ขออนุญาติเปิดกระทู้เกี่ยวกับ lhc เลยละกัน

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย จักรพนธ์, 31 กรกฎาคม 2008.

  1. จักรพนธ์

    จักรพนธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    374
    ค่าพลัง:
    +4,622
    LHC หลุมดำอาจไม่ใช่เรื่องไกลตัว


    <INPUT class=Shared_CommandButton onclick="ShowReplyPopup('104794')" type=button value=ตอบกลับ> <INPUT class=Shared_CommandButton onclick="ShowTopicReportPopup('104794');" type=button value=แจ้งลบ>
    <HR class=TopicRead_MessageHr>เรื่อง: LHC อีก 3 เดือน ไขความลับจักรวาลหรือหายนะของมวลมนุษย์

    [​IMG]

    Large Hadron Collider (LHC) เป็นเครื่องเร่งความเร็วอนุภาค ของศูนย์วิจัย CERN ในสวิตเซอร์แลนด์ มีลักษณะเป็นท่อใต้ดินวนเป็นวงกลมยาว 27 กิโลเมตร เป้าหมายของ LHC คือใช้ทดลองเร่งความเร็วอนุภาคแล้วเอามาวิ่งชนกัน เพื่อตรวจสอบทฤษฎีทางฟิสิกส์อนุภาคว่าเป็นไปได้จริงหรือไม่ โดยเฉพาะ ซึ่งถ้าสร้างขึ้นมาได้จริงตามทฤษฎี วงการฟิสิกส์จะก้าวหน้าขึ้นไปอีกมาก LHC ตอนนี้กำลังสร้างอยู่และมีกำหนดเปิดใช้งานเดือนพฤษภาคมนี้(2008)

    อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่คาใจเรื่องความปลอดภัยของ LHC ในหลายประเด็น เช่นว่า การใช้งาน LHC อาจก่อให้เกิดแบล็คโฮล (หลุมดำ)ขนาดเล็กขึ้นมาทำลายล้างโลก หรือเปลี่ยนขั้วแม่เหล็กโลกให้เหลือข้างเดียวได้ ล่าสุดได้มีคนยื่นฟ้องต่อศาลสหรัฐ ให้กระทรวงพลังงานสหรัฐและห้องทดลอง Fermilab ซึ่งเป็นภาคีสมาชิกของ LHC ชะลอการใช้งานไปอีก 4 เดือนเพื่อตรวจสอบความปลอดภัย ซึ่งทางฝ่ายสนับสนุน LHC เองก็ออกมาโต้แย้งว่าไม่มีหลักฐานใดๆ ว่าจะเกิดอันตรายขึ้นแต่อย่างใด ส่วนศาลจะรับฟ้องหรือไม่นั้นอยู่ระหว่างกระบวนการด้านเอกสาร "

    [​IMG]

    แม้นักฟิสิกส์ทั่วโลกจะใช้เวลาถึง 14 ปีและลงทุนไปกว่า 8 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสร้างเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (Large Hadron Collider: LHC) ที่ใหญ่สุดในโลก ภายใต้ความร่วมมือขององค์การศึกษาวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป "เซิร์น" (Cern) เพื่อเร่งให้อนุภาคโปรตอนชนกัน แล้วสร้างพลังงานและเงื่อนไขที่เหมือนกับเสี้ยววินาทีที่ 1 ในล้านล้านล้านหลังเกิดบิกแบง (Big Bang) โดยนักวิทยาศาสตร์จะวิเคราะห์เศษซากที่เกิดขึ้น เพื่อไขปริศนาธรรมชาติของมวลและแรงใหม่ๆ รวมถึงความสมมาตรของธรรมชาติด้วย

    [​IMG]

    หากแต่วอลเตอร์ แอล.วากเนอร์ (Walter L.Wagner) ผู้อาศัยอยู่ในมลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา และศึกษาวิจัยฟิสิกส์และรังสีคอสมิกที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กเลย์ (University of California, Berkeley) ทั้งยังได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยนอร์เธิร์นแคลิฟอร์เนียในซาคราเมนโต (University of Northern California in Sacramento) และลูอิส ซานโช (Luis Sancho) ซึ่งระบุว่าทำวิจัยเกี่ยวกับทฤษฎีเวลาและอาศัยอยู่ในสเปน ได้ฟ้องต่อศาลฮาวายเพื่อเรียกร้องสิทธิให้ระงับการทดลองของเซิร์น เนื่องจากอาจทำให้เกิดหลุมดำขนาดเล็กที่อาจ "กินโลก" หรือทำให้เกิดอนุภาคแปลกๆ ที่เปลี่ยนโลกให้หดกลายเป็นก้อนที่มีความหนาแน่นสูง

    [​IMG]

    ทั้งนี้แม้จะฟังดูประหลาด แต่กรณีนี้ก็เป็นประเด็นเคร่งเครียดที่สร้างความวิตกให้กับนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ในช่วงเวลาไม่กี่ปีมานี้ กล่าวคือพวกเขาจะประมาณความเสี่ยงจากการทดลองใต้ดินที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อนนี้ได้อย่างไร และใครที่จะเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะหยุดหรือเดินหน้าการทดลอง

    [​IMG]

    สรุปคือเครื่องเร่งอนุภาค เพื่อจะทำให้ตัว LHC ทำความเร็วไปแตะระดับความเร็วแสง เพื่อทำให้เกิดปรากฎการใหม่ที่มนุษยชาติไม่เคยมีไครทำและทำได้ ถ้าทำได้สำเร็จจริงจะเป็นผลแห่งความรู้ใหม่อันมหาศาลทางวิทยาศาสตร์ของมนุษย์โลก เอาแบบง่ายๆ ถ้าทำสำเร็จจะเป็นพื้นฐานของการทำเครื่อง Time Machine แต่ถ้าสำเร็จจริงผลเสียที่ตามมา ที่มีกลุ่มคนต่อต้านกันอยู่คือ มันเป็นเทคโนโลยีที่ใหม่มาก การประเมินผลเสียที่เกิดขึ้นเป็นแค่การสมมุติฐานและคำนวนตามทฤษฎีเท่านั้น จึงเป็นไปได้ทั้งสองทางคือ อาจจะเป็นผลที่ดีมาก หรือผลเสียมากต่อมนุษยชาติก็ได้ ดีก็ดีไปแต่ข้อเสียก็คือ การทำให้อะไรสักอย่างบนโลกใบนี้เร็วในระดับไปแตะก้นความเร็วแสงได้จริงมันอาจทำให้เกิดหลุมดำขนาดหนึ่งขึ้นมาได้ และอาจจะดูดกลืนทุกสิ่งบนโลกใบนี้ให้หายไปเลยก็ได้ครับ ทั้งผลร้ายและผลดีนั้น คำนวนตามทฤษฎีของนักวิทยาศาสตร์ทั้งนั้นครับ ซึ่งไม่เคยมีใครมีประสบการณ์ในการทดลองจริงได้สำเร็จ

    [​IMG]

    ไม่ควรมองเป็นเรื่องไกลตัวนะครับ เพราะเรื่องนี้บอกว่าเรามาจากที่ไหนแล้วจะสิ้นสุดตรงไหนอีกอย่างการทดลองจะมีขึ้นเร็วๆนี้

    ไม่แน่นะครับถ้าเกิดความผิดพลาดในการทดลองขึ้นจริงๆ เช่นทำให้แม่เหล็กของโลกเหลือขั้วเดียว รึอะไรก็แล้วแต่ที่อยู่นอกเหนือการคำนวณ เราคงได้สนุกกันแน่ ตอนนี้ชะลอการใช้งานไปอีก 4 เดือนเพื่อตรวจสอบความปลอดภัย เดือนกันยาก็ได้มีลุ้นครับ

    มีความกลัวไปต่างๆนานา ว่าจะเกิดอะไรขึ้น
    ที่น่ากลัวคือมันจะสร้าง black hole ขึ้นบนโลก.... ดูดจ๊วบ...

    ถึงตอนนั้นไม่รู้ว่าจะเจออะไร หรือไม่เจออะไรเลย

    เราอาจจะตายกันหมด หรือตายกันซักค่อนโลก
    ยุโรปอาจจะหายไปจากแผนที่โลกเลยก็ได้

    มันช่างเหมือนในหนังไซไฟจริงๆ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    credit : http://www.soccersuck.com/soccer/viewtopic.php?t=95805&postdays=0&postorder=asc&start=0
     
  2. kumpeang

    kumpeang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    546
    ค่าพลัง:
    +1,984
  3. คีตเสวี

    คีตเสวี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มกราคม 2007
    โพสต์:
    980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +750
    ขอแปะด้วยคนครับ


    [​IMG]





    "เซิร์น" ออกรายงานยืนยัน โลกไม่หายนะแน่นอน เมื่อเดินเครื่องเร่งอนุภาคไขความลับเอกภพ ระบุธรรมชาติมีอนุภาคชนกันมากกว่าเครื่องเร่งของเซิร์นเป็นล้านเท่า ในช่วงหลายพันล้านปีมานี้ แต่โลกยังคงอยู่ได้ ส่วนข้อกังวลว่าจะเกิดหลุมดำกลืนกินโลก ก็แจงว่าหลุมดำจิ๋วจะสลายไปในเวลาอันสั้น

    หลายคนกำลังหวั่นวิตกว่า หากองค์การวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organiztion for Nuclear Research) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อย่อภาษาฝรั่งเศสว่า "เซิร์น" (Cern) เดินเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ "แอลเอชซี" (Large Hadron Collider: LHC) เมื่อใด โลกจะตกอยู่ในอันตรายที่ไม่อาจคาดเดาได้

    บางคนก็วิจารณ์ว่า หลุมดำจิ๋วที่อาจเกิดขึ้นจากการชนกันของอนุภาคนั้น จะกลืนกินโลกทั้งใบ บ้างก็วิเคราะห์ว่าอนุภาคแปลกๆ ที่เกิดจากเครื่องเร่งอนุภาคจะเผาไหม้โลกจนถึงจุดจบ

    ทั้งนี้ เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีซึ่งขดเป็นวงกลมยาว 27 กิโลเมตร ที่ลึกลงไปใต้ชายแดนสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส 100 เมตรนั้น จะบังคับให้อนุภาคโปรตรอนชนกันที่ระดับใกล้ความเร็วแสง

    จากนั้นเครื่องตรวจวัดอนุภาคขนาดใหญ่ 6 ตัว ซึ่งทำงานแยกกันโดยอิสระ ก็จะนับ ติดตามและวิเคราะห์อนุภาค ที่ถูกปลดปล่อยออกจากการชนกันดังกล่าว อันจะเป็นการไขความลับเอกภพตามทฤษฎีของนักฟิสิกส์

    หากแต่ล่าสุด เซิร์นได้เสนอรายงานที่ระบุว่า การทดลองที่จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของซีกโลกเหนือนี้ "ไม่มีอันตรายใดๆ ที่พอจะเป็นไปได้"

    อีกทั้ง บีบีซีนิวส์ได้สรุปรายงานจากการศึกษาโดยนักทฤษฎีชั้นนำของเซิร์น ว่า ตลอดหลายพันล้านปีที่ผ่านมานั้น โลกได้รับผลจากการชนกันของอนุภาคในธรรมชาติเป็นล้านเท่าๆ เมื่อเทียบกับการทดลองของแอลเอชซี แต่โลกก็ยังคงอยู่ และไม่มีหลักการรองรับความกังวลใดๆ เกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากอนุภาคใหม่หรือการก่อตัวของสสารที่อาจจะเกิดจากเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี

    ทางด้านเดลีเมลรายงานว่า แม้นักวิจัยจะยอมรับว่าเครื่องเร่งอนุภาคนี้ ทดลองที่ระดับพลังงานสูง ในระดับที่ไม่เคยมีเทคโนโลยีใดของมนุษย์ทำได้มาก่อน แต่รังสีคอสมิคจากนอกโลก ที่เกิดจากการชนกันของอนุภาค ก็ทำให้เกิดพลังงานที่สูงกว่าเครื่องเร่งแอลเอชซีมาก ถึงอย่างนั้นก็ไม่ทำให้เกิดผลเสียแต่อย่างใด

    เดลีเมลยังระบุด้วยว่าเมื่อปี 2543 ได้มีรายงานว่าเครื่องเร่งอนุภาคอาจทำให้เกิดอนุภาคที่เรียกว่า "สแตรงเลตส์" (stranglets) ซึ่งจะเปลี่ยนนิวเคลียสในอะตอมตั้งต้น ให้กลายเป็นสสารแปลกๆ ที่สร้างความหายนะให้กับโลกได้

    หากแต่ในปี 2546 ดร.แอเดรียน เคนท์ (Dr.Adrian Kent) จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge) สหราชอาณาจักร ได้โต้แย้งว่านักวิทยาศาสตร์คำนวณแล้วว่าไม่พบความเสี่ยงจากอนุภาคแปลกๆ

    สอดคล้องกับรายงานล่าสุดของเซิร์นซึ่งนำโดยจอห์น เอลลิส (John Ellis) นักฟิสิกส์ทฤษฎีซึ่งระบุว่า การทดลองก่อนหน้านี้ นักวิจัยไม่สามารถสร้างอนุภาคที่ว่าได้ และอุณหภูมิที่เกิดขึ้นก็ไม่สูงอย่างที่กังวล

    และแม้นักวิทยาศาสตร์จะยอมรับว่าเครื่องเร่งอนุภาค ทำให้เกิดหลุมดำจิ๋วขึ้นมาได้ แต่หลุมดำที่ว่านั้นเกิดขึ้นได้จากการชนกันของควาร์ก (quark) และกลูออน (gluon) ซึ่งอยู่ในอนุภาคโปรตรอน ดังนั้นจึงสลายไปอยู่ในรูปของอนุภาคที่สร้างหลุมดำนั้นขึ้นมาได้ และคาดว่าช่วงอายุของหลุมดำจิ๋วนั้นจะสั้นมากๆ

    สำหรับกำหนดการเดินเครื่องเร่งอนุภาคของเซิร์นนั้น เดิมกำหนดไว้วันที่ 26 พ.ย.50 แต่ก็เลื่อนออกมาหลายครั้ง โดยการเลื่อนครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเดือน มี.ค.ของปีที่แล้ว อันเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแม่เหล็กชิ้นสำคัญ ส่วนกำหนดล่าสุดอยู่ในช่วงปลายฤดูร้อนของซีกโลกเหนือซึ่งอยู่ในราวเดือน ก.ค.-ส.ค.นี้
     
  4. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
  5. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    เปิดสามโลกรึเปล่าคะ
    ฝรั่งไม่รู้จัก ๓๑ ภพภูมิเสียด้วย คิดว่าเกิดแล้วตายมีชาติเดียว...
    เฮ้อ....
     
  6. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    ถ้ามีการเปิดสามโลกตรงจุดที่ตั้งเครื่องตรงนี้จริงคงน่ากลัวพิลึกครับ เพราะพื้ที่บริเวณนี้อาจจะมีคนตายโดยไม่รู้สาเหตุเป็นล้านๆคนเลยครับ น่ากลัวมากๆๆ อึ๊ยสยอง
     
  7. คุณ 4

    คุณ 4 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    733
    ค่าพลัง:
    +5,159
    ตกลงไอ้เครื่องนี้ เขาต้องการพิสูจน์อะไรรึ หรือแค่ให้อานุภาควิ่งเร็วเท่าแสงมาชนกันเปรี๊ยงปร๊าง แล้วยังไงต่อ แล้วมันจะเกิดหลุมดำได้ไง งง ๆ
     
  8. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    ทุกอย่างเป็นการคาดคะเนครับ ว่าจะเกิดผลลัพธ์ หลายแบบ
    เพราะไม่ได้มีการทำทดลองในเสกลขนาดนี้ มาก่อน
    อีกประการหนึ่ง
    เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดในธรรมชาติปกติด้วย
    หลุมดำ ก็ตั้งสมมติฐาน ว่าเกิดจาก
    ดาวฤกษ์หดตัวเล็กลงมาก จนมวลหายไป แต่แรงดึงดูดเป็น อินฟินิตี้
    ...
    ซึ่งถ้าคุณไปอ่านในไตรภูมิกถา
    จะเจอ ช่องว่างระหว่างมิติ จักรวาล และสัตว์ที่อาศัยอยู่ในนั้นด้วยครับ
    ซึ่งความเห็นผม ช่องว่างจักรวาลนี้ น่าจะหมายถึง หลุมดำ
     
  9. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    การทดลองนี้มีจุดมุ่งหมายหลายอย่างครับ

    คือ

    -ทดลองการเคลื่อนที่ของอนุภาคด้วยความเร็วกว่าแสง ตามทฤษฏีของไอน์ไตน์

    -การปลดปล่อยพลังงานมหาศาลจากสะสารมาเป็นพลังงาน หรือที่เรียกว่า "ปฏิสะสาร"

    -การเคลื่อนที่ผ่านรูหนอน ช่องว่างของมิติทั้งเวลาและสถานที่ ซึ่งหวังไปสู่การวาปซ์ ในอวกาศ รวมไปถึง การสร้างไทม์แมชชีน


    แต่ผลกระทบของการทดลองนี้ ยังไม่อาจคาดเดาอะไรได้ครับ ตั้งแต่

    -การเปิดประตูมิติ

    -พลังงานมหาศาลจนกระทั่งจุดที่ทดลองมอดไหม้

    -เกิดสนามแม่เหล็กแปรปรวนจนแม่เหล็กโลกพลิกขั้วอย่างสิ้นเชิง

    -ระหว่างการเดินเครื่องซึ่งใช้พลังงานมหาศาล ทำให้เกิดแบล็คเอาท์ครั้งยิ่งใหญ่ในยุโรป หรือแม้แต่ทำให้เกิดการโอเวอร์โหลดที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์หลายๆแห่งได้


    พยายามอธิบายให้เข้าใจด้วยภาษาที่ง่ายหน่อยครับ เพื่อให้เกิดความเข้าใจกับทุกๆคนในวงกว้าง

    คราวนี้ลองมามองโลกในแง่ดีบ้าง ว่าการศึกษาหรือความรู้ที่ได้จะนำไปใช้อะไรได้บ้าง


    -ทำให้การเดินทางไปยังอวกาศ และแกแลคซี่ที่อยู่ห่างไกลง่ายขึ้น เร็วขึ้น โดยการวาปซ์ ผ่านมิติ

    -ทำให้เราพบวิธี สร้างพลังงานรูปแบบใหม่ที่ให้พลังงานสูง มากๆ โดยใช้สะสารเพียงจำนวนที่เล็กเท่าเม็ดทรายเท่านั้น

    -ทำให้เราสร้างไทม์แมชชีนได้


    แต่หากผู้ที่ใช้เทคโนโลยี่นี้ นำไปใด้วย ความโลภ ความโกรธ ความหลง โลกของเราใบนี้ก็อันตรายอย่างยิ่ง ยิ่งกว่าการครอบครองเทคโนโลยี่ นิวเคลียร์เสียอีก

    -
     
  10. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    <TABLE class=tborder id=post1395736 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>ปาฏิหาริย์<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1395736", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Jan 2006
    ข้อความ: 478
    ได้ให้อนุโมทนา: 4,425
    ได้รับอนุโมทนา 7,620 ครั้ง ใน 475 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 271 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1395736 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=http://images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http://images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http://images/linedot_vert.gif>[​IMG]<SCRIPT><!--D(["mb","\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"right\" width\u003d\"1\" height\u003d\"1\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.manager.co.th/images/blank.gif\" width\u003d\"1\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\" background\u003d\"http://images/linedot_hori.gif\" height\u003d\"1\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.manager.co.th/images/blank.gif\" width\u003d\"1\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"left\" width\u003d\"1\" height\u003d\"1\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.manager.co.th/images/blank.gif\" width\u003d\"1\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"4\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"middle\"\u003eเจ้าหน้าที่กำลังติตั้งท่\u003cWBR\u003eอนำลำอนุภาคในเครื่องตรวจวัด \u0026quot;แอตลาส\u0026quot; (ATLAS) ซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในเครื่\u003cWBR\u003eองเร่งอนุภาคแอลเอชซี\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\n\u003cbr\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"bottom\" align\u003d\"left\" height\u003d\"12\"\u003e\u003cimg height\u003d\"12\" src\u003d\"http://www.manager.co.th/images/TabOver.gif\" width\u003d\"167\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd bgcolor\u003d\"#cccccc\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"1\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\" bgcolor\u003d\"#ffffff\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\" width\u003d\"160\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"4\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"middle\"\u003eคลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"center\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://pics.manager.co.th/Images/551000009391702.JPEG\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg height\u003d\"150\" src\u003d\"http://pics.manager.co.th/Thumbnails/551000009391702.JPEG\" width\u003d\"100\" vspace\u003d\"5\" border\u003d\"0\"\u003e",1]);//--></SCRIPT> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=http://images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=baseline align=middle>เจ้าหน้าที่กำลังติตั้งท่<WBR>อนำลำอนุภาคในเครื่องตรวจวัด "แอตลาส" (ATLAS) ซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในเครื่<WBR>องเร่งอนุภาคแอลเอชซี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]<SCRIPT><!--D(["mb","\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID\u003d1015692\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003eภาพอีกมุมขณะเจ้าหน้าที่กำลังติ\u003cWBR\u003eตั้งท่อนำลำอนุภาคในเครื่\u003cWBR\u003eองตรวจวัด \u0026quot;แอตลาส\u0026quot; (ATLAS) ซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในเครื่\u003cWBR\u003eองเร่งอนุภาคแอลเอชซี\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"center\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://pics.manager.co.th/Images/551000009391703.JPEG\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg height\u003d\"113\" src\u003d\"http://pics.manager.co.th/Thumbnails/551000009391703.JPEG\" width\u003d\"150\" vspace\u003d\"5\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID\u003d1015693\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003eภาพเครื่องตรวจวัดอลิซ (ALICE) สถานีตรวจวัดอนุภาคอีกแห่งเมื่\u003cWBR\u003eอต้นปีนี้\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"center\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://pics.manager.co.th/Images/551000009391704.JPEG\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg height\u003d\"100\" src\u003d\"http://pics.manager.co.th/Thumbnails/551000009391704.JPEG\" width\u003d\"150\" vspace\u003d\"5\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID\u003d1015694\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003eภาพมุมสูงของที่ทำการสถานี\u003cWBR\u003eตรวจวัดอลิซบนพื้นดินซึ่งตั้\u003cWBR\u003eงอยู่บนเมืองปุยยี สวิตเซอร์แลนด์ และอยู่ห่างจากที่ทำการหลั\u003cWBR\u003eกของเซิร์น 2 กิโลเมตรและอยู่ห่างจากที่\u003cWBR\u003eทำการหลักของเซิร์นและชายแดนสวิ\u003cWBR\u003eตเซอร์แลนด์ 2 กิโลเมตร\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"center\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://pics.manager.co.th/Images/551000009391705.JPEG\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e",1]);//--></SCRIPT> </TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพอีกมุมขณะเจ้าหน้าที่กำลังติ<WBR>ตั้งท่อนำลำอนุภาคในเครื่<WBR>องตรวจวัด "แอตลาส" (ATLAS) ซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในเครื่<WBR>องเร่งอนุภาคแอลเอชซี</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพเครื่องตรวจวัดอลิซ (ALICE) สถานีตรวจวัดอนุภาคอีกแห่งเมื่<WBR>อต้นปีนี้</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพมุมสูงของที่ทำการสถานี<WBR>ตรวจวัดอลิซบนพื้นดินซึ่งตั้<WBR>งอยู่บนเมืองปุยยี สวิตเซอร์แลนด์ และอยู่ห่างจากที่ทำการหลั<WBR>กของเซิร์น 2 กิโลเมตรและอยู่ห่างจากที่<WBR>ทำการหลักของเซิร์นและชายแดนสวิ<WBR>ตเซอร์แลนด์ 2 กิโลเมตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><SCRIPT><!--D(["mb","\u003cimg height\u003d\"114\" src\u003d\"http://pics.manager.co.th/Thumbnails/551000009391705.JPEG\" width\u003d\"150\" vspace\u003d\"5\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"middle\"\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID\u003d1015695\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003eแผนภาพแสดงองค์ประกอบของเครื่\u003cWBR\u003eองเร่งอนุภาคแอลเอชซีซึ่งอยู่\u003cWBR\u003eใต้ดินลึกลงไป 100 เมตร และประกอบไปด้วยสถานีตรวจวั\u003cWBR\u003eดและเซคเตอร์หลายๆ แห่ง\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"center\" align\u003d\"middle\" width\u003d\"165\" height\u003d\"1\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.manager.co.th/images/blank.gif\" width\u003d\"165\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\n\u003c/td\u003e\n\u003ctd width\u003d\"4\" background\u003d\"http://images/linedot_vert3.gif\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.manager.co.th/images/blank.gif\" width\u003d\"4\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"7\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" align\u003d\"middle\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"baseline\" align\u003d\"left\"\u003e\u003cstrong\u003e\u003cfont color\u003d\"#003366\"\u003eห้องทดลองทางฟิสิกส์ภายในท่\u003cWBR\u003eอขนาดใหญ่ที่ขดเป็นวงกลมอยู่ใต้\u003cWBR\u003eดินของชายแดนสวิส-ฝรั่งเศสกำลั\u003cWBR\u003eงจะกลายเป็นบริเวณที่เย็นยะเยื\u003cWBR\u003eอกที่สุดแห่งหนึ่งในจักรวาล เมื่อเซิร์นเตรียมเดินเครื่\u003cWBR\u003eองเร่งอนุภาคในเดือน ส.ค.นี้\u003c/font\u003e\u003c/strong\u003e\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       \u003ca href\u003d\"http://www.cern.ch/\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u0026quot;เซิร์น\u0026quot; (CERN) หรือองค์กรความร่วมมือระหว่\u003cWBR\u003eางประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจั\u003cWBR\u003eยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ (European Center for Nuclear Research)\u003c/a\u003e ได้\u003cstrong\u003eเตรียมความพร้อมให้กับเครื่\u003cWBR\u003eองเร่งอนุภาคแอลเอชซี\u003c/strong\u003e (Large Hadron Collider: LHC)\u003cstrong\u003e ซึ่งเข้าสู่ระยะสุดท้ายก่อนเดิ\u003cWBR\u003eนเครื่องตามกำหนดในเดือน ส.ค.นี้ โดยได้ลดอุณหภูมิให้กับเครื่\u003cWBR\u003eองเร่งอนุภาคลงไปอยู่ที่ 1.9 เคลวินหรือ -271 องศาเซลเซียส นับเป็นอุณหภูมิที่เย็นยิ่งกว่\u003cWBR\u003eากว่าอวกาศห้วงลึกเสียอี",1]);//--></SCRIPT>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>แผนภาพแสดงองค์ประกอบของเครื่<WBR>องเร่งอนุภาคแอลเอชซีซึ่งอยู่<WBR>ใต้ดินลึกลงไป 100 เมตร และประกอบไปด้วยสถานีตรวจวั<WBR>ดและเซคเตอร์หลายๆ แห่ง</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=http://images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=baseline align=left>ห้องทดลองทางฟิสิกส์ภายในท่<WBR>อขนาดใหญ่ที่ขดเป็นวงกลมอยู่ใต้<WBR>ดินของชายแดนสวิส-ฝรั่งเศสกำลั<WBR>งจะกลายเป็นบริเวณที่เย็นยะเยื<WBR>อกที่สุดแห่งหนึ่งในจักรวาล เมื่อเซิร์นเตรียมเดินเครื่<WBR>องเร่งอนุภาคในเดือน ส.ค.นี้

    "เซิร์น" (CERN) หรือองค์กรความร่วมมือระหว่<WBR>างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจั<WBR>ยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ (European Center for Nuclear Research) ได้เตรียมความพร้อมให้กับเครื่<WBR>องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (Large Hadron Collider: LHC) ซึ่งเข้าสู่ระยะสุดท้ายก่อนเดิ<WBR>นเครื่องตามกำหนดในเดือน ส.ค.นี้ โดยได้ลดอุณหภูมิให้กับเครื่<WBR>องเร่งอนุภาคลงไปอยู่ที่ 1.9 เคลวินหรือ -271 องศาเซลเซียส นับเป็นอุณหภูมิที่เย็นยิ่งกว่<WBR>ากว่าอวกาศห้วงลึกเสียอี<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cWBR\u003eกตามรายงานของบีบีซีนิวส์\u003c/strong\u003e\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       ปัจจุบันเซคเตอร์ 6 ส่วนของแอลเอชซีจากทั้งหมด 8 ส่วนมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 4.5-1.9 เคลวิน โดยเมื่อ 2-3 เดือนก่อนที่บางระยะเซคเตอร์ทั้\u003cWBR\u003eงหมดของเครื่องจักรจะถูกลดอุ\u003cWBR\u003eณหภูมิลงไป 1.9 เคลวิน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่\u003cWBR\u003eในอวกาศส่วนนอกที่อยู่\u003cWBR\u003eไกลออกไปนั้นมีอุณหภูมิประมาณ 2.7 เคลวินหรือ -270 องศาเซลเซียส\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       เครื่องเร่งอนุ\u003cWBR\u003eภาคแอลเอชซีซึ่งประกอบด้วยแม่\u003cWBR\u003eเหล็กนับพันๆ ชิ้นจะถูกรักษาสภาพอันเย็นยะเยื\u003cWBR\u003eอกนี้ด้วยฮีเลียมเหลว โดยแม่เหล็กเหล่านั้นถูกจัดเรี\u003cWBR\u003eยงภายในอุโมงค์ยักษ์ยาว 27 กิโลเมตรที่ขดเป็นวงอยู่ใต้ดิ\u003cWBR\u003eนระหว่างสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่\u003cWBR\u003eงเศสลึกลงไป 100 เมตร ซึ่งเครื่องมือทดลองทางฟิสิกส์\u003cWBR\u003eที่ทรงพลังที่สุดเท่าที่มนุษย์\u003cWBR\u003eเคยสร้างมานี้จะสร้างเงื่\u003cWBR\u003eอนไขเสมือนเพิ่งเกิดบิกแบง (Big Bang) อีกครั้ง\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       \u003cstrong\u003eเมื่อเดินเครื่\u003cWBR\u003eองแอลเอชซีจะเร่งลำอนุภาคโปรตอน 2 ลำให้มีพลังงานสูงและเคลื่อนที่\u003cWBR\u003eไปตามท่อผ่านแม่เหล็กทั้งหลาย โดยลำอนุภาคทั้ง 2 จะเคลื่อนที่ในทิศทางตรงข้ามกั\u003cWBR\u003eนด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง และสักจุดหนึ่งภายในอุโมงค์\u003cWBR\u003eลำอนุภาคทั้งสองจะสวนทางกัน แล้วชนกันด้วยแรงมหาศาล\u003c/strong\u003e ซึ่งนักวิทยาศาสตร์หวังว่าจะได้\u003cWBR\u003eเห็นอนุภาคใหม่\u003cWBR\u003eจากเศษซากของการชนกันนี้ อันจะเผยความเข้าใจอย่างลึกซึ้\u003cWBR\u003eงในพื้นฐานของจักรวาลและจั\u003cWBR\u003eกรวาลเป็นอยู่อย่างนี้ได้อย่\u003cWBR\u003eางไร\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       โรเบอร์โต ซาบัน (Roberto Saban) หัวหน้าคณะกรรมการอุปกรณ์ฮาร์\u003cWBR\u003eดแวร์ของเครื่องเร่งอนุ\u003cWBR\u003eภาคแอลเอชซีอธิบายว่า \u003cstrong\u003eเพื่อสร้างสนามแม่เหล็กที่มี\u003cWBR\u003eความเข้มสูงโดยไม่กินพลั\u003cWBR\u003eงงานมากเกินไปนั้น แม่เหล็กจำเป็นต้องอยู่ในสภาพตั\u003cWBR\u003eวนำยิ่งยวด\u003c/strong\u003e (superconducting)\u003cstrong\u003e ซึ่งคุณสมบัตินี้ได้แสดงให้เห็\u003cWBR\u003eนในวัสดุบางชนิดว่าที่อุณหภูมิ\u003cWBR\u003eต่ำๆ นั้นการไหลของกระแสไฟฟ้าจะมี\u003cWBR\u003eความต้านทานเป็นศูนย์และสูญเสี\u003cWBR\u003eยพลังงานเพียงน้อยนิด\u003c/strong\u003e\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       \u0026quot;ที่อุณหภูมิ 2.2 เคลวินฮีเลียมแสดงคุณสมบัติอั\u003cWBR\u003eนน่าตื่นเต้นด้วยการกลายเป็น \u0026quot;ของเหลวยิ่งยวด\u0026quot; (superfluid) ซึ่งจะนำความร้อนได้อย่างรวดเร็\u003cWBR\u003eว ทำให้ฮีเลียมเป็นตัวทำความเย็\u003cWBR\u003eนที่ทรงประสิทธิภาพอย่างดีเยี่\u003cWBR\u003eยม ไม่มีการทดลองทางฟิสิกส์อนุ",1]);//--></SCRIPT> <WBR>กตามรายงานของบีบีซีนิวส์

    ปัจจุบันเซคเตอร์ 6 ส่วนของแอลเอชซีจากทั้งหมด 8 ส่วนมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 4.5-1.9 เคลวิน โดยเมื่อ 2-3 เดือนก่อนที่บางระยะเซคเตอร์ทั้<WBR>งหมดของเครื่องจักรจะถูกลดอุ<WBR>ณหภูมิลงไป 1.9 เคลวิน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่<WBR>ในอวกาศส่วนนอกที่อยู่<WBR>ไกลออกไปนั้นมีอุณหภูมิประมาณ 2.7 เคลวินหรือ -270 องศาเซลเซียส

    เครื่องเร่งอนุ<WBR>ภาคแอลเอชซีซึ่งประกอบด้วยแม่<WBR>เหล็กนับพันๆ ชิ้นจะถูกรักษาสภาพอันเย็นยะเยื<WBR>อกนี้ด้วยฮีเลียมเหลว โดยแม่เหล็กเหล่านั้นถูกจัดเรี<WBR>ยงภายในอุโมงค์ยักษ์ยาว 27 กิโลเมตรที่ขดเป็นวงอยู่ใต้ดิ<WBR>นระหว่างสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่<WBR>งเศสลึกลงไป 100 เมตร ซึ่งเครื่องมือทดลองทางฟิสิกส์<WBR>ที่ทรงพลังที่สุดเท่าที่มนุษย์<WBR>เคยสร้างมานี้จะสร้างเงื่<WBR>อนไขเสมือนเพิ่งเกิดบิกแบง (Big Bang) อีกครั้ง

    เมื่อเดินเครื่<WBR>องแอลเอชซีจะเร่งลำอนุภาคโปรตอน 2 ลำให้มีพลังงานสูงและเคลื่อนที่<WBR>ไปตามท่อผ่านแม่เหล็กทั้งหลาย โดยลำอนุภาคทั้ง 2 จะเคลื่อนที่ในทิศทางตรงข้ามกั<WBR>นด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง และสักจุดหนึ่งภายในอุโมงค์<WBR>ลำอนุภาคทั้งสองจะสวนทางกัน แล้วชนกันด้วยแรงมหาศาล ซึ่งนักวิทยาศาสตร์หวังว่าจะได้<WBR>เห็นอนุภาคใหม่<WBR>จากเศษซากของการชนกันนี้ อันจะเผยความเข้าใจอย่างลึกซึ้<WBR>งในพื้นฐานของจักรวาลและจั<WBR>กรวาลเป็นอยู่อย่างนี้ได้อย่<WBR>างไร

    โรเบอร์โต ซาบัน (Roberto Saban) หัวหน้าคณะกรรมการอุปกรณ์ฮาร์<WBR>ดแวร์ของเครื่องเร่งอนุ<WBR>ภาคแอลเอชซีอธิบายว่า เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กที่มี<WBR>ความเข้มสูงโดยไม่กินพลั<WBR>งงานมากเกินไปนั้น แม่เหล็กจำเป็นต้องอยู่ในสภาพตั<WBR>วนำยิ่งยวด (superconducting) ซึ่งคุณสมบัตินี้ได้แสดงให้เห็<WBR>นในวัสดุบางชนิดว่าที่อุณหภูมิ<WBR>ต่ำๆ นั้นการไหลของกระแสไฟฟ้าจะมี<WBR>ความต้านทานเป็นศูนย์และสูญเสี<WBR>ยพลังงานเพียงน้อยนิด

    "ที่อุณหภูมิ 2.2 เคลวินฮีเลียมแสดงคุณสมบัติอั<WBR>นน่าตื่นเต้นด้วยการกลายเป็น "ของเหลวยิ่งยวด" (superfluid) ซึ่งจะนำความร้อนได้อย่างรวดเร็<WBR>ว ทำให้ฮีเลียมเป็นตัวทำความเย็<WBR>นที่ทรงประสิทธิภาพอย่างดีเยี่<WBR>ยม ไม่มีการทดลองทางฟิสิกส์อนุ<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cWBR\u003eภาคในระดับนี้ที่ดำเนินการด้\u003cWBR\u003eวยความเย็นอย่างนี้ แต่ฮาร์ดแวร์ก็มีประสิทธิ\u003cWBR\u003eภาพตามการคาดการณ์อันยาวนานก่\u003cWBR\u003eอนหน้านี้\u0026quot; บีบีซีนิวส์รายงานคำอธิ\u003cWBR\u003eบายของซาบัน\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       ซาบันอธิบายอีกว่า ระบบการทำงานของเครื่องเร่งอนุ\u003cWBR\u003eภาคนี้ ออกแบบอย่างระมัดระวัง โดยมีพื้นฐานจากการทดลองเครื่\u003cWBR\u003eองมือต้นแบบ ทั้งนี้หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้\u003cWBR\u003eนกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์นี\u003cWBR\u003e้ ต้องใช้เวลาแก้ไขประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มต้นต้องใช้เวลา 3-4 สัปดาห์เพื่ออุ่นเครื่อง จากนั้นก็ใช้เวลา 1-2 สัปดาห์เพื่อเปลี่ยนแปลง แล้วใช้เวลาอีก 3-6 เดือนลดอุณหภูมิของเครื่องมือลง\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       อย่างไรก็ดีตอนนี้\u003cWBR\u003eเซคเตอร์ของแอลเอชซี 2 เซคเตอร์ยังไม่เย็นพอที่\u003cWBR\u003eจะทำการทดสอบ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งควบคุ\u003cWBR\u003eมระบบความเย็นในเซคเตอร์ต่างๆ กำลังถูกย้ายไปยังบริเวณที่\u003cWBR\u003eเซคเตอร์เหล่านั้นจะเป็นฉนวนได้\u003cWBR\u003eดีที่สุด เมื่อมีอนุภาคถูกยิ\u003cWBR\u003eงออกมาจากเครื่องจักรระหว่\u003cWBR\u003eางการชนกัน\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       ทั้งนี้แต่ละเซคเตอร์\u003cWBR\u003eของเครื่องจักรประกอบด้\u003cWBR\u003eวยวงจรไฟฟ้าประมาณ 200 วงจร และแต่ละวงจรประกอบด้วยแม่เหล้\u003cWBR\u003eกที่อาจมากถึง 154 ชิ้น แม่เหล็กของเครื่องเร่งอนุ\u003cWBR\u003eภาคแอลเอชซีจะผ่านการทดสอบทางด้\u003cWBR\u003eานไฟฟ้าอย่างหนักหน่วง โดยมี\u003cWBR\u003eการทดสอบความสามารถในการรองรั\u003cWBR\u003eบกระแสไฟฟ้าที่สูงถึง 12,000 แอมแปร์\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       \u003cstrong\u003e\u0026quot;เราให้กำลังสำหรับแต่\u003cWBR\u003eละวงจรเพื่อสร้างความมั่นใจว่า วงจรเหล่านี้ทำงานตามที่ได้รั\u003cWBR\u003eบการออกแบบมา แต่เหนือสิ่งอื่นใดทั้งหมดคื\u003cWBR\u003eอเรากำลังพิสูจน์ว่าระบบปกป้\u003cWBR\u003eองรอบๆ วงจรซึ่งจะตรวจวัดการเย็นลงอย่\u003cWBR\u003eางทันทีนั้นดำเนินงานตามที่\u003cWBR\u003eคาดไว้\u0026quot;\u003c/strong\u003e ซาบันกล่าว\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       โดยการเย็นลงอย่างทันที\u003cWBR\u003eนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อส่วนใดส่\u003cWBR\u003eวนหนึ่งของแม่เหล็กเริ่มร้อนขึ้\u003cWBR\u003eน ซึ่งความร้อนจะกลายเป็นความต้\u003cWBR\u003eานทานกระแสไฟฟ้า โดยวิศวกรได้สร้างระบบกู้คืนเพื\u003cWBR\u003e่อตรวจวัดการเย็นลงอย่างทันใดนี\u003cWBR\u003e้ ก่อนที่จะมีผลกระทบต่อสนามแม่\u003cWBR\u003eเหล็กที่ทำหน้าที่เบนอนุภาคให้\u003cWBR\u003eเคลื่อนที่ไปรอบๆ อุโมงค์และทำให้ลำอนุภาคเคลื่\u003cWBR\u003eอนที่เป็นวง\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       การลดอุณหภูมิเครื่องจั\u003cWBR\u003eกรให้เย็นลงนั้นใช้เวลาราว 2 สัปดาห์จึงเสร็จสมบูรณ์ และยังไม่พบปัญหาที่น่าหวั่นวิ\u003cWBR\u003eตก การทดสอบทางไฟฟ้าให้กับแม่เหล็\u003cWBR\u003e",1]);//--></SCRIPT> <WBR>ภาคในระดับนี้ที่ดำเนินการด้<WBR>วยความเย็นอย่างนี้ แต่ฮาร์ดแวร์ก็มีประสิทธิ<WBR>ภาพตามการคาดการณ์อันยาวนานก่<WBR>อนหน้านี้" บีบีซีนิวส์รายงานคำอธิ<WBR>บายของซาบัน

    ซาบันอธิบายอีกว่า ระบบการทำงานของเครื่องเร่งอนุ<WBR>ภาคนี้ ออกแบบอย่างระมัดระวัง โดยมีพื้นฐานจากการทดลองเครื่<WBR>องมือต้นแบบ ทั้งนี้หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้<WBR>นกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์นี<WBR>้ ต้องใช้เวลาแก้ไขประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มต้นต้องใช้เวลา 3-4 สัปดาห์เพื่ออุ่นเครื่อง จากนั้นก็ใช้เวลา 1-2 สัปดาห์เพื่อเปลี่ยนแปลง แล้วใช้เวลาอีก 3-6 เดือนลดอุณหภูมิของเครื่องมือลง

    อย่างไรก็ดีตอนนี้<WBR>เซคเตอร์ของแอลเอชซี 2 เซคเตอร์ยังไม่เย็นพอที่<WBR>จะทำการทดสอบ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งควบคุ<WBR>มระบบความเย็นในเซคเตอร์ต่างๆ กำลังถูกย้ายไปยังบริเวณที่<WBR>เซคเตอร์เหล่านั้นจะเป็นฉนวนได้<WBR>ดีที่สุด เมื่อมีอนุภาคถูกยิ<WBR>งออกมาจากเครื่องจักรระหว่<WBR>างการชนกัน

    ทั้งนี้แต่ละเซคเตอร์<WBR>ของเครื่องจักรประกอบด้<WBR>วยวงจรไฟฟ้าประมาณ 200 วงจร และแต่ละวงจรประกอบด้วยแม่เหล้<WBR>กที่อาจมากถึง 154 ชิ้น แม่เหล็กของเครื่องเร่งอนุ<WBR>ภาคแอลเอชซีจะผ่านการทดสอบทางด้<WBR>านไฟฟ้าอย่างหนักหน่วง โดยมี<WBR>การทดสอบความสามารถในการรองรั<WBR>บกระแสไฟฟ้าที่สูงถึง 12,000 แอมแปร์

    "เราให้กำลังสำหรับแต่<WBR>ละวงจรเพื่อสร้างความมั่นใจว่า วงจรเหล่านี้ทำงานตามที่ได้รั<WBR>บการออกแบบมา แต่เหนือสิ่งอื่นใดทั้งหมดคื<WBR>อเรากำลังพิสูจน์ว่าระบบปกป้<WBR>องรอบๆ วงจรซึ่งจะตรวจวัดการเย็นลงอย่<WBR>างทันทีนั้นดำเนินงานตามที่<WBR>คาดไว้" ซาบันกล่าว

    โดยการเย็นลงอย่างทันที<WBR>นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อส่วนใดส่<WBR>วนหนึ่งของแม่เหล็กเริ่มร้อนขึ้<WBR>น ซึ่งความร้อนจะกลายเป็นความต้<WBR>านทานกระแสไฟฟ้า โดยวิศวกรได้สร้างระบบกู้คืนเพื<WBR>่อตรวจวัดการเย็นลงอย่างทันใดนี<WBR>้ ก่อนที่จะมีผลกระทบต่อสนามแม่<WBR>เหล็กที่ทำหน้าที่เบนอนุภาคให้<WBR>เคลื่อนที่ไปรอบๆ อุโมงค์และทำให้ลำอนุภาคเคลื่<WBR>อนที่เป็นวง

    การลดอุณหภูมิเครื่องจั<WBR>กรให้เย็นลงนั้นใช้เวลาราว 2 สัปดาห์จึงเสร็จสมบูรณ์ และยังไม่พบปัญหาที่น่าหวั่นวิ<WBR>ตก การทดสอบทางไฟฟ้าให้กับแม่เหล็<WBR><SCRIPT><!--D(["mb","กอาจเกิดขึ้นในอีก 2 สัปดาห์ถัดไป และก่อนที่เครื่องเร่งอนุ\u003cWBR\u003eภาคแอลเอชซีจะเดินเครื่องเป็\u003cWBR\u003eนครั้งแรก ลำอนุภาคโปรตอนจะได้รับการเพิ่\u003cWBR\u003eมพลังงานให้สูงขึ้นในเครื่องเร่\u003cWBR\u003eงอนุภาคที่ต่อกันเป็นลูกโซ่ซึ่\u003cWBR\u003eงเรียกว่า \u0026quot;อินเจคเตอร์\u0026quot; (injector)\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       เมื่อเครื่องจักรเย็\u003cWBR\u003eนลงแล้วเครื่องจักรควบคุมจะพ่\u003cWBR\u003eนลำอนุภาคเข้าวงแหวนหลัก และเคลื่อนอนุภาคเหล่านั้นผ่\u003cWBR\u003eานเซคเตอร์ที่เป็นอิสระต่อกั\u003cWBR\u003eนของเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี\u003cWBR\u003eจนกระทั่งกลายเป็นวงกลม โดยระบบควบคุมจังหวะถูกใช้เพื่\u003cWBR\u003eอความมั่นใจว่าเซคเตอร์ต่างๆ นั้นมีพฤติกรรมเหมือนเครื่องจั\u003cWBR\u003eกรเดี่ยว\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       เครื่องแอลเอชซีจะเดิ\u003cWBR\u003eนเครื่องและดำเนินการที่พลั\u003cWBR\u003eงงานระดับ 5 ล้านล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (eV) จากนั้นก็จะปิดลงในช่วงฤดู\u003cWBR\u003eหนาวของซีกโลกเหนือ ซึ่งแม่เหล็กก็ได้รับการเตรี\u003cWBR\u003eยมพร้อมให้รับมือกับการเดินเครื\u003cWBR\u003e่องที่ระดับพลังงาน 7 ล้านล้านอิเล็กตรอนโวลต์ และจากข้อมูลของเนเจอร์ (Nature) ระบุว่าข้อมูลที่ได้จากการชนกั\u003cWBR\u003eนของอนุภาคโปรตรอนนั้นจะมีมากถึ\u003cWBR\u003eงวินาทีละ 700 เมกะไบต์.\u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003e\n\u003ccenter\u003e\u003cbr\u003e       \u003cfont color\u003d\"#003366\"\u003e\u003cstrong\u003e\u003cfont size\u003d\"3\"\u003eคลิปอธิ\u003cWBR\u003eบายการทำงานของสถานีตรวจวัดอลิ\u003cWBR\u003eซภายในเครื่องเร่งอนุ\u003cWBR\u003eภาคแอลเอชซี - \u003c/font\u003e\u003c/strong\u003e\u003c/font\u003eความยาว 7.35 นาที\u003cbr\u003e       \u003cbr\u003e       \u003cbr\u003e       \u003cbr\u003e       \u003cspan\u003e\u003c/span\u003e\u003cbr\u003e\n       \u003cbr\u003e       \u003c/center\u003e\u003cbr\u003e* หมายเหตุ - ภาพประกอบทั้งหมดจากเซิร์น\u003cbr\u003e\u003cbr\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\n\u003ca href\u003d\"http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID\u003d9510000086854\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003ehttp://www.manager.co.th/\u003cWBR\u003eScience/ViewNews.aspx?NewsID\u003d\u003cWBR\u003e9510000086854\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr clear\u003d\"all\"\u003e\u003cbr\u003e-- \u003cbr\u003eจิงใจช่ายไก่กา...\u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003eขอเชิญชม Blog ของ Mass-Groups ได้ที่\u003cbr\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.miner2008.blogspot.com\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003ewww.miner2008.blogspot.com\u003c/a\u003e นะคะ \u003cbr\u003e\n--~--~---------~--~----~------\u003cWBR\u003e------~-------~--~----~\u003cbr\u003e\n****  รู้จักขอบคุณเมื่อได้รับ   ขออภัยเมื่อผิดพลาด  คือสิ่งที่สมาชิกกลุ่มพึงกระทำ  ****\n ",1]);//--></SCRIPT> กอาจเกิดขึ้นในอีก 2 สัปดาห์ถัดไป และก่อนที่เครื่องเร่งอนุ<WBR>ภาคแอลเอชซีจะเดินเครื่องเป็<WBR>นครั้งแรก ลำอนุภาคโปรตอนจะได้รับการเพิ่<WBR>มพลังงานให้สูงขึ้นในเครื่องเร่<WBR>งอนุภาคที่ต่อกันเป็นลูกโซ่ซึ่<WBR>งเรียกว่า "อินเจคเตอร์" (injector)

    เมื่อเครื่องจักรเย็<WBR>นลงแล้วเครื่องจักรควบคุมจะพ่<WBR>นลำอนุภาคเข้าวงแหวนหลัก และเคลื่อนอนุภาคเหล่านั้นผ่<WBR>านเซคเตอร์ที่เป็นอิสระต่อกั<WBR>นของเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี<WBR>จนกระทั่งกลายเป็นวงกลม โดยระบบควบคุมจังหวะถูกใช้เพื่<WBR>อความมั่นใจว่าเซคเตอร์ต่างๆ นั้นมีพฤติกรรมเหมือนเครื่องจั<WBR>กรเดี่ยว

    เครื่องแอลเอชซีจะเดิ<WBR>นเครื่องและดำเนินการที่พลั<WBR>งงานระดับ 5 ล้านล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (eV) จากนั้นก็จะปิดลงในช่วงฤดู<WBR>หนาวของซีกโลกเหนือ ซึ่งแม่เหล็กก็ได้รับการเตรี<WBR>ยมพร้อมให้รับมือกับการเดินเครื<WBR>่องที่ระดับพลังงาน 7 ล้านล้านอิเล็กตรอนโวลต์ และจากข้อมูลของเนเจอร์ (Nature) ระบุว่าข้อมูลที่ได้จากการชนกั<WBR>นของอนุภาคโปรตรอนนั้นจะมีมากถึ<WBR>งวินาทีละ 700 เมกะไบต์.

    <CENTER>
    คลิปอธิ<WBR>บายการทำงานของสถานีตรวจวัดอลิ<WBR>ซภายในเครื่องเร่งอนุ<WBR>ภาคแอลเอชซี - ความยาว 7.35 นาที
    </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. หล่อลากดิน

    หล่อลากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,202
    ค่าพลัง:
    +235
    เป็นอะไรที่สวยงามมากครับ
     
  12. คุณ 4

    คุณ 4 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    733
    ค่าพลัง:
    +5,159
    ขอบคุณพี่คณานันท์มากคับ
    เข้าใจมากขึ้นจากเดิมเยอะเลย แต่ก็ยังสงสัยการเคลื่อนที่ผ่านรูหนอน ทำให้เกิดช่องว่างของมิติทั้งเวลาและสถานที่ ได้ยังไง

    ปล. ฟิสิกส์ ผมเกือบตกคับ แหะ ๆ ๆ
     
  13. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    จะเดินเครื่องคืนนี้ เวลาเที่ยงคืนพอดี จะติดตามข่าวทาง CNN ครับ
    มีอะไรผิดปกติจะแจ้งให้ทราบ

    อาจเป็นเพราะคิดมาก วันก่อนฝันว่าในขณะเดินเครื่องเกิดความผิดพลาด ไฟฟ้าดับไปทั่ว จากนั้นเหมือนไม่มีอะไร แต่แล้วคนกลายเป็นซอบบี้ไล่ฆ่ากัน (อันนี้ดูหนังมากไป)

    อย่างไรก็ตามไม่ว่าผลที่ออกมาจะดีหรือร้ายก็น่าสนใจทั้งนั้น จะคอยติดตามครับ
     
  14. kumpeang

    kumpeang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    546
    ค่าพลัง:
    +1,984
    ขอให้พบแต่ความโชคดีนะครับ อย่ามีอะไรในทางร้ายเลย สาธุ .. .
     
  15. Cute rainbow

    Cute rainbow สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +2
    ข้อมูล ณ เวลา 13.45 น. จากเว็บไซต์ของ Cern ระบุว่าจะ activate เดินเครื่อง LHC ในอีก 5 ชั่วโมง 20 นาทีค่ะ ซึ่งน่าจะตรงกับเวลาในไทยราวๆ 19.05 น.ของวันนี้ ช้าเร็วกว่านั้นนิดหน่อย และไม่น่าจะใช่เที่ยงคืนค่ะ

    Source: http://www.lhccountdown.com

    CNN มีถ่ายทอด live หรือคะ รบกวนคุณพุทธโกมุทคอนเฟิร์มด้วยค่ะ จะได้ดูด้วยคน
     
  16. อาหลี_99

    อาหลี_99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    744
    ค่าพลัง:
    +2,992
     
  17. Cute rainbow

    Cute rainbow สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +2

    ขออภัยค่ะ web address ที่ถูกต้องคือ http://www.lhcountdown.com ค่ะ
     
  18. Cute rainbow

    Cute rainbow สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +2
    ที่แปลกคือทำไมสื่อไทยไม่เล่นเรื่องนี้เลยน้า...พยายามตามข่าวตามเว็บไซต์และหน้าหนังสือพิมพ์ ไม่เห็นมีเลย ราวกับว่าเรื่องนี้มันไม่สำคัญอย่างนั้นแหละ แล้วก็ไม่เห็นมี TV ไทยช่องไหนทำสกู๊ปเรื่องนี้เลย เอ..หรือว่ามันจะไม่มีอะไรจริงๆ สงสัยเราคงจะประสาทกินไปคนเดียวหรือเปล่า
     
  19. Cute rainbow

    Cute rainbow สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +2
    เอ่อ...ตอนนี้เหลือ 4 ช.ม. 54 นาที สงสัยว่าเราควรจะไปจ่ายหนี้บัตรเครดิตตอนนี้ดีไหม หรือรอจนพรุ่งนี้เอาให้ชัวร์ว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้นเสียก่อน เผื่อภาวะฉุกเฉินจะได้ยังมีตังค์ติดบัญชี แต่เออ..พรุ่งนี้จะใช้เอทีเอ็มได้รึเปล่านี่สิ
     
  20. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    แปลกครับ ผมเช็คจาก Web เดียวกัน ตอนนี้เหลือตั้ง 9 ชม. แน่ะ

    เรื่องถ่ายทอดคงไม่ถ่าย แต่ CNN น่าจะมีรายงานข่าวมาบ้างน่ะครับ
    ของเค้าทันสถานการณ์
     

แชร์หน้านี้

Loading...