรรค์ชั้น
    ดาวดึงสายามาตุสิตาโดยลำดับ จนถึงพรหมโลก ครั้นจุติจากพรหมโลกลงมาเกิดในมนุษย์โลก ก็ไม่ได้
    ไปเกิดในหิเนกุลชั่วร้าย และจักได้ไปเกิดในตระกูลท้าวพระยามหากษัตริย์ หรือตระกูลพราหมณ์ผู้มั่ง
    ครั่งมั่งมีเศรษฐีกฎุมพีแล้วก็จักได้ทัวระวัดไปมาบารมีแก่กล้า ก็จะได้บ่ายหน้าเข้าสู่เมืองแก้วนิรพาน พอ
    จบธรรมเทศนาแห่งองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าลง สมเด็จพระเจ้ามหานามะ ก็ได้ตั้งอยู่ในไตรสรณคมณ์
    สามส่วนบริษัททั้งหลาย ก็ได้ถึงโสดาสกิทาคา อนาคา อรหันต์​


    อ้างอิงจากที่มา:38 �ҹ�ʧ������Ѿ��ҹ




    อานิสงส์การทำบุญกับพระบรมธาตุ

    1. ถวายฉัตรยอดพระเจดีย์ - ส่งผลให้ได้รับการเคารพยกย่อง เกิดในตระกูลสูง มีสง่าราศี
    2. ถวายทองคำ - อานิสงส์ให้ผิวพรรณงามเปล่งปลั่ง บริบูรณ์มั่งคั่ง
    3. ถวายเงิน - ทำให้ใจสว่างไสว อยู่เย็นเป็นสุข
    4. ถวายอัญมณี - อานิสงส์ให้มีราศี รัศมีกายทิพย์สว่างสดใส ประสบโชคดี
    5. ถวายพระเครื่อง - ส่งผลให้มีกำลังใจต่อสู้กับอุปสรรค มีคนช่วยเหลือยามมีอุปสรรค​

    6. ถวายแผ่นทองคำเปลวปิดองค์พระเจดีย์ - อานิสงส์ให้ผิวพรรณงาม มีราศี ใจสว่าง สดใส และอบอุ่นใจ
    7. ถวายอิฐ หิน ปูน ทราย - ส่งผลให้มีชีวิตมั่นคง จิตใจหนักแน่น ไม่โลเล
    8. สร้างองค์พระเจดีย์ - ส่งผลให้ได้รับสิ่งที่พึงปรารถนา สุขภาพดี ไม่มีอด
    9. ถวายธงหลากสีประดับองค์พระธาตุ - ทำให้มีสง่าราศี กายทิพย์สว่าง
    10. ถวายเทียน หรือโคมไฟ - อานิสงส์ให้ใจสว่าง มีชีวิตสะดวกสบาย อุปสรรคลดลง มีปัญญาธรรมสูงขึ้น สู่วิถีทิพย์เนตร​

    11. ถวายดอกไม้ต่างๆ - ส่งผลให้ใจสงบสะอาด เป็นสุขสดชื่น
    12. ถวายธูป หรือเครื่องหอม - ทำให้ใจอบอุ่นมั่นคง จิตสว่าง อุปสรรคลดลง มีกลิ่นกายสะอาด สดชื่นอยู่เสมอ
    13. ถวายแผ่นดินปูพื้นเจดีย์ - ส่งผลให้มีบริวารดี มีสมาธิดีขึ้น มีเวลาปฏิบัติธรรมมากขึ้น
    14. ถวายกระจกสีประดับองค์พระเจดีย์ - ทำให้กายทิพย์สว่าง มีสง่าราศี เป็นที่ศรัทธาแก่คนทั่วไป เห็นความดีในตัว
    15. ถวายผ้าเหลืองครองหุ้มองค์พระเจดีย์ - มีอานิสงส์เพิ่มเนกขัมมบารมี ใจสงบ เข้าสู่วิมุตติธรรมเร็วขึ้น​

    16. สรงน้ำพระธาตุ - ทำให้ใจสะอาด สงบ สว่างขึ้น กายและใจสดชื่น สุขภาพดี
    17. ถวายข้าว อาหาร เวรข้าวบูชาพระธาตุ - ส่งผลให้อุดมสมบูรณ์ อิ่มอกอิ่มใจ สุขภาพดี
    18. เวียนเทียนรอบองค์พระธาตุ - อานิสงส์เป็นสิริมงคล ทำให้จิตใจสูงขึ้น สะอาด เป็นการเพิ่มวิสัยปัจจัยแห่งกุศลธรรม
    19. แสดงความเคารพอย่างสูงสุดต่อพระธาตุจากใจจริง - ทำให้เป็นที่เคารพยกย่อง มักไม่มีใครเข้าใจผิด ได้บารมีวิมุตติธรรมจากพระบรมธาตุ สู่วิสุทธิมรรคผลนิพพานเร็วขึ้น
    20. เป็นเจ้าภาพ หรือมีส่วนช่วยจัดงานฉลองพระธาตุ - ทำให้ประสบความสุขในชีวิต อุดมมั่งคั่ง เป็นที่เคารพยกย่องมีคนช่วยเหลือเสมอ​

    21. บูรณะซ่อมแซมเจดีย์พระบรมธาตุ - อานิสงส์ให้สุขภาพดี อายุยืน บุคลิกผิวพรรณดี ฐานะมั่นคง
    22. สร้างเจดีย์พระบรมธาตุ - ส่งผลให้ชีวิตมั่นคง มีความสุขสมความปรารถนา เป็นที่เคารพยกย่อง เข้าสู่มรรคผลนิพพานเร็วขึ้น
    23. ถวายพระบรมธาตุเพื่อบรรจุในเจดีย์ - มีอานิสงส์เป็นที่เคารพยกย่อง มีความสุข สมความปรารถนาในชีวิต ประสบแต่สิ่งดี ได้อริยมรรคผลนิพพานเร็วขึ้น
    24. ถวายภาชนะบรรจุพระบรมธาตุในเจดีย์ - ทำให้ชีวิตมั่นคงปลอดภัย มั่งคั่ง บริวารดี มีเกียรติ เป็นที่ยกย่องแก่คนทั่วไป
    25. ถวายบทสวด เทปบทสวดบูชาพระธาตุ - ส่งผลให้เป็นที่ยกย่องสรรเสริญจากผู้คนทั่วไป ได้ยินได้ฟังและได้พบแต่สิ่งดีๆ มีเสียงใส ไพเราะ วาจาดี งดงาม สมาธิดี​

    _____________________________________________​

    อานิสงส์บูชาพระบรมสารีริกธาตุ - พระธาตุ

    1. ไม่ตายด้วยคมศาสตรา-อาวุธของศัตรูผู้มุ่งร้าย
    2. ปัญหาอุปสรรคผ่านพ้น ขอให้ตั้งใจจริงบูชาจริง
    3. ประกอบการค้าพาณิชย์ จะเจริญรุ่งเรืองไพบูลย์
    4. รับราชการ ยศ ตำแหน่งจะเจริญขึ้นเร็ว และเจริญขึ้นเรื่อยๆ
    5. มีเมตตาเสน่ห์มหานิยม มหาโชค-มหาลาภ และคลาดแคล้ว
    6. เทวดาอารักษ์คุ้มครองรักษาตลอดกาล
    7. ครอบครัวเป็นสุข สงบ ร่มเย็น และเจริญรุ่งเรือง
    8. มีฤทธิ์เดช อำนาจ วาสนา บารมีแผ่ไพศาล บริวารจะเคารพ หมู่ชนจะยำเกรง อานิสงส์เป็นไปตามอธิษฐาน​

    _____________________________________________​

    อานิสงส์การสร้างพระเจดีย์

    1. เป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ ไม่ประมาทมัวเมาในชีวิต
    2. เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย
    3. เมื่อใกล้ดับขันธ์ไม่หลงลืม
    4. ย่อมได้เกิดในประเทศที่เหมาะสมสำหรับสร้างบารมี
    5. ย่อมไปบังเกิดในสวรรค์เมื่อยังไม่หมดกิเลสในพระพุทธศาสนา
    6. ย่อมได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุมรรคผล นิพพานโดยง่าย​

    _______________________________________________________________
    _______________________________________________________________​

    (จากเอกสารวัดสังฆทาน)

    การบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    - บรรจุในเจดีย์ ผอบแก้ว หรือโถกระเบื้องมีฝาครอบ อัญเชิญไว้ในที่สูงเหมาะแก่การกราบไหว้
    - สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ น้อมใจระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า ว่ามีพระคุณยิ่งใหญ่ประมาณมิได้ต่อสัตว์โลก
    - การจะมีข้าวตอกดอกไม้เครื่องหอมเป็นเพียงส่วนประกอบ
    หากบูชาด้วยสิ่งเหล่านั้นอยู่เป็นประจำ แต่จิตใจไม่เคยน้อมคิดถึงพระคุณท่านเลย การบูชานั้นก็เป็นเพียงอามิสบูชา
    - การบูชาที่แท้จริง คือการปฏิบัติบูชา ได้แก่ การปฏิบัติตามคำสอนของท่านซึ่งจะทำให้เกิดผลดีกับตนเอง อันจะทำให้เกิดศรัทธาและระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของท่านอย่างลึกซึ้งเข้าไป ในจิตใจ
    - พระบรมสารีริกธาตุเสด็จมาด้วยคำอธิษฐาน และเสด็จไปได้เมื่อปฏิบัติไม่ถูกต้อง
    - การปฏิบัติบูชาที่ถูกต้อง มีผลานิสงส์มากนัก อาจทำให้สำเร็จประดยชน์และสุขสมบูรณ์ได้ทั้งชาตินี้และชาติหน้า หรือประโยชน์อย่างยิ่ง คือ "พระนิพพาน"​

    - พระบรมสารีริกธาตุ เป็นของหายาก และมีค่ายิ่ง
    - การได้กราบไหว้บูชาสักการะพระบรมสารีริกธาตุนี้ มีผลานิสงส์มากเท่ากับได้บูชาสักการะพระพุทธเจ้ามีพระชนม์อยู่ นับว่าเป็นมหามงคล และให้อานิสงส์แก่ผู้สักการะอย่างหาที่เปรียบมิได้ ทำให้ประสบความสำเร็จ และความสุขสมปรารถนาทั้งในชาตินี้และชาติหน้าตราบเข้าสู่นิพพาน
    ผลานิสงส์ที่บังเกิดแก่ผู้ที่มีความเคารพเลื่อมใสและกระทำสักการะโดยสุจริตเท่านั้น​





    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    ขอบูชา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    และธรรมทานด้วยภาพเหล่านี้ด้วยครับ
    นิพพานัง ปัจจโย โหตุ
    [​IMG]
    อานิสงส์การถวายสัพพทาน
    ...... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานของสัปบุรุษเหล่านี้ ๘ อย่าง คือ
    ๑. ให้ของที่สะอาด ๒. ให้ของประณีต ๓. ให้ถูกกาล ๔. ให้ของที่สมควร
    ๕. เลือกให้๖. ให้เสมอ ๆ ๗. กำลังให้ยังจิตให้เลื่อมใส ๘. ครั้นให้แล้วปลื้มใจ
    สัปปุริสทาน ๘ อย่างนี้ประเสริฐยิ่งนักหนา
    ในกาลครั้งนั้น องค์สมเด็จพระพุทธเจ้าก็สถิตสำราญอยู่ในป่าเชตวัน
    อันเป็นอารามของนาย อนาถปิณฑิกมหาเศรษฐีอยู่ในที่ใกล้ ๆ นครสาวัตถี
    ในกาลครั้งนั้นมีพระยาองค์หนึ่ง ชื่อ มหานามะ ก็เอา ประธูปประทีปคันธรสของหอม
    แล้วพาหมู่บริวารทั้งหลายเข้าไปสู่ที่เฝ้าพระสัพพัญญูเจ้า แล้วก็นั่งในที่ควรแห่งหนึ่ง
    จึงทูลถามพระสัพพัญญูเจ้าว่า
    “ภนฺเต ภควา” ข้าแต่องค์สมเด็จพระพุทธเจ้า
    บุคคลผู้ใดเลื่อมใสศรัทธา มาก่อสร้างสัพพาทานหลาย ๆ ชนิด ก็จักมีอานิสงส์
    ดังรือพระเจ้าข้า “ภควา” อันว่าองค์สมเด็จพระศาสดาจารย์เจ้าจึงเทศนาว่า
    ดูกรมหาบพิตร นรชนหญิงชายทั้งหลายมีใจเลื่อมใสศรัทธา
    มาก่อสร้างสัพพาทานหลาย ๆ ชนิดเป็นต้นว่า
    ></O:p>
    ผู้ใดสร้างปราสาทดอกผึ้งให้เป็นทาน ได้อานิสงส์ ๓ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างบั้งไฟจุดบูชาพระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๔ กัลป<O:p></O:p>
    ผู้ใดได้ถวายเสื่อสาดอาสนะได้อานิสงส์ ๔ กัลป<O:p></O:p>
    ผู้ใดได้ถวายดอกไม้ธูปเทียนได้อานิสงส์ ๘ กัลป<O:p></O:p>
    สร้างพระพุทธรูปได้อานิสงส์ ๙ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดได้ปลูกไม้ศรีมหาโพธิ์ได้อานิสงส์ ๙ กัลป
    สร้างพระไตรปิฏกพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ได้อานิสงส์ ๑๐ กัลป
    ></O:p>
    ผู้ใดสร้างรั้วล้อมอาราม ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดปัดกวาดขยะมูลฝอยถอนเสียจากเขตอารามได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดสร้างขันหมากเบ็งบูชาระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดถวายซึ่งข้าวพันก้อนบูชาพระรัตนตรัยได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ผู้ใดสร้างต้นกัลปพฤกษ์ให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป์
    ผู้ใดได้ปลูกกุฏีกรรมให้พระภิกษุเข้าปริวาสกรรม <O:p></O:p>
    และมานัตตกรรม ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดถวายเตียงเก้าอี้ฟูกเบาะให้เป็นทาน ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดให้ฝาผนังและเพดานเป็นทานได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดได้ถวายโอ่งน้ำ และส้วมอาบน้ำ และครุตักน้ำก็ได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ></O:p>
    ผู้ใดสร้างศาลา สะพาน บ่อน้ำให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๓๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดได้สร้างธรรมาสน์ ได้อานิสงส์ ๓๒ กัลป<O:p></O:p>
    ผู้ใดได้สร้างอัฏฐให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๓๖ กัลป<O:p></O:p>
    ผู้ใดได้สร้างเวจกุฏี ได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดสร้างกุฏิให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป
    ผู้ใดสร้างอุโบสถให้เป็น ทานก็จักได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดสร้างอารามให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดถวายผ้าป่าได้อานิสงส์ ๔๐ กัลป
    ผู้ใดสร้างกฐินให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๘๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดสร้างธงฝ้าย ธงผึ้ง ธงชัย ธงชาย ธงเหล็ก บูชาพระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป
    ผู้ได้สร้างพัทธสีมาน้ำได้อานิสงส์ ๖๗ กัลป
    ผู้ใดสร้างพัทธสีมาให้เป็นทานก็จักได้อานิสงส์ ๑๐๐ กัลป
    ></O:p>
    ผู้ใดได้บวชบุรุษผู้อื่นให้เป็นพระภิกษุก็จักได้อานิสงส์ ๘ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดได้บวชตนเป็นสามเณร ก็จักได้อานิสงส์ ๑๒ กัลป
    ผู้ไดได้บวชตนเป็นพระภิกษุ ก็จักได้ อานิสงส์ ๒๔ กัลป
    ผู้ใดบวชบุตรตนเองให้เป็นภิกษุ ก็จะได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ภรรยาบวชสามีของตนให้เป็นสามเณร ก็จักได้อานิสงส์ ๑๖ กัลป
    ภรรยาบวชสามีของตนให้เป็นพระภิกษุ ก็จักได้อานิสงส์ ๓๒ กัลป
    สามีบวชภรรยาให้เป็นภิกษุณี ก็จักได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป
    ></O:p>
    ผู้ใดได้สร้างพระเจดีย์ธาตุข้าวเปลือกให้เป็นทาน ก็จักได้อานิสงส์ ๓๑ กัลป
    ผู้ใดสร้างพระเจดีย์ธาตุข้าวสารให้เป็นทานได้อานิสงส์ ๔๒ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดได้สร้างเจดีย์ทรายก็จักได้อานิสงส์ ๖๐ กัลป
    ผู้ใดได้สร้างพระเจดีย์ธาตุเหลือให้เป็นทาน ก็จักได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป<O:p></O:p>
    ผู้ใดสร้างธงฝ้าย ธงผึ้ง ธงชัย ธงชาย ธงเหล็ก บูชาพระรัตนตรัย ได้อานิสงส์ ๖๔ กัลป<O:p></O:p>
    ผู้ใดได้สร้างพระธาตุเจดีย์ก็จักได้อานิสงส์ ๘๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดสร้าง ฆ้อง กลอง แคน ซอ หอยสังข์ ปี่ แตร แตรวง<O:p></O:p>
    ดนตรี ให้เป็นทาน ได้อานิสงส์ ๖๐ กัลป <O:p></O:p>
    ผู้ใดได้เผาซากศพที่ตกเรี่ยราดอยู่ตามป่าตามดง ได้บริวาร ๑ หมื่น
    ผู้ใดได้เผาศพญาติมิตรสหาย ได้บริวาร ๓ หมื่น <O:p></O:p>
    ผู้ใดให้โภชนังข้าวน้ำ อาหารให้เป็นทานแก่ภิกษุสามเณรจักได้บริวาร๑ แสน
    ผู้ใดได้เผาศพบิดามารดาได้บริวาร ๑ แสน
    ผู้ใดได้เผาศพ อุปัชฌาย์ อาจารย์ ได้บริวาร ๑ โกฏิ
    ></O:p>
    สัพพทานทั้งหลายชนิดเหล่านี้บุคคลผู้ใดมีศรัทธากล้าหาญอาจสละสมบัติออกสร้าง ดังแสดงมานี้ ก็มีอานิสงส์ผลบุญพูนสุขในชั่วนี้และชั่วหน้า
    อานิสงส์ที่ได้ปัจจุบันนี้คือ จะไปมาทางใดก็มีคนนับหน้า ถือตา
    ไม่ได้เป็นที่รังเกียจของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
    มีแต่ผู้อยากให้ร่วมกินร่วมอยู่ทั้งนั้น
    เราจะเข้าไปสู่ สมาคมใด ๆ ก็ไม่ครั้นคร้ามสยดสยองเกรงกลัวต่ออำนาจผู้ใด
    การทำมาหากินก็สมความมุ่งมาตร ปรารถนาสมประสงค์
    ครั้นสิ้นบุพพกรรมมนุษย์ในโลกนี้แล้ว
    ก็จะถือเอาตนเมื่ออุบัติขึ้นบนสวรรค์ชั้น ดาวดึงสายามาตุสิตาโดยลำดับ จนถึงพรหม
    ครั้นจุติจากพรหมโลกลงมาเกิดในมนุษย์โลก ก็ไม่ได้ ไปเกิดในหิเนกุลชั่วร้าย
    และจักได้ไปเกิดในตระกูลท้าวพระยามหากษัตริย์
    หรือตระกูลพราหมณ์ผู้มั่ง คั่งมั่งมี เศรษฐี กฎุมพี
    แล้วก็จักได้ทั่วระวัดไปมาบารมีแก่กล้า ก็จะได้บ่ายหน้าเข้าสู่เมืองแก้วนิรพาน
    พอจบธรรมเทศนาแห่งองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าลง
    สมเด็จพระเจ้ามหานามะ ก็ได้ตั้งอยู่ใน ไตรสรณคมณ์สาม
    ส่วนบริษัททั้งหลาย ก็ได้ถึงโสดา สกิทาคา อนาคา อรหันต์ <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>๑ กัป,กัลป์ ท่านเทียบว่า > มีกล่องสี่เหลี่ยม สูง-กว้าง-ยาว ด้านละ ๑ โยชน์<O:p></O:p>
    (๑โยชน์ในที่นี้ ประมาณ ๑๖ กม.) และทุก ๑๐๐ ปี เทวดาเอาเมล็ดผักกาดมาหย่อนลง ๑ เม็ดอย่างนี้เรื่อยไปจนเต็ม อันนี้คือ ๑ กัป (เป็นอย่างน้อย แต่ไม่ต่ำกว่านี้)หรือเทียบอีกอย่าง คือ มีภูเขาหินทึบตัน สูง-กว้าง-ยาว ๑ โยชน์เหมือนกัน ทุก ๑๐๐ ปีเทวดาจะเอาผ้านุ่มๆ มาลูบ ๑ ครั้ง ไปเรื่อยๆ จนภูเขาราบเสมอพื้น(นี่เป็นอย่างน้อย)
    - ส่วน "อสงไขย" แปลว่า "นับไม่ได้"คือนับเป็นกัปไม่ถ้วน >> เขานับหน่วยเวลาเป็น "กัป" (ไม่ใช่หน่วยนับเป็น วันเดือน ปี หรือหน่วยนับละ ล้านๆ ปี) สรุปง่ายๆ ก็คือ นับเป็นจำนวนกัปไม่ถ้วนเรียกว่า "อสงไขย" ส่วนจะนานขนาดไหนจึงจะเรียก "๑ อสงไขย"(เติม 0 ไปประมาณ 140 ตัว ) นั้นคงเป็นไปเองอย่างอัตโนมัติของมันนั่นแหละ<O:p></O:p>
    การทำบุญให้ทาน ได้บุญน้อยกว่ารักษาศิล,รักษาศิลได้บุญน้อยกว่าเจริญสมาธิ,<O:p></O:p>
    การเจริญสมาธิได้บุญน้อยกว่าการเจริญวิปัสสนาปัญญา,<O:p></O:p>
    (การเจริญเมตตาได้บุญมากกว่าให้ทานข้าวอาหาร 300 หม้อในหนึ่งวัน)<O:p></O:p>
    ทาน ศิล สมาธิ ปัญญา เมตตา (การทำบุญมี 10 วิธี บุญกิริยาวัตถุ 10 )<O:p></O:p>
    การทำบุญด้วยการเจริญวิปัสสนาปัญญาได้บุญมากที่สุด คือ(รู้เห็น รูป-นาม,เกิด-ดับๆ,เป็นพระไตรลักษณ์ เกิดความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ปล่อยวาง รูป-นาม จนวิมุตติหลุดพ้นจากวัฎฎะสงสารได้) เพราะสามารถทำให้เราหลุดพ้นเข้าสู่สภาวะ
    “พระนิพพาน” ได้ ซึ่งเป็นความสุขที่ประเสริฐสูงสุด" (หรือความสุขที่แท้จริง)

    ทักขิณาวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจำแนกอานิสงส์
    ของทานที่ให้โดยเจาะจงและไม่เจาะจงไว้ตามลำดับขั้น
    ๑. ให้ทานแก่ดิรัจฉาน มีอานิสงส์ร้อยชาติ คือ ให้อายุ วรรณะ สุขะพละ และปฏิภาณ
    ๒. ให้ทานแก่ปุถุชนทุศีลมีอานิสงส์พันชาติ
    ๓. ให้ทานแก่ปุถุชนผู้มีศีล มีอานิสงส์แสนชาติ
    ๔.ให้ทานแก่ปุถุชนผู้ปราศจากความยินดีในกาม นอกพุทธศาสนาอย่างพวกนักบวชหรือฤาษี
    ที่ได้ฌานเป็นต้น แม้ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนาก็ยังมีอานิสงส์ถึงแสนโกฏิชาติ
    สี่ประเภทนี้เป็นปาฏิปุคคลิกทานเป็นทานที่ให้โดยเจาะจง คือให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดย
    เฉพาะ และมีผลจำกัดยังมีปาฏิปุคคลิกทานที่มีผลไม่จำกัด คือให้ผลนับประมาณชาติไม่ได้มากน้อย
    ตามลำดับขึ้นอีก ๑๐ ประเภท ดังต่อไปนี้
    ๑.ให้ทานแก่บุคคลผู้ปฏิบัติ เพื่อทำให้แจ้งซึ่ง โสดาปัตติผล
    ๒.ให้ทานแก่พระโสดาบันบุคคล คือผู้ที่บรรลุโสดาปัตติผลแล้ว
    ๓.ให้ทานแก่บุคคลผู้ปฏิบัติ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งสกทาคามิผล
    ๔.ให้ทานแก่พระสกทาคามีบุคคล
    ๕. ให้ทานแก่บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งอนาคามิผล
    ๖. ให้ทานแก่พระอนาคามีบุคคล
    ๗.ให้ทานแก่บุคคลผู้ปฏิบัติ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งอรหัตตผล
    ๘.ให้ทานแก่พระอรหันต์
    ๙. ให้ทานแก่พระปัจเจกพุทธเจ้า
    ๑๐.ให้ทานแก่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า

    <O:p</O:p
    _________________
    " การให้ธรรมะ ชนะ การให้ทั้งปวง"
    ทาน ศิล สมาธิ วิปัสสนา(บุญสูงที่สุด)<O:p</O:p
    .....สวดมนต์เป็นยาทา.....วิปัสสนาเป็นยากิน.....
    [​IMG]
    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ตามต้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สั่งสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิไหลหลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัน ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพานเอย

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กรกฎาคม 2012
  7. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    เร่งทำดี วันนี้ อย่ารอเดี๋ยว
    ประเดี๋ยวเดียว ชีวิต มลายสิ้น
    เพียงชั่วครู่ เร่งทำ ความดีพลัน
    เกิดสุขสันต์ กุศลบุญ เปี่ยมล้นใจ....

    หมั่นสร้างทำ ความดี เถิดบังเกิดผล
    ก่อนสิ้นลม หายใจ ไปสูญสิ้น
    ให้คงฟ้า ก้องโลก บรรลือดิน
    อย่าสูญสิ้น ความดี มีคุณธรรม<!-- google_ad_section_end -->

    ผลกุศล นำพา ความสุขให้
    ผลกุศล นำใจ ให้สุขสรรค์
    ผลกุศล นำชีวิต พาชีวัน
    ผลกุศล พาสุขสรรค์ นิรันดิ์กาล.........

    เข็มทิศชีวิต<O[​IMG]</O[​IMG]
    ในสังสารวัฏนี้ มีแต่บุญกับบาปเท่านั้นที่ปะทะกันอยู่<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุกอย่างตัดสินกันที่บุญ-บาป<O[​IMG]</O[​IMG]
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสรุปว่า<O[​IMG]</O[​IMG]
    ชีวิตในสังสารวัฏสิ่งที่ควรทำ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส<O[​IMG]</O[​IMG]
    นี่คือคำสรุปของผู้รู้ ที่เป็นแผนผังชีวิต<O[​IMG]</O[​IMG]
    หรือแผนที่ที่เราจะเดินทางในสังสารวัฏได้ดีที่สุด

    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ตามจ้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิให้หลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพานเอย

    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ติดตามจ้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิให้หลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพาน เอย


    <O[​IMG]</O[​IMG]
    พระบาลีกล่าวไว้ว่า "เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด"
    เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น
    เมื่อหลุดพ้น "ญาณ(ปัญญา)ว่าหลุดพ้นย่อมมีขึ้น"

    <!-- google_ad_section_end -->[​IMG]
    ธีโร จะ ทานัง อนุทมาโน
    บุคคลที่ฉลาด ย่อมพลอยยินดี ในการให้ทาน
    (ที่มา..พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 ข้อที่ 23)

    ธีโร จะ ทานัง อนุทมาโน
    บุคคลที่ฉลาด ย่อมพลอยยินดี ในการให้ทาน
    (ที่มา.. พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 ข้อที่ 23)

    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ติดตามจ้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิให้หลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพาน เอย


    เร่งทำดี วันนี้ อย่ารอเดี๋ยว
    ประเดี๋ยวเดียว ชีวิต มลายสิ้น
    เพียงชั่วครู่ เร่งทำ ความดีพลัน
    เกิดสุขสันต์ บุญกุศล เปี่ยมล้นใจ....


    หมั่นสร้างทำ ความดี บังเกิดผล
    ก่อนสิ้นลม หายใจ ไปสูญสิ้น
    ให้คงฟ้า ก้องโลก บรรลือดิน
    อย่าสูญสิ้น ความดี มีคุณธรรม<!-- google_ad_section_end -->

    ผลกุศล นำพา ความสุขให้
    ผลกุศล นำใจ ให้สุขสรรค์
    ผลกุศล นำชีวิต พาชีวัน
    ผลกุศล พาสู่สวรรค์ นิพพานเอย

    ขึ้นชื่อว่าบุญแล้ว ใครๆ ไม่ควรดูหมิ่นว่าบุญนี้เล็กน้อย
    ทานที่บุคคลถวายแล้วแก่ภิกษุสงฆ์ อันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขเช่นนี้
    ไม่ควรดูหมิ่นว่าบุญนี้เล็กน้อย
    คนที่ฉลาดทำบุญอยู่ ย่อมเต็มด้วยบุญ
    เหมือนหม้อน้ำที่เปิดปากไว้ ย่อมเต็มด้วยน้ำฉันนั้น" ในตอนท้าย
    พระพุทธองค์ตรัสพระคาถาว่า "บุคคลไม่ควรดูหมิ่นบุญเล็กน้อยว่าจะไม่มาถึง
    แม้หม้อน้ำก็ยังเต็มด้วยหยาดน้ำที่ตกลงมาฉันใด
    ผู้ฉลาดเมื่อสะสมบุญแม้ทีละน้อยทีละน้อย
    ก็ย่อมเต็มด้วยบุญฉะนั้น"

    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ตามจ้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง
    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละน้อย แนบไว้ มิให้หลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สถาน นิพพาน เอย

    การแสดงธรรม, การฟังธรรม, การบอกธรรม, มีอานิสงส์ยิ่งใหญ่มาก
    และประเสริฐกว่า การถวายจีวรทาน บิณฑบาตทาน เสนาสนทาน ทุกอย่าง
    เพราะว่าชนทั้งหลายจะทำบุญมากมายขนาดนั้นได้
    ก็ต่อเมื่อได้ฟังธรรมแล้วเท่านั้น ถ้าไม่ได้ฟังธรรมและมีจิตศรัทธาแล้ว
    จะถวายข้าวสวยสักทัพพี ข้าวต้มสักกระบวยก็ยังยาก
    แม้บุคคลที่ได้สำเร็จมรรคผลนิพพาน
    และสำเร็จอัครสาวกภูมิ ก็ต้องอาศัยในการฟังธรรม


    น สาธุ พลวา พาโล ยูถสฺส ปริหารโก
    (ผู้บริหารหมู่คณะ ถึงจะมีกำลัง มีอำนาจ แต่เป็นคนพาลย่อมไม่ดี) <!-- google_ad_section_end -->​



    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 ตุลาคม 2012
  8. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    รับสมัครผู้เข้าบรรพชาอุปสมบทหมู่และท่านผู้มีจิตศรัทธาบวชเนกขัมมะ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

    โครงการบรรพชา อุปสมบท ๘๖ รูป และบวชเนกขัมมะ ๘๖ ท่าน

    ฉลองพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า

    และเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

    เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๘๕ พรรษา



    ( ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ )
    [​IMG]




    วัดป่ามะไฟ ตำบลโคกไม้ลาย อำเภอเมืองปราจีนบุรี

    จังหวัดปราจีนบุรี







    ในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ถึงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๕
    [​IMG]







    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    *
    ร่วมบุญที่ บัญชี วัดป่ามะไฟ ออมทรัพย์
    ธ.กรุงไทย สาขาปราจีนบุรี 213-1-76683-1

    ติดต่อแจ้งความประสงค์โดยตรงได้ที่ :
    เจ้าอาวาส : ท่านพระครูภาวนาธรรมธารีเจ้าคณะตำบลโคกไม้ลาย เขต๑
    วัดป่ามะไฟ เลขที่ ๙๔ หมู่ ๔ ต.โคกไม้ลาย อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ๒๕๒๓๐
    Tel: ๐๘๑ ๙๘๓ ๖๗๗๐Fax: ๐๓๗ ๓๙๙ ๔๕๓
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ตุลาคม 2012
  9. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    [​IMG][​IMG]
    [​IMG]
    ขอนำเรื่องของ เศรษฐีเท้าแมว ใน ธรรมบทภาค ๕ มาเล่าประกอบไว้ด้วย เรื่องนี้เกิดขึ้น
    ในสมัยที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่

    อุบาสกผู้หนึ่ง ไปฟังธรรมที่วัดเชตวัน ในกรุงสาวัตถีได้ยินพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า "บุคคล
    บางคนให้ทานด้วยตนเอง แต่ไม่ชักชวนผู้อื่น เพราะฉะนั้นเมื่อเขาตายไป เขาย่อมได้รับโภค
    สมบัติ แต่ไม่ได้รับบริวารสมบัติในที่ๆ เขาไปเกิด

    ส่วนบางคนตนเองไม่ให้ทาน แต่เที่ยวชักชวนคนอื่นให้ให้ทาน เพราะฉะนั้นเมื่อเขา
    ตายไป เขาก็ย่อมได้รับแต่บริวารสมบัติ แต่ไม่ได้รับโภคสมบัติในที่ๆ เขาไปเกิด

    ส่วนบางคนตนเองก็ไม่ให้ทาน ทั้งไม่ชักชวนคนอื่นให้ให้ทานด้วย เพราะฉะนั้นเมื่อเขา
    ตายไป เขาก็ย่อมไม่ได้รับทั้งโภคสมบัติ และบริวารสมบัติในที่ๆ เขาไปเกิด

    ส่วนบางคนตนเองก็ไห้ทาน ทั้งยังชักชวนคนอื่นให้ให้ทานด้วย เพราะฉะนั้นเมื่อเขา
    ตายไป เขาก็ได้รับทั้งโภคสมบัติ และบริวารสมบัติในที่ๆ เขาไปเกิด"

    อุบาสกผู้นี้เป็นบัณฑิต ได้ฟังดังนั้นก็คิดจะทำบุญให้ได้รับผลครบทั้งโภคสมบัติและบริวารสมบัติ
    เขาจึงเข้าไปกราบทูลขอถวายภัตตาหารแก่พระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกทั้งหมดในวันรุ่งขึ้น พระพุทธเจ้า
    ก็ทรงรับคำอาราธนานั้น อุบาสกนั้นจึงได้เที่ยวป่าวร้องไปตามชาวบ้านร้านตลาดทั้งหลาย ชักชวนให้บริจาค
    ข้าวสารและของต่างๆ เพื่อนำมาประกอบอาหารถวายก็ได้รับสิ่งของต่างๆ มากบ้างน้อยบ้างตามศรัทธาและ
    ฐานะของผู้บริจาค อุบาสกคนนั้นเที่ยวป่าวร้องไปอย่างนี้ จนมาถึงร้านค้าของท่านเศรษฐีผู้หนึ่ง ท่านเศรษฐี
    เกิดไม่ชอบในที่เห็นอุบาสกนั้นเที่ยวป่าวร้องไปอย่างนั้น ท่านคิดว่า "อุบาสกคนนี้เมื่อไม่สามารถถวาย
    อาหารแก่พระพุทธเจ้า และพระสงฆ์สาวกทั้งวัดเชตวันได้ ก็ควรจะถวายตามกำลังของตน
    ไม่ควรจะเที่ยวชักชวนคนอื่นเขาทั่วไปอย่างนี้"

    เพราะเหตุที่คิดอย่างนี้ แม้ท่านจะร่วมทำบุญกับอุบาสกนั้นด้วย แต่ท่านก็ทำด้วยความไม่เต็มใจ
    ได้หยิบของให้เพียงอย่างละนิดละหน่อย คือใช้นิ้ว ๓ นิ้วหยิบของนั้น จะหยิบได้สักเท่าไร เวลาให้น้ำผึ้ง
    น้ำอ้อย ก็ให้เพียงไม่กี่หยด เพราะเหตุที่ท่านมือเบามาก หยิบของให้ทานเพียงนิดหน่อย คนทั้งหลายก็เลย
    ตั้งชื่อท่านว่า เศรษฐีเท้าแมว เป็นการเปรียบเทียบความมือเบาของท่านกับความเบาของเท้าแมว

    อุบาสกนั้นเป็นคนฉลาด เมื่อรับของจากท่านเศรษฐีจึงได้แยกไว้ต่างหาก ไม่ได้รวมกับของที่ตนรับ
    มาจากผู้อื่นเศรษฐีก็คิดว่า "อุบาสกนี้คงจะเอาเราไปเที่ยวประจานเป็นแน่" เมื่อคิดอย่างนี้ จึงใช้ให้คน
    ใช้ติดตามไปดู คนรับใช้ได้เห็นว่าอุบาสกนั้นนำเอาของของเศรษฐีไปแบ่งใส่ลงในหม้อที่ใช้หุงต้มอาหารนั้นหม้อ
    ละนิด อย่างข้าวสารก็ใส่หม้อละเมล็ดสองเมล็ดเพื่อให้ทั่วถึง พร้อมกับกล่าวให้พรท่านเศรษฐีด้วยว่า "ขอให้ทาน
    ของท่านเศรษฐีจงมีผลมาก" คนรับใช้ก็นำความมาบอกนาย ท่านเศรษฐีก็คิดอีกว่า "วันนี้เขายังไม่
    ประจานเราพรุ่งนี้เวลานำเอาอาหารไปถวายพระที่วัดเชตวัน เขาคงจะประจานเรา ถ้าเขาประจานเรา
    เราจะฆ่าเสีย" ดังนั้นในวันรุ่งขึ้นท่านจึงเหน็บกริชซ่อนไว้แล้วไปที่วัดเชตวัน ในเวลาที่อุบาสกและชาวเมือง
    ช่วยกันอังคาสเลี้ยงดูพระพุทธเจ้าและพระภิกษุสงฆ์ เมื่อช่วยกันถวายภัตตาหารแล้ว อุบาสกผู้นั้นได้กราบ
    ทูลพระพุทธเจ้าว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ได้เที่ยวชักชวนมหาชนให้ถวายทานนี้ขอให้
    คนทั้งหลายผู้ที่ข้าพระองค์ชักชวนแล้ว บริจาคแล้ว ทั้งผู้บริจาคของมาก ทั้งผู้บริจาคของน้อย
    จงได้รับผลมากทุกคนเถิด" ท่านเศรษฐีได้ยินแล้วก็ไม่สบายใจ กลัวอุบาสกจะประกาศว่า ท่านให้ของเพียง
    หยิบมือเดียว คิดอีกว่า "ถ้าอุบาสกเอ่ยชื่อเรา เราจะแทงให้ตาย" แต่อุบาสกนั้นกลับกราบทูลว่า "แม้ผู้ที่
    บริจาคของเพียงหยิบมือเดียว ทานของผู้นั้นก็จงมีผลมากเถิด"

    ท่านเศรษฐีได้ฟังดังนั้นก็ได้สติ คิดเสียใจว่า "เราได้คิดร้ายล่วงเกิดต่ออุบาสกนี้อยู่ตลอดเวลา
    แต่อุบาสกนี้เป็นคนดีเหลือเกิน ถ้าเราไม่ขอโทษเขา เราก็เห็นจะได้รับกรรมหนัก" คิดดังนี้แล้ว จึงเข้า
    ไปหมอบแทบเท้าของอุบาสกนั้น เล่าเรื่องให้ฟังพร้อมทั้งขอให้ยกโทษให้ พระพุทธองค์ทอดพระเนตรเห็น
    กริยาอาการของท่านเศรษฐีอย่างนี้ก็ตรัสถามขึ้น เมื่อทรงทราบแล้วจึงได้ตรัสว่า "ขึ้นชื่อว่าบุญแล้ว ใครๆ
    ไม่ควรดูหมิ่นว่าบุญนี้เล็กน้อย ทานที่บุคคลถวายแล้วแก่ภิกษุสงฆ์ อันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขเช่นนี้ ไม่
    ควรดูหมิ่นว่าบุญนี้เล็กน้อย คนที่ฉลาดทำบุญอยู่ ย่อมเต็มด้วยบุญ เหมือนหม้อน้ำที่เปิดปากไว้ ย่อมเต็ม
    ด้วยน้ำฉันนั้น" ในตอนท้าย พระพุทธองค์ตรัสพระคาถาว่า "บุคคลไม่ควรดูหมิ่นบุญเล็กน้อยว่าจะไม่
    มาถึง แม้หม้อน้ำก็ยังเต็มด้วยหยาดน้ำที่ตกลงมาฉันใด ผู้ฉลาดเมื่อสะสมบุญแม้ทีละน้อยทีละ
    น้อย ก็ย่อมเต็มด้วยบุญฉะนั้น"

    ท่านเศรษฐีได้ฟังแล้วก็ได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุเป็นพระโสดาบันบุคคล พระธรรมเทศนาของ
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ประกอบด้วยประโยชน์อย่างยิ่งอย่างนี้ ถ้าเราหมั่นฟังอยู่เสมอและฟังด้วยความตั้งใจ
    ก็ย่อมได้ปัญญา ดังเศรษฐีท่านนี้เป็นตัวอย่าง

    จากเรื่องของท่านเศรษฐีผู้นี้ ทำให้ทราบว่าการให้ทานนั้น เป็นเหตุให้ได้รับโภคสมบัติ การชัก
    ชวนผู้อื่นให้ทานนั้นเป็นเหตุให้ได้รับบริวารสมบัติ ในที่ๆ ตนไปเกิด

    เพราะฉะนั้น เมื่อใครเขาทำบุญ หรือใครเขาชักชวนใครๆ ทำบุญ ก็อย่างได้ขัดขวางห้ามปราม
    เขาเพราะการกระทำเช่นนี้เป็นบาป เป็นการทำลายประโยชน์ของบุคคลทั้ง ๓ ฝ่าย คือตนเองเกิดอกุศลจิต
    ก่อน ๑ ทำลายลาภของผู้รับ ๑ ทำลายบุญของผู้ให้ ๑

    และจากเรื่องนี้ก็ทำให้เห็นชัดว่า สังฆทานนั้นมีผลมาก และมีอานิสงส์มาก การที่กิเลสคือความ
    ตระหนี่ได้ถูกขัดเกลาออกไป ทำให้จิตใจที่หนาอยู่ด้วยกิเลสเบาบางลงไปได้ชั่วขณะนี้แหละ คืออานิสงส์ที่แท้
    จริงของบุญ ยิ่งกิเลสถูกขัดเกลาไปได้มากเท่าไร ทานของผู้นั้นก็มีอานิสงส์มากเท่านั้น

    เสื้อผ้าที่สกปรกเปรอะเปื้อนต้องการสบู่หรือผงซักฟอกเข้าไปช่วยชำระล้างให้สะอาดฉันใด
    จิตใจที่เปรอะเปื้อนด้วยกิเลสก็ต้องการบุญ มีทานเป็นต้น เข้าไปช่วยชำระล้างขัดเกลาให้สะอาดหมด
    จดฉันนั้น
    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี
    เคยบอกเอาไว้ว่าให้เรารู้จักสังเกตตัวเอง
    ใครก็ตามที่ได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพทำบุญกฐิน
    คำว่าเจ้าภาพไม่ได้หมายความว่า
    จะต้องเจาะจงว่าเป็นประธาน หรือว่าเป็นกรรมการ หรือว่าหาสิ่งของทั้งหมดมา เราร่วมเป็นเจ้าภาพด้วยจะเล็กน้อยอย่างไรก็ตาม จะมีชื่อหรือไม่มีชื่อในใบฎีกาหรือ
    ใบบอกบุญกฐินก็ตาม ถือว่าเป็นเจ้าภาพเหมือนกันหมด ท่านบอกว่าบุคคลที่ตั้งใจเป็นเจ้าภาพกฐินติดต่อกันได้ถึงสามปี ให้สังเกตความเป็นอยู่ของตัวเอง ความเป็นอยู่จะคล่องตัวและสะดวกกว่าคนอื่นเขา


    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ตุลาคม 2012
  10. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    [​IMG]

    ธรรมทาน เป็นต้นกำเนิดของ พระรัตนตรัย
    และความดีทั้งปวง มีอานิสงส์มาก
    ดังที่มีการพรรณนาคุณไว้ในอรรถกถาธรรมบทว่า...
    [FONT=&quot]- [/FONT]แม้ทายกจะถวายจีวรอย่างดีที่สุดแด่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันตเจ้าทั้งหลายที่นั่งติดๆ กันเต็มห้องจักรวาลนี้ก็ยังมีอานิสงส์น้อยกว่าการอนุโมทนาของพระพุทธเจ้า ด้วยพระคาถา(๒) เพียง ๔ บาทและจีวรทานนั้นมีค่าไม่ถึงเศษส่วน ๑๖ แห่งพระคาถาที่พระพุทธองค์ทรงอนุโมทนา
    [FONT=&quot]- [/FONT]แม้ทายกจะถวายโภชนะข้าวสาลีกอปร ด้วยสูปะพยัญชนะอันประณีตเป็นต้นให้เต็มบาตรพระพุทธเจ้าก็ดี จะถวายเภสัชทาน มี เนยใส เนยเหลว น้ำผึ้ง เป็นต้นให้เต็มบาตรพระพุทธเจ้าที่นั่งติดๆ เต็มห้องจักรวาลก็ดียังมีอานิสงส์น้อยกว่าธรรมทานที่พระพุทธเจ้า อนุโมทนาด้วยพระคาถาเพียง ๔บาท
    [FONT=&quot]- [/FONT]อนึ่งทายกจะถวายเสนาสนะ มีมหาวิหาร หรือโลหปราสาทหลายแสนหลัง
    ยังมีอานิสงส์น้อยกว่าธรรมทานที่พระพุทธเจ้าอนุโมทนาด้วยพระคาถาเพียง ๔ บาท
    [FONT=&quot]- [/FONT]การแสดงธรรม การฟังธรรม การบอกธรรม มีอานิสงส์ยิ่งใหญ่มากและประเสริฐกว่า การถวายจีวรทาน บิณฑบาตทาน เสนาสนทาน ทุกอย่าง เพราะว่าชนทั้งหลายจะทำบุญมากมายขนาดนั้นได้ ก็ต่อเมื่อได้ฟังธรรมแล้วเท่านั้น ถ้าไม่ได้ฟังธรรมและมีจิตศรัทธาแล้ว จะถวายข้าวสวยสักทัพพี ข้าวต้มสักกระบวยก็ยังยาก แม้บุคคลที่ได้สำเร็จมรรคผล และสำเร็จอัครสาวกภูมิ ก็ต้องอาศัยในการฟังธรรม
    [FONT=&quot]- [/FONT]อีกประการหนึ่ง ยกเว้นพระพุทธเจ้า และพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว แม้พระสาวกทั้งหลายมีพระสารีบุตร เป็นต้นผู้เป็นเลิศด้วยปัญญาญาณสามารถนับเม็ดฝนที่ตกอยู่ตลอดกัปได้ ก็ยังไม่สามารถจะบรรลุอริยผลมีโสดาปัตติผลเป็นต้น โดยลำพังตนเองได้ ต่อเมื่อได้ฟังธรรม จากพระอัสสชิเป็นต้นแล้ว
    จึงทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล และบรรลุธรรมสูงสุดด้วยพระธรรมเทศนาของพระบรมศาสดาเพราะเหตุนี้[FONT=&quot]"[/FONT]ธรรมทานจึงประเสริฐที่สุด"ดังเรื่องปัญหาของท้าวสักกเทวราชในสมัยหนึ่งท้าวสักกเทวราชพร้อมด้วยเทวดาหมื่นจักรวาลมาเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ครั้นถึงแล้วจึงน้อมนมัสการทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
    [FONT=&quot]"[/FONT]การให้อะไรชนะการให้ทั้งปวง รสแห่งอะไร ชนะรสทั้งปวง
    ความยินดีในอะไร ชนะความยินดีทั้งปวงความสิ้นไปแห่งอะไร ชนะทุกข์ทั้งปวง"
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตอบปัญหาท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพยดา ปรากฏในตัณหาวรรค ธรรมบท ว่า
    สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ สพฺพรสํ ธมฺมรโสชินาติ
    สพฺพรตึ ธมฺมรติชินาติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ
    การให้ธรรมทาน ชนะ การให้ทั้งปวง
    รสแห่งธรรม ชนะ รสทั้งปวง
    ความยินดีในธรรม ชนะ ความยินดีทั้งปวง
    ความสิ้นไปแห่งตัณหา ชนะ ทุกข์ทั้งปวง
    ผู้ใดให้ธรรมเป็นทาน ผู้นั้นชื่อว่าให้พระนิพพาน แก่คนทั้งหลาย
    อ้างอิง
    [FONT=&quot]([/FONT]๑) ธรรมบท ขุททกนิกาย พระสูตรและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏฯ เล่ม๔๓ หน้า ๓๒๕
    [FONT=&quot]([/FONT]๒) คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองในภาษาบาลี อัตราของฉันท์ คือ ๔ บาทเรียกว่า คาถาหนึ่ง
    [FONT=&quot]([/FONT]๓) ธรรมบท ขุททกนิกาย พระสูตรและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏฯเล่ม ๔๓ หน้า ๓๒๓
    การแสดงธรรม, การฟังธรรม, การบอกธรรม, มีอานิสงส์ยิ่งใหญ่มาก
    และประเสริฐกว่า การถวายจีวรทาน บิณฑบาตทาน เสนาสนทาน ทุกอย่าง
    เพราะว่าชนทั้งหลายจะทำบุญมากมายขนาดนั้นได้
    ก็ต่อเมื่อได้ฟังธรรมแล้วเท่านั้น
    ถ้าไม่ได้ฟังธรรมและมีจิตศรัทธาแล้ว
    จะถวายข้าวสวยสักทัพพี ข้าวต้มสักกระบวยก็ยังยาก
    แม้บุคคลที่ได้สำเร็จมรรคผลนิพพาน
    และสำเร็จอัครสาวกภูมิ ก็ต้องอาศัยในการฟังธรรม

    หากคาถาที่ไม่ประกอบด้วยบทอันมีประโยชน์
    แม้จะมีตั้ง ๑,๐๐๐ คาถาก็ตาม คาถาเดียวที่
    บุคคลฟังแล้วสงบระงับได้ ยังประเสริฐกว่า

    จงอย่าภาวนาเพื่อเอาอะไร
    แต่จงภาวนาเพื่อไม่เอาอะไร
    ไม่หยุดไม่ถึงพระ
    ไม่ละไม่ถึงธรรม<!-- google_ad_section_end -->

    สาธุโข ปัพพัชชา
    "การบวชดีนักแล"


    [​IMG]
    อนุโมทนา สาธุ
    กับทุกท่านที่ได้แสดงธรรม,ได้ฟังธรรม,ได้บอกธรรม
    และได้เผยแผ่พระธรรม ทุกอย่างไว้ในพระพุทธศาสนาด้วย​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ตุลาคม 2012
  11. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    ความสำคัญของพระไตรปิฎก
    ก่อนปรินิพพาน พระพุทธเจ้าได้ตรัสทำนองสั่งเสียกับพระอานนท์ว่า เมื่อพระองค์ปรินิพพานล่วงลับไปแล้ว จะไม่ทรงตั้งภิกษุรูปใดแทนพระองค์ หากแต่ให้ชาวพุทธทั้งหลายยึดพระธรรมวินัยเป็นศาสดาแทนพระองค์ ตามพระพุทธพจน์ว่า "โย โว อานนฺท มยาธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา" แปลว่า ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยใดที่เราได้แสดงแล้วและบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น เป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย โดยกาลที่เราล่วงลับไป
    พระพุทธพจน์นี้แสดงให้เห็นว่า พระธรรมวินัย ถือ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า จึงเท่ากับเป็นองค์พระศาสดาและเป็นตัวแทนพระพุทธศาสนา และพระธรรมวินัยทั้งหลายนั้นล้วนได้ประมวลอยู่ใน พระไตรปิฏก ทั้งสิ้น
    อาจกล่าวได้ว่า พระไตรปิฏก มีความสำคัญดังนี้ คือ
    ๑. เป็นที่รวบรวมไว้ซึ่งพระพุทธพจน์ คือคำสั่งของพระพุทธเจ้า
    ๒. เป็นที่สถิตของพระศาสดาของพุทธศาสนิกชน เราสามารถเฝ้าพระพุทธเจ้า หรือรู้จักพระพุทธเจ้าได้จากพระไตรปิฏก
    ๓. เป็นแหล่งต้นเดิมหรือแม่บทในพระพุทธศาสนา
    ๔. เป็นมาตรฐานตรวจสอบคำสอนและข้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา คำสอนและข้อปฏิบัติใดๆ ที่จะถือว่าเป็นคำสอนและข้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนาได้ จะต้องสอดคล้องกับพระธรรมวินัยในพระไตรปิฏก
    ๕. เป็นคัมภีร์ที่ถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ทางวิชาการ




    การสร้างหนังสือพระไตรปิฎก ก็ถือเป็นการให้ธรรมทาน
    เหตุใดการให้ธรรมทาน จึงดีกว่าการให้ทั้งปวง ?
    พระ พุทธเจ้าตรัสว่าผู้ให้ข้าวน้ำ ถือว่าให้กำลัง ผู้ให้เสื้อผ้าถือว่าให้ความสวยงาม แต่ ผู้ให้ธรรมะเป็นทานถือว่าเป็นผู้ให้ความเป็นคน ให้สติปัญญา ให้ความพ้นทุกข์ ที่เป็นเช่นนั้นเพราะผู้ได้อ่านหรือฟังธรรมะแล้วย่อมเกิดความ สำนึกที่ดี มีความพากเพียรในการละชั่วทำดี มีสติปัญญาและมีความเพียรในการปฏิบัติตนให้พ้นจากทุกข์ สร้างสุขให้เกิดขึ้นแก่ตน คนรอบข้าง และสังคมต่อๆ ไป ไม่สิ้นสุด


    “สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ
    การให้ธรรมเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง”
    ….
    “อกฺขรา เอกํ เอกญฺจ พุทฺธรูปํ สมํ สิยา
    สร้างอักขรธรรมหนึ่งอักษร เท่ากับสร้างพระพุทธรูปหนึ่งองค์”

    ขอให้สนใจในธรรมทาน
    โดย พุทธทาสภิกขุ
    ธรรม ทานนั้นมีผลมากว่าทานอื่นจริง ๆ วัตถุทานก็ช่วยกันแต่เรื่องมีชีวิตอยู่รอด, อภัยทานก็เป็นเรื่องมีชีวิตอยู่รอด แต่มันยังไม่ดับทุกข์ มีชีวิตอยู่อย่างเป็นทุกข์น่ะมันดีอะไร, เขาให้มีชีวิตอยู่ แต่เขาได้รับทุกข์ทรมานอยู่ นี้มันดีอะไร มันดีอะไร
    เมื่อ รอดชีวิตอยู่แล้ว มันจะต้องไม่มีความทุกข์ด้วย จึงจะนับว่าดีมีประโยชน์ ข้อนี้สำคัญกว่าด้วยธรรมทาน มีความรู้ธรรมะแล้ว รู้จำทำให้ไม่มีความทุกข์ รู้จักป้องกันไม่ให้เกิดความทุกข์ รู้จักหยุดความทุกข์ที่กำลังเกิดอยู่ ธรรมทานจึงมีผลกว่าในลักษณะอย่างนี้ มันช่วยให้ชีวิตไม่เป็นหมัน
    วัตถุ ทานและอภัยทานช่วยให้เรารอดชีวิตอยู่ บางทีก็อยู่เฉย ๆ มันสักว่ารอดชีวิตอยู่เฉย ๆ แต่ถ้ามีธรรมทานเข้ามาก็จะสามารถช่วยให้มีผลถึงที่สุดที่มนุษย์ควรจะได้รับ เพราะฉะนั้น ขอให้สนใจในเรื่องธรรมทาน
    ที นี้ให้ธรรมทาน มีจิตใจอยู่เหนือกิเลส ไม่ประกอบไปด้วยกิเลสมันก็ไม่มีปัญหา มันก็เสวยความสุขชนิดที่ไม่เกี่ยวกับกิเลส ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าเป็นของเหนือกว่า เพราะฉะนั้น ขอให้ทุกคนพยายามให้ธรรมทานคือทำให้บุคคลอื่นมีธรรมะแล้วก็จะได้ผลชนิดที่ ละเอียด ลึกซึ้ง ประณีต ประเสริฐ ยิ่งกว่าให้วัตถุทาน.
    ให้ วัตถุทาน ชื่อว่าให้กำลังแรงกาย ส่งผลให้ร่ำรวย เป็นสุขในสวรรค์
    ให้ อภัยทาน ชื่อว่าให้ความไม่มีเวร ส่งผลให้ชีวิตสงบ เป็นสุขในสวรรค์
    ให้ ธรรมทาน ชื่อว่าให้ปัญญา ให้แสงสว่าง ให้ความพ้นทุกข์ ส่งผลให้มีสติปัญญาเห็นแจ้งในมรรค ผล เข้าถึงสุขสูงสุดในนิพพาน
     
  12. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    พระพุทธพจน์


    เอโกว มจฺโจ อจฺเจติ เอโกว ชายเต กุเล
    สํโยคปรมาเตวว สมฺโภคา สพฺพปาณินํ
    จะตายก็ไปคนเดียว จะเกิดก็มาเกิดคนเดียว
    ความสัมพันธ์ของสัตว์ทั้งหลาย
    ก็เพียงแค่ได้มาพบปะเกี่ยวข้องกัน เท่านั้นเอง


    ท่านที่ต้องการปฏิบัติภาวนาอยู่ที่บ้านเพื่อขัดเกลากิเลส
    ปริยัติ......เรียนรู้,การศึกษา,การฟังธรรม,คัมภีร์
    ปฏิบัติ......การปฏิบัติ ทาน ศิล สมาธิ วิปัสสนาปัญญา
    ปฏิเวธ......รู้แล้ว ปล่อย ปละ ละ วาง (เพราะทุกสรรพสิ่งเป็นอนัตตา)


    เร่งทำดี วันนี้ อย่ารอเดี๋ยว
    ประเดี๋ยวเดียว ชีวิต มลายสิ้น
    เพียงชั่วครู่ เร่งทำ ความดีพลัน
    เกิดสุขสันต์ บุญกุศล เปี่ยมล้นใจ....

    หมั่นสร้างทำ ความดี บังเกิดผล
    ก่อนสิ้นลม หายใจ ไปสูญสิ้น
    ให้คงฟ้า ก้องโลก บรรลือดิน
    อย่าสูญสิ้น ความดี มีคุณธรรม


    ผลกุศล นำพา ความสุขให้
    ผลกุศล นำใจ ให้สุขสรรค์
    ผลกุศล นำชีวิต พาชีวัน
    ผลกุศล พาสู่สวรรค์ นิพพานเอย


    อย่าดูหมิ่น บุญกรรม จำนวนน้อย
    มันจะคอย ติดตามต้อง สนองผล
    เหมือนตุ่มใหญ่ เปิดหงาย รับสายชล
    ย่อมเต็มล้น ด้วยอุทก ที่ตกลง

    สาธุชน สะสม บ่มบุญบ่อย
    ทีละมากน้อย แนบไว้ มิให้หลง
    บุญนั้นย่อม เต็มพลัง ด้วยมั่นคง
    กุศลส่ง สู่สวรรค์ นิพพาน เอย


    อนุโมทนา สาธุ
    กับทุกท่านที่ได้ร่วมกันทำบุญ
    สร้างพระใหญ่ชัยภูมิและสร้างบุญ
    กุศลทุกอย่างเพื่อสืบต่อพระพุทธศาสนา
    ให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปด้วยครับ
    กระผมจะส่งปัจจัยไปร่วมทำบุญด้วย
    อนุโมทนาบุญและร่วมทำบุญมหากุศลด้วยกันนะครับ
    (มูลนิธิพระใหญ่ชัยภูมิ ไม่มีเลขที่บัญชีธนาคาร
    เพื่อให้ญาติธรรมได้โอนเงินเข้าร่วมทำบุญหรือครับ)[/
    COLOR
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 พฤศจิกายน 2012

แชร์หน้านี้

Loading...