พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ้าววว หลานบอกช้าไปหน่อยไม่เต็มอัตราศึกเลย...ตอนนี้กำลังจะออกจากสุราษ แล้ว อีก 20นาทีถึง(555)
    nongnooo...
     
  2. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    โอ้ว..เร็วจิงๆ ไม่เป็นไร ถ้าได้ยินเสียงดัง ตู้ม แล้วจะออกไปดูนะ
    (555) (555) (555)
     
  3. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 ตุลาคม 2007
  4. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    พระราชดำริทางพระพุทธศาสนาในรัชกาลที่ ๔

    ทำบุญด้วยปัญญา

    <table border="1" bordercolor="#00ff00" cellpadding="0" cellspacing="0" width="2%"> <tbody><tr> <td width="100%">[​IMG]
    [​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table>

    ก็บุคคลทุกวันเดี๋ยวนี้ อยากได้บุญอยู่ โดยมากก็หารู้ว่าบุญอย่างไรไม่ ครั้นไม่รู้จักตัวบุญแล้ว ก็กระทำเข้า หาถูกต้องไม่ เป็นแต่เฉียด ๆ เข้าบ้าง ผิดไปบ้างดังนี้ ก็เพราะไม่รู้จักตัวบุญอย่างหนึ่ง เพราะขี้เกียจมักง่ายอย่างหนึ่ง ไม่รู้จักตัวบุญนั้นอย่างไร บุญอยู่ที่ไหนหารู้ไม่ เป็นแต่เขาว่าอย่างนี้ได้บุญ ๆ เชื่อเขาแล้วก็ทำไปๆ หาตรึกตรองด้วยปัญญาไม่ ว่าบุญนั้นจะได้แก่อะไรทำตามเขาว่าเท่านั้น ไม่ตรึกไม่ตรองให้เห็นด้วยปัญญาของตน อย่างว่ามานี้แล จึงว่าหารู้จักตัวบุญไม่ ครั้นไม่รู้จักตัวบุญแล้ว เมื่ออยากได้บุญทำเข้าก็หาถูกต้องไม่ เป็นแต่เฉียดเข้าไปบ้าง ผิดไปบ้างขี้เกียจมักง่ายนั้นอย่างไรเล่า คือคนอยากได้บุญ แต่ว่าขี้เกียจมักง่าย เลือกทำเอาแต่สบายๆ ที่ยากเป็นกุศลแท้หาทำไม่ ท้อถอยเสียด้วย มาดูหมิ่นเสียว่ากุศลทำได้ง่ายๆ เมื่อจะภาวนาไปนั่งหลับตาบริกรรมครู่หนึ่งยามหนึ่ง พอเมื่อยขาว่าได้บุญแล้วแลนอนเสีย ให้พึงรู้เถิดในการกุศลทั้งปวง ถ้ากระทำโดยขี้เกียจมักง่ายแล้วก็หาถูกต้องไม่ เป็นแต่เฉียดๆ ไปเพราะหาได้ความจริงไม่ การจะทำบุญทำกุศลต้องรู้จักตัวบุญตัวกุศล ครั้นรู้จักแล้วอย่ามักง่ายเกียจคร้าน ถ้าจะทำแล้วทำให้เป็นบุญเป็นกุศลจริงๆ จึงจะดีไม่เสียทีทำ ไม่เสียทีเกิดมาเป็นมนุษย์ พบพระพุทธศาสนานี้

    <center>********

    ในหลาย ๆ ครั้งผมก็เป็นฉะนี้แล....

    กาลต่อไปจักแุก้ไขตัวเองให้ถูกต้อง


    ยังไม่ท้อ แต่ยอมถอย ยังสู้ครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ


    </center>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 ตุลาคม 2007
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    มาแจ้งข่าวการไปงานมหากฐิน สนส.ผาผึ้ง

    หมายกำหนดการงานมหากฐิน สนส.ผาผึ้ง ในวันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน 2550 ท่านใดที่สนใจจะไปงานมหากฐิน ขอให้ลงชื่อแจ้งความจำนงไว้ พร้อมทั้งโอนเงิน จำนวน 500 บาท/1ท่านก่อน

    ท่านที่จองและโอนเงินจำนวน 500 บาทแล้ว ถ้าท่านสละสิทธิ์ไม่ไป ผมไม่คืนเงินนะครับ แต่จะนำเงินที่ท่านโอนมาแล้ว มาช่วยสมทบเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ สำหรับเพื่อนๆที่จะไปงานมหากฐิน

    พี่แอ๊วได้เตรียมหารถตู้ไว้แล้ว จำนวน 2 คัน ค่าใช้จ่ายต่างๆไม่ว่าจะเป็นค่ารถ ,ค่าอาหาร หรือค่าอื่นๆ จะมาเฉลี่ยกันออกในวันที่เดินทางไป สนส.ผาผึ้ง(วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2550)

    ขอให้โอนเงินเข้ามาที่บัญชีผมก่อน ก่อนวันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม 2550นี้ และแจ้งให้ผมทราบด้วยนะครับ ส่วนหมายเลขบัญชี ผมจะแจ้งให้ทราบทาง pm เมื่อท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมเดินทางไปงานมหากฐินในครั้งนี้ครับ

    การเดินทาง จะเริ่มเดินทางในวันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2550 โดยจะมีโปรแกรมคร่าวๆ จะเดินทางไปแวะสถานที่ต่างๆประมาณ 2 - 3 แห่ง รายละเอียด ผมจะสอบถามพี่แอ๊วอีกครั้งครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ภัยฉ้อโกงรูปแบบใหม่ "แชร์สินค้าอุปโภค•บริโภค"
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->http://www.thaipost.net/index.asp?bk=xcite&post_date=28/Sep/2550&news_id=148801&cat_id=200100

    เรื่องปก
    ภัยใหม่แชร์สินค้า!

    28 กันยายน 2550 กองบรรณาธิการ
    ภัยฉ้อโกงรูปแบบใหม่ "แชร์สินค้าอุปโภค•บริโภค" "คลัง" แฉแอบอ้างได้รับอนุญาต สคบ.จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ หลอกล่อด้วยเงินปันผลถึงขั้นให้รางวัลเป็นบ้านและที่ดิน



    <DD>แนะผู้เสียหายแจ้งและร้องเรียนทันที

    <DD>รายงานข่าวจากกระทรวงการคลังแจ้งว่า ปัจจุบันมีบริษัทจำนวนหนึ่งได้กระทำความผิดตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ.2527 และแก้ไขเพิ่มเติม โดยการออกชักชวนประชาชนทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดให้นำเงินมาร่วมลงทุน ซึ่งบริษัทเหล่านี้อ้างว่าเป็นธุรกิจที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) เพื่อสร้างความเชื่อถือว่าให้ประกอบธุรกิจขายตรง และอ้างว่าจดทะเบียนตั้งเป็นสหกรณ์โดยถูกต้องตามกฎหมาย

    <DD>รูปแบบการหลอกลวงของบริษัทเหล่านี้ คือ การชักชวนประชาชนที่หลงเชื่อให้ซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีราคาสูงกว่าราคาท้องตลาดทั่วไป แต่อ้างว่าจะนำส่วนต่างของผลกำไรไปแปลงเป็นหุ้นให้สมาชิก หรือลงทุนซื้อสินค้าและฝากให้บริษัทเป็นผู้จำหน่ายแทนก็ได้ หรือซื้อสินค้าเพื่อนำไปขายต่อก็ได้ ตัวอย่างเช่น ชักชวนประชาชนให้ซื้อสินค้าในราคาประมาณ 1,500 บาท และอ้างว่าจะนำกำไรจากการจำหน่ายสินค้าแปลงเป็นหุ้น (1 หุ้นเท่ากับ 450 บาท) ซึ่งบริษัทจะจ่ายเงินปันผลหุ้นละ 2,000 บาท แบ่งจ่ายเงินเป็น 2 งวด งวดแรกบริษัทจะจ่าย 500 บาท และงวด 2 จำนวน 1,500 บาท เป็นต้น

    <DD>บริษัทเหล่านี้ยังหลอกล่อประชาชนต่อว่าเมื่อครบกำหนดตามระยะเวลาที่บริษัทกำหนด ผู้ร่วมลงทุนจะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในรูปเงินปันผล หรือได้รับรถจักรยานยนต์ รถยนต์ บ้านพร้อมที่ดิน โดยในช่วงแรกๆ บริษัทจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในรูปเงินปันผลให้ผู้ร่วมลงทุนตามที่ตกลงไว้ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจ

    <DD>"วิธีจ่ายเงินของบริษัทก็คือ นำเงินของประชาชนผู้ร่วมลงทุนรายใหม่มาหมุนเวียนจ่ายเป็นเงินปันผลให้แก่ประชาชนผู้ร่วมลงทุนรายเก่าที่เรียกว่า แชร์ลูกโซ่ แต่หากไม่มีประชาชนมาร่วมลงทุนเพิ่มก็ไม่จ่ายเงินปันผลได้ หรือหากบริษัทสามารถระดมเงินจากประชาชนผู้ร่วมลงทุนได้มากพอก็จะปิดบริษัทและหลบหนีไป" รายงานข่าวระบุ

    <DD>รายงานข่าวแจ้งว่า กระทรวงการคลังขอเรียนว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการกระทำความผิดตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ.2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จึงแจ้งเตือนมายังประชาชนทั่วไปอย่าหลงเชื่อกลุ่มบุคคลหรือบริษัทดังกล่าว และหากมีข้อสงสัยหรือได้รับความเสียหาย ขอให้สอบถามร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสได้ที่ 1.กลุ่มงานป้องปรามการเงินนอกระบบ สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง ถ.พระราม 6 โทร. 0-2273-9021 ต่อ 2627-35 หรือศูนย์รับแจ้งการเงินนอกระบบ โทร. 1359 หรือ ตู้ ปณ.1359 ปณจ.บางรัก กรุงเทพฯ 10500 หรือ www.mof.go.th/fincrime2004

    <DD>2.สำนักคดีอาญาพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม เลขที่ 499 อาคารสุขประพฤติ ถ.ประชาชื่น เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 0-2831-9888 ต่อ 2232 หรือ 2275 หรือ www.dsi.go.th 3.กองบังคับการปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ถ.สาทรเหนือ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2237-1199 โทรสาร 0-2234-6806 หรือ www.ecotecpolice.com

    <DD>4.สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี เลขที่ 78 ทำเนียบรัฐบาล ถ.ราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร.1166 หรือ 0-2629-7002 หรือ www.ocpb.go.th 5.สำนักงานสรรพากรพื้นที่จังหวัดในท้องที่เกิดเหตุ และที่สถานีตำรวจท้องที่เกิดเหตุทุกแห่ง.
    </DD>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    แต่ถ้าพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ที่ไม่ได้ไป แต่จะร่วมทำบุญค่าเดินทาง(ไว้ส่งตนเอง) ก็ได้นะครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ประวัติหลวงปู่เทพโลกอุดร
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?p=734420#post734420
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Aunyasit [​IMG]
    ผมเคยถามหลวงปู่ใหญ่ เรื่องของโลกอุดรท่านบอกว่าผู้ที่เข้าถึงโลกอุดรในอดีตนั้นมีไม่น้อย แต่หลวงปู่ใหญ่นั้นท่านมีองค์เดียวแต่ท่านก็เปลี่ยนชื่อไปเรื่อยๆตามกาลเวลา

    ท่านบอกว่า คำว่าโลกอุดร ก็เหมือนคำว่าผู้พัน ก็มีกันหลายคนแต่ที่เรากล่าวถึงกันนั้น คือโลกอุดรคนไหน หรือผู้พันคนไหน เป็นต้น แต่ปู่ใหญ่ก็คือปู่ใหญ่แหละ
    ผมถามท่านว่าหลายๆสำนักเขาใช้ชื่อว่าโลกอุดรท่านบอกว่าหลวงปู่ใหญ่ตัวจริงนั้นจะไม่มีการใช้ชื่อโลกอุดร ในสำนักของท่านท่านบอกว่าส่วนใหญ่เป็นเครือข่ายของหลวงปู่ใหญ่ ท่านบอกว่าท่านวางไว้ให้เขาทำงานศาสนาแต่ก็มีบ้างเหมือนกันสำหรับผู้ที่เป็นสานุศิษย์ของท่านที่เมื่อได้ศึกษากับหลวงปู่ใหญ่แล้วก็สามารถแสดงอภิญญาฤทธิ์ได้ใกล้เคียงกับหลวงปู่ใหญ่ แล้วเขาก็อ้างตัวเป็นหลวงปู่ใหญ่ท่านบอกว่ากรรมใครกรรมมันแหละ<O:p></O:p>

    และพระ 5 องค์ในรูปนั้นผมเคยถามหลวงปู่ใหญ่ ท่านบอกว่าเป็นปู่ใหญ่องค์เดียวกันหมด ที่จริงหลวงปู่ท่านแปลงร่างใช้อยู่ 32 ร่าง ท่านบอกว่ามีน้อยคนมากที่จะหยั่งรู้ทั่ง 32 ร่างของปู่ใหญ่

    ถ้าผู้ที่เข้าถึงหลวงปู่ใหญ่จริงๆ เขาจะเข้าใจความสัมพันธ์ที่หลวงปู่ใหญ่ มีต่อเจ้าแม่กวนอิม หลวงปู่ทวด สมเด็จโต ได้ครับ

    ท่านบอกว่าใครเคยร่วมบารมีกับหลวงปู่ใหญ่มาในช่วงไหน จิตเขาก็จะผูกพันธ์กับท่านในยุคนั้น ในปัจจุบันแม้แต่คนที่ตามหาอาตมามาชั่วชีวิต เมื่ออาตมาไปยืนอยู่ต่อหน้า เขาก็ไม่รู้ว่าเป็นอาตมา แล้วจะมีประโยชน์อะไร

    ผมถามเรื่องประวัติของหลวงปู่ใหญ่ ท่านบอกว่าอาตมาเคยบันทึกไว้หลายครั้ง แต่สุดท้ายอาตมาก็เผาทิ้ง เพราะพิจารณาดูแล้วไม่มีประโยชน์

    ทีแรกหลวงปู่ใหญ่ท่านบอกว่า ท่านจะอยู่ทำบารมีกับคณะของผมแค่สร้างพระพุทธเจ้า 5 พระองค์เสร็จท่านก็จะจากไป ทางคณะก็ขอร้องว่าให้หลวงปู่อยู่จนสร้างมหาเจดีย์เสร็จก่อนก็แล้วกัน ท่านก็รับให้ ท่านบอกว่าต่อไปเมื่ออาตมาไปแล้วหากใครอยากเจออาตมาก็ให้ปฏิบัติจิต จูนคลื่นจิตมาคุยกับอาตมา อาตมาจะอยู่ที่ไหนก็ไม่สำคัญ

    เอาเป็นว่าหลวงปู่ใหญ่ท่านยังไม่ได้ละสังขาร ท่านอยู่มาตั้งแต่สมัยพุทธกาลจนถึงปัจจุบัน หลวงปู่ใหญ่ท่านไปโปรดหมดทั้ง 31 ภพภูมิ ครับ

    ใครจะเชื่อแบบไหน ก็เชื่อไปเถอะครับ ผมเองเจอหลวงปู่ใหญ่ ทั้งกายทิพย์และกายเนื้อ ปัจจุบันนี้ก็ยังพบเจอท่านอยู่ เลยต้องเชื่อตามที่ท่านบอกครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เรื่องนี้แล้วแต่ความคิดเห็น ,ความเชื่อ ,ความศรัทธา และประสบการ์ของแต่ละคนที่ได้พบ ได้เห็น และได้เจอ

    คำว่าหลวงปู่เทพโลกอุดร หรือหลวงปู่ใหญ่ ที่หลายๆท่านได้พูด ได้พบ หรือได้เห็นกัน ก็ไม่ทราบได้ว่า หลวงปู่แต่ละพระองค์ท่านชื่อจริงๆคืออะไร ดังนั้น แล้วแต่วิจารณญาญของแต่ละบุคคลครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  9. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    อยากไปจัง
    (cry)
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk-main-page.htm

    <TABLE class=MsoTableGrid style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BACKGROUND: #f3f3f3; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    โอวาท หลวงปู่คำดี ปภาโส
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    วัดถ้ำผาปู่นิมิต อำเภอเมือง จังหวัดเลย
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">การปฏิบัติ ศีล – ธรรม ต้องมีเหตุมีผล เหตุดี ผลก็ดี ถ้าเหตุร้ายผลก็ร้าย เปรียบเหมือนของภายนอก อย่างผลไม้ต่างๆ มันก็เกิดจากต้นของมัน ถ้าไม่มีต้น ก็ไม่มีผล จะเป็นข้าวกล้าผลไม้ในไร่ในสวนก็เช่นกัน ดอกหรือผลของมัน พวกชาวสวนทั้งหลายเขาก็ปฏิบัติตกแต่งแต่ลำต้นของมันเท่านั้น คือเขาต้องใส่ปุ๋ยดายหญ้ารดน้ำและรักษาสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ต้นไม้ของเขาทั้งนั้น เมื่อเขาปฏิบัติลำต้นของมันดังกล่าว เรื่องของดอกและผลมันก็เป็นเอง ดังนี้
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">ทีนี้การปฏิบัติทางพระพุทธศาสนาก็คล้ายคลึงกัน ถ้าเราอยากเป็นคนมีเงินทอง อยากร่ำรวยเหมือนเขา อยากมีร่างกายสวยเหมือนเขา อยากมีลาภและมียศเหมือนเขา เราจะไปปฏิบัติตรงไหน พระพุทธเจ้าท่านสอนให้ปฏิบัติ กาย วาจา ใจ ถ้ากายของเราดี วาจาของเราดี จิตใจของเราดี ได้ลาภมาก็มากและใหญ่ได้ ยศก็ใหญ่ได้ อะไรมาก็มีแต่ของดีทั้งนั้น ถ้ากาย วาจา ใจดีแล้ว
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">เมื่อกาย วาจา ใจ ของเราเป็นบาปแล้ว ได้อะไรมาก็เป็นของไม่ดีทั้งนั้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk-main-page.htm

    <TABLE class=MsoTableGrid style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BACKGROUND: #f3f3f3; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: maroon 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    โอวาท พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจันโท จันทร์)

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    วัดบรมนิวาส แขวงรองเมือง กรุงเทพมหานคร


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">ในพวกเราชาวสยามนี้ ควรเห็นได้ว่าเป็นคนมีบุญมาก เกิดมาได้พบพุทธศาสนาทีเดียว ดัวยบรรพบุรุษพาถือมานานกว่า 2,000 ปีแล้ว อย่าพากันมีความประมาท พึงตั้งใจปฏิบัติให้เห็นผลจนรู้สึกตัวว่า เรามีที่พึ่งอันใดแล้ว จึงจะเป็นคนที่ไม่เสียทีที่ได้พบพระพุทธศาสนา

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">อะไรเป็นปัจจัยของอวิชชา เรานั่นแหละเป็นปัจจัยของอวิชชา อะไรเป็นปัจจัยของเรา อวิชชานั่นแหละเป็นปัจจัยของเรา ถ้ามีอวิชชาก็มีเรา ถ้ามีเราก็มีอวิชชา

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">ตำราแบบแผนมิใช่ยา ยามิใช่ตำราแบบแผน ความไข้ไม่ได้หายด้วยยาอย่างเดียว ต้องอาศัยกินยานั้นด้วยไข้จึงหาย

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: #ded7c6; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    โอวาท หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    วัดเลียบ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">ธรรมะก็มีอยู่ในกาย เพราะกายมีความเกิด แก่ เจ็บ ตาย พระพุทธเจ้าและพระสาวกเจ้าทั้งหลาย ท่านได้เสียสละเช่น ความสุขอันเป็นไปด้วยราชสมบัตินั้น พระองค์ท่านผู้มีคนยกย่องสรรเสริญ คอยปฏิบัติวัฏฐากแล้วได้เสียสละมานอนกับดินกับหญ้า ใต้โคนต้นไม้ถึงกับอดอาหารเป็นต้น

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">การเสียสละเหล่านี้เพื่อประโยชน์อะไร ก็เพื่อให้ได้ถึงซึ่งวิโมกขธรรม คือ ธรรมะ เป็นเครื่องพ้นจากการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และเมื่อพระพุทธองค์ตรัสรู้ก็ทรงนั่งสมาธิใต้ร่มไม้ อันเป็นสถานที่สงบสงัด และได้ทรงพิจารณาซึ่งความจริง คือ อริยสัจ 4 นี้ เป็นมูลเหตุอันเป็นเบื้องต้นของพระพุทธเจ้า

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: #ded7c6; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    โอวาท หลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top width="100%">
    วัดป่าสุทธาวาส อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">สิ่งที่ล่วงไปแล้วไม่ควรไปทำความผูกพัน เพราะเป็นสิ่งของที่ล่วงไปแล้วอย่างแท้จริง แม้จะทำความผูกพัน และมั่นใจในสิ่งนั้น กลับมาเป็นปัจจุบันก็เป็นไปมิได้ ผู้ทำความสำคัญมั่นหมายนั้นเป็นทุกข์แต่ผู้เดียว โดยความไม่สมหวังตลอดไป อนาคตที่ยังไม่มาถึงก็เป็นสิ่งไม่ควรยึดเหนี่ยวเกี่ยวข้องเช่นกัน อดีตควรปล่อยไว้ตามอดีต อนาคตก็ควรปล่อยไว้ตามกาลของมัน ปัจจุบันเท่านั้นที่จะสำเร็จเป็นประโยชน์ได้ เพราะอยู่ในฐานะที่ควรทำได้ไม่สุดวิสัย

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.geocities.com/TheTropics/Lagoon/9856/abort1.html



    <CENTER>สมเด็จพระวันรัต(ทับ พุทธสิริ)</CENTER><CENTER> </CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER> </CENTER> สมเด็จ<WBR>พระ<WBR>วันรัต<WBR>(ทับ พุทธสิริ)<WBR>วัด<WBR>โสมนัส<WBR>วิหาร<WBR>เป็น <WBR>สมเด็จพระวันรัต<WBR>องค์<WBR>ที่ <WBR>12 <WBR>แห่ง<WBR>กรุง<WBR>รัตน<WBR>โกสินทร์<WBR>ท่าน<WBR> เป็น<WBR>มหา<WBR>เถระ<WBR>องค์<WBR>หนึ่ง<WBR>ใน<WBR>จำนวน<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>เถระ<WBR> 10<WBR> องค์<WBR>ผู้<WBR>เป็น<WBR>ต้น<WBR>วงศ์<WBR>ธรรม<WBR>ยุติกนิกาย<WBR>เป็นเจ้าคณะ<WBR>ใหญ่<WBR>ฝ่าย<WBR>ใต้<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>เถระ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR> รู้<WBR>แตก<WBR>ฉาน<WBR>ใน<WBR>พระไตรปิฎก<WBR> เป็น<WBR>นักกรรมฐาน<WBR>ที่ชอบธุดงค์<WBR> เป็น<WBR>ผู้ที่มีปฏิปทา<WBR>มุ่งพระนิพาน<WBR>และ<WBR>เป็น<WBR>นักปฏิบัติ<WBR>ที่<WBR>เคร่งครัด<WBR> ต่อ<WBR>พระธรรมวินัย<WBR>มาก<WBR>ท่าน<WBR>มี<WBR>อาจารสมบัติ<WBR>ที่<WBR>ประทับ<WBR>ใจ<WBR> น่า<WBR>เลื่อมใส<WBR>และ<WBR>เป็น<WBR>สมเด็จ<WBR>ที่<WBR>ทรงเกียรติคุณ<WBR>ควร<WBR>แก่<WBR> การ<WBR>เคารพ<WBR>บูชา<WBR>มาก<WBR>องค์<WBR>หนึ่ง<WBR>ของ<WBR>ประเทศไทย
    ชาติภูมิ
    สมเด็จพระวันรัต<WBR> วัดโสมนัสวิหาร<WBR> มีนามเดิมว่า<WBR> ทับ<WBR> มีฉายาว่า<WBR> พุทฺธสิริ<WBR> ท่าน<WBR>เกิด<WBR>เมื่อ<WBR>วัน<WBR>ที่ <WBR>6 <WBR>พฤศจิกายน <WBR>พ.ศ. 2349 <WBR>ใน<WBR>รัชกาล<WBR> ที่<WBR>1<WBR> ณ. <WBR>หมู่<WBR>บ้าน<WBR>สกัด<WBR>น้ำ<WBR>มัน<WBR>ปาก<WBR>คลอง<WBR>ผดุง<WBR>กรุงเกษม <WBR>ฝั่ง<WBR>ตะวันออก <WBR>ใกล้<WBR>วัด<WBR>เทวราชกุญชร <WBR>กรุงเทพ<WBR>มหานคร <WBR>โยม<WBR>บิดา<WBR>ชื่อ <WBR>อ่อน <WBR>ผู้คน<WBR>นิยม<WBR>เรียกว่า<WBR>ท่าน<WBR>อาจารย์<WBR>อ่อน <WBR>โยม<WBR>มารดา<WBR>ชื่อ<WBR>คง <WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>บุตร<WBR>คน<WBR>โต<WBR>ใน<WBR>ตระกูล<WBR> นี้<WBR> กล่าวกันว่า<WBR>ครอบครัว<WBR>ของท่าน<WBR>เป็นชาวกรุงเก่า<WBR> แต่<WBR>เมื่อกรุงศรีอยุธยา<WBR> เสีย<WBR>แก่<WBR>พม่า<WBR>เมื่อพ.ศ. 2310<WBR> ก็<WBR>ได้<WBR>อพยพ<WBR>เข้ามา<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>กรุงเทพฯ<WBR>
    การศึกษาเมื่อปฐมวัย
    ใน<WBR>รัชกาล<WBR>ที่ <WBR>2 <WBR>เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>มี<WBR>อายุ <WBR>9 <WBR>ขวบ <WBR>ได้<WBR>เข้า<WBR>เรียน<WBR>อักษร<WBR>สมัย<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>วัดภคินีนาถ<WBR>แล้ว<WBR>ต่อ<WBR>มา<WBR>ได้ <WBR>เข้า<WBR>เรียน<WBR>บาลี<WBR>โดย<WBR>เรียน<WBR>สูตร<WBR>มูลกัจจายน์<WBR> อยู่<WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>มหาธาตุ <WBR>คือ<WBR>ได้<WBR>เรียน<WBR>บาลี<WBR>ตั้งแต่<WBR>สมัย<WBR>ที่<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>บวช <WBR>ครั้ง<WBR>นั้น <WBR>พระ<WBR>บาท<WBR>สมเด็จ<WBR>พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว<WBR> ยัง<WBR>ทรง<WBR>ดำรง<WBR>พระยศ<WBR>เป็น<WBR>พระเจ้าลูกเธอ <WBR>กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ <WBR>ทรง<WBR>พอ<WBR>พระราชหฤทัย<WBR>ใน<WBR>ตัว<WBR>ท่าน<WBR>จึง<WBR>ทรง<WBR>ให้<WBR>อุปการะ<WBR>ใน<WBR> การ<WBR>เล่า<WBR>เรียน<WBR>ศึกษา<WBR>พระ<WBR>ปริยัติธรรม<WBR> ของ<WBR>ท่าน <WBR>ทรง<WBR>จัดสอบ<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>เรียน<WBR>สูตรเรียนมูล<WBR>ที่วัง<WBR>เนื่องๆ <WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>ไป<WBR>สอบ<WBR>ถวาย <WBR>โปรด<WBR>ทรง<WBR>ประทาน<WBR>รางวัล <WBR>จึง<WBR>ได้<WBR>ทรง<WBR>เมตตา<WBR>ใน<WBR>ตัว<WBR>ท่าน<WBR>แต่<WBR>นั้น<WBR>มา
    การบรรพชาอุปสมบท
    ท่าน<WBR>ได้<WBR>บรรพชา<WBR>เมื่อ<WBR>อายุ<WBR>เท่าไร <WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>ปรากฎ<WBR>หลักฐาน<WBR> ทราบ<WBR>แต่<WBR>ว่า<WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>บรรพชา<WBR>เป็น<WBR>สามเณร<WBR>ที่<WBR>วัดสังเวชวิศยาราม <WBR>บางลำภู <WBR>ครั้น<WBR>ได้<WBR> บรรพชา<WBR>เป็น<WBR>สามเณร<WBR>แล้ว <WBR>รัชกาล<WBR>ที่<WBR>3<WBR>ใน<WBR>สมัย<WBR>ที่<WBR>ยัง<WBR>ดำรง<WBR> พระยศ<WBR>เป็น<WBR>กรมหมื่น<WBR>เจษฎาบดินทร์<WBR>ได้<WBR>ทรง<WBR>โปรด<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>ไป<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>ราชโอรส <WBR>อัน<WBR>เป็น<WBR>วัด<WBR>ที่<WBR>พระองค์<WBR>ทรง<WBR>สร้าง<WBR>ขึ้น <WBR>ครั้น<WBR>เมื่อ<WBR>อายุ<WBR>ครบ<WBR>อุปสมบท<WBR>แล้ว <WBR>คุณ<WBR>โยม<WBR> ของ<WBR>ท่าน<WBR>จึง<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>มา<WBR>อุปสมบท<WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>เทวราชกุญชร<WBR>อัน<WBR>เป็น<WBR>วัด<WBR>ที่<WBR>ตั้ง<WBR>อยู่<WBR>ใกล้<WBR> บ้าน<WBR>เดิม <WBR>ท่าน<WBR>จึง<WBR>ได้<WBR>อุปสมบท<WBR>เมื่อ<WBR>ปี<WBR>จอ <WBR>พ.ศ. <WBR>2369 <WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>เทวราชกุญชร <WBR>โดย<WBR>มี<WBR>พระ ธรรม <WBR>วิโรจน์ <WBR>(เรือง) <WBR>วัด<WBR>ราชาธิวาส<WBR> เป็น<WBR>อุปัชฌาย์ <WBR>พระพุทธโฆษาจารย์<WBR>(ขุน) <WBR>วัด<WBR>โมกฬีโลกยาราม <WBR>เป็น<WBR>พระกรรมวาจาจารย์<WBR> พระวินัยมุนี<WBR>(คง) <WBR>วัด<WBR>อรุณราชวราราม <WBR>เป็น<WBR>พระอนุกรรมวาจาจารย์<WBR> เมื่อ<WBR>บวช<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>สำนัก<WBR> พระธรรมวิโรจน์<WBR>ที่<WBR>วัดราชาธิวาส<WBR> ตั้งแต่<WBR>นั้น<WBR>มา<WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>ไป<WBR>อยู่<WBR>และ<WBR>ศึกษา<WBR>เล่า<WBR> เรียน<WBR>ใน<WBR>สำนัก<WBR>อาจารย์ <WBR>นพรัตน์ <WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>ไทรทอง<WBR> (วัดเบญจบพิตร)<WBR> บ้าง<WBR> ที่<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>เกื้อ<WBR>วัดชนะสงคราม<WBR>บ้าง<WBR>เนืองๆ
    สอบได้เปรียญ 9 ประโยค
    ลุ<WBR>ถึง<WBR>ปี<WBR>วอก <WBR>พ.ศ. <WBR>2379 <WBR>เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>มี<WBR>พรรษา <WBR>11 <WBR>อายุ <WBR>31 <WBR>ปี <WBR>ยัง<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>อันดับ<WBR>อยู่ <WBR>พระ<WBR>บาท<WBR>สมเด็จ<WBR>พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว<WBR>ทรง<WBR>อาราธนา<WBR>พระ<WBR>บาท<WBR>สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<WBR> (ขณะ<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>ผนวช) <WBR>เสด็จ<WBR>ไป<WBR>ครอง วัด<WBR>บวรนิเวศวิหาร<WBR>และ<WBR>ใน<WBR>สมัย<WBR>นั้น<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>วัดราชาธิวาส<WBR>มี<WBR>ทั้ง<WBR>พระมหานิกาย<WBR>และ<WBR>พระธรรมยุต<WBR>อยู่<WBR>ด้วย<WBR>กัน <WBR>แต่<WBR>อธิบดี<WBR> สงฆ์<WBR>เป็น<WBR>มหานิกาย<WBR>จึง<WBR>ได้<WBR>โปรด<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>อยู่<WBR>ครอง<WBR>ฝ่าย<WBR>ธรรมยุต<WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>ราชาธิวาส<WBR> ครั้น<WBR>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า<WBR>อยู่<WBR>หัว เสด็จ<WBR>มา<WBR>ประทับ<WBR>ที่<WBR>วัดบวรนิเวศวิหาร<WBR>เรียบ<WBR>ร้อย<WBR>แล้ว <WBR>จึง<WBR>โปรด<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เข้า<WBR>แปล<WBR>พระปริยัติธรรม<WBR>ใน<WBR>สนาม<WBR>หลวง <WBR>ครั้ง<WBR>แรก<WBR>ท่าน<WBR>แปล<WBR>ได้<WBR>ถึง <WBR>๗<WBR> ประโยค<WBR> <WBR>แล้ว<WBR>ท่าน<WBR>ไม่<WBR>แปล<WBR>ต่อ <WBR>รอ<WBR>มา<WBR>อีก<WBR>ระยะ<WBR>หนึ่ง<WBR>จึง<WBR>เข้า<WBR>แปล<WBR>ได้<WBR>อีก <WBR>๒<WBR> ประโยค <WBR>รวม<WBR>เป็น <WBR>๙<WBR> ประโยค หลัง<WBR>จาก<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>เปรียญ <WBR>๙<WBR> อยู่<WBR>ไม่<WBR>นาน <WBR>พระ<WBR>บาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>แต่ง<WBR>ตั้ง<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>ราชา<WBR>คณะ<WBR>ที่<WBR>พระอริยมุนี<WBR>และ<WBR>ท่าน<WBR>คง<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>วัด<WBR>ราชาธิวาส<WBR>ต่อ<WBR>มา
    เป็นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดโสมนัสวิหาร
    หลัง<WBR>จาก<WBR>ที่<WBR>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง<WBR>ลา<WBR>ผนวช<WBR>และ<WBR>ขึ้น<WBR>ครองราชย์<WBR>ใน<WBR>ปี <WBR>๒๓๙๔<WBR> แล้ว <WBR>พระองค์<WBR>ได้<WBR>ทรง<WBR>สร้าง<WBR>วัดโสมนัสวิหาร<WBR>ขึ้น ด้วย<WBR>พระ<WBR>ราชทรัพย์<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>นางโสมนัสวัฒนาวดี <WBR>อัครมเหสี<WBR>ของ<WBR>พระองค์ <WBR>ได้<WBR>พระราชทาน<WBR>นามว่า <WBR>วัดโสมนัสวิหาร <WBR>โดย<WBR>ทรง<WBR>วาง<WBR>ศิลาฤกษ์<WBR>พระ<WBR>อุโบสถ เมื่อ<WBR>วัน<WBR>ที่ <WBR>๑๕<WBR> มกราคม <WBR>พ.ศ. <WBR>๒๓๙๖<WBR> ทรง<WBR>สร้าง<WBR>เป็น<WBR>พระอารามหลวง<WBR>ชั้น<WBR>โท<WBR>ชั้นราชวรวิหาร <WBR>ใน<WBR>เนื้อ<WBR>ที่ <WBR>๓๑<WBR> ไร่<WBR>เศษ <WBR>ครั้ง<WBR>สิ่ง<WBR>ก่อ<WBR>สร้าง<WBR>สำเร็จ<WBR>ลง<WBR>บ้าง <WBR>พอ<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>อาศัย<WBR>อยู่<WBR>จำ<WBR>พรรษา ของ<WBR>ภิกษุ<WBR>สามเณร<WBR>ได้<WBR>บ้าง<WBR>แล้ว <WBR>ใน <WBR>พ.ศ. <WBR>๒๓๙๙<WBR> พระองค์<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ทรง<WBR>อาราธนา<WBR>สมเด็จ<WBR>พระวันรัต <WBR>ใน<WBR>สมัย<WBR>ที่<WBR>ยัง<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>อริยมุนี <WBR>จากวัด<WBR>ราชาธิวาส<WBR> พร้อม<WBR>ด้วย<WBR>คณะ<WBR>สงฆ์<WBR>ประมาณ <WBR>๔๐<WBR> รูป โดย<WBR>ขบวน<WBR>แห่<WBR>ทาง<WBR>เรือ <WBR>ให้<WBR>มา<WBR>อยู่<WBR>ครอง<WBR>วัด<WBR>โสมนัสวิหาร <WBR>ท่าน<WBR>จึง<WBR>ได้<WBR>เป็น<WBR>เจ้าอาวาส<WBR>องค์<WBR>แรก<WBR>ของ<WBR>วัด<WBR>นี้ <WBR>ท่าน<WBR>ปกครอง<WBR>วัด<WBR>โสมนัสวิหาร<WBR>มา<WBR>จน<WBR>กระทั่ง<WBR>ได้<WBR>ถึง<WBR>มรณภาพ<WBR>ลง<WBR>เมื่อ<WBR>วัน<WBR>ที่ <WBR>๔<WBR> พฤศจิกายน <WBR>พ<WBR>.ศ. <WBR>๒๔๓๔
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • abort1.jpg
      abort1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.7 KB
      เปิดดู:
      217
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.watkoh.com/forum/forum_posts.asp?TID=189

    [​IMG]


    ชาติ ชรา มรณาธิกถา<?:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:



    สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>


    วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร<O:p></O:p>


    <TABLE style="WIDTH: 50%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="50%" ="MsonormalTable"><T><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: maroon 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="100%">
    คำนำ<O:p></O:p>

    หนังสือเล่มนี้ข้าพเจ้าได้จัดพิมพ์ขึ้น ณ พุทธศักราช ๒๗๖๘ ในคราวปลงศพสนองคุณ ท่านสัมฤทธิ์ป้า แลท่านเล็กน้า ผู้ได้กำเนิดมาในสกุลบุนนาคผ่ายหนึ่ง ซึ่งมรณกรรมไปแล้ว ( เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๗ ) ปีเดียวกัน<O:p></O:p>
    ต้นฉบับหนังสือที่พิมพ์ขึ้นนี้ได้มาจากสำนักวัดโสมนัสวิหาร เข้าใจว่าเป็นพจนนิพนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธศิริ)<O:p></O:p>
    กุศลทั้งหลายที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญแล้วในการศพท่านทั้ง ๒ เริ่มแต่มรณกาลของท่านตลอดจนการปลงศพ ทั้งการพิมพ์หนังสือนี้ หากจะมีอานิสงส์ผลประการใด ขออุทิศผลานิสงส์ทั้งสิ้นนั้นแก่ท่านทั้ง ๒ ที่กล่าวนามมาแล้วจงได้อนุโมทนา เพื่อสำเร็จประโยชน์แลความสุขตามสมควรแก่คติวิสัยสามารถจงทุกประการ<O:p></O:p>
    ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณจงเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญกุศลนั้น ๆ เทอญ<O:p></O:p>
    ลายเซ็นต์พระยา (อ่านไม่ออก)<O:p></O:p>

    </TD></TR></T></TBODY></TABLE>​

    <O:p></O:p>

    <TABLE style="WIDTH: 50%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="50%" ="MsonormalTable"><T><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>เอวมฺเม สุตํ ฯลฯ ตโย ภิกฺขเว ธมฺมา<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>โลเก น สํ วิชฺเชยฺยุ ํ น ตถาคโต โลเก อุปฺปชฺ<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>เชยฺย อรหํสมฺมาสมฺพุทฺโธ น ตถาคตปฺปเวทิโต <O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>ธมฺมวินโย โลเก ทีเปยฺย กตเม ตโย ชาติ <O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>จ ชรา จ มรณํ จ อิเม ภิกฺขเว ตโย ฯลฯ <O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>ทีเปยฺย ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว อิเม ฯลฯ <O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>สํวิชฺชนฺติ ฯลฯ อุปฺปชฺชนฺติ ฯลฯ สมฺพุทฺโธ <O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; WIDTH: 291.95pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8" vAlign=top width=389>ตสฺมา ตถาคตปฺปเวทิโต ฯลฯ ทีเปตีติ ฯ<O:p></O:p>


    </TD></TR></T></TBODY></TABLE>​

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๓ อย่างนี้ไม่พึงมีในโลก พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าก็จะไม่พึงเกิดขึ้นในโลกเลย ธรรมแลวินัยที่พระตถาคตตรัสรู้แจ้งทั่วก็จะไม่พึงรุ่งเรืองในโลก ธรรม ๓ อย่างนั้นอย่างไร จะได้แก่สิ่งอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชาติ ความเกิดด้วย ชรา ความชำรุดทรุดโทรมแปรผันด้วย มรณ ความม้วยมอดพินาศขาดหายตายไปด้วยธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ ไม่พึงมีในโลก พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าก็จะไม่พึงเกิดขึ้นในโลก ธรรมแลวินัยที่พระตถาคตตรัสรู้แจ้งทั่ว ก็จะไม่พึงรุ่งเรืองในโลก<O:p></O:p>
    ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุใด ธรรม ๓ ประการเหล่านี้มีอยู่ในโลก พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าอุบัติขึ้นในโลกเพราะเหตุนั้น ธรรมแลวินัยที่พระตถาคตตรัสรู้แจ้งทั่ว จึงรุ่งเรืองในโลก พระพุทธภาษิตตรัสเทศนาไว้ฉะนี้ ให้นักปราชญ์ผู้มีปรีชาพึงสันนิษฐานว่า ธรรม ๒ ประการ คือ ชรา แลมรณะ นั้น จะมีจะเป็นขึ้นพร้อมก็เพราะชาติ ชาติความเกิดมีอยู่ ชราแลมรณะเป็นผล ผลจะมีมาก็เพราะเหตุ เหตุมีอยู่จึงบังเกิดผล ประหนึ่งต้นพฤกษาชาติ ย่อมเผล็ดดอกก่อนจึงจะเป็นผล ผลจะมีจะเป็นขึ้นก็เพราะดอกเป็นเหตุ ฉันใด ชราแลมรณะ ๒ ประการนี้ จะมี จะเป็น จะปรากฏขึ้นก็เพราะชาติเป็นเหตุเป็นแดนเกิด ฉันนั้น มิฉะนั้น เปรียบเหมือนดวงประทีป อันผู้ใดผู้หนึ่งจุดไว้ในที่มืด ย่อมมีแสงสว่างบังเกิดขึ้น ให้บุคคลผู้มีจักษุได้เห็นรูปารมณ์ต่าง ๆ แลแสงสว่างนั้นจะมีปรากฏขึ้นก็เพราะดวงประทีปเป็นเหตุเกิดขึ้นแห่งแสงสว่างฉันใด ชาติก็เป็นเหตุเกิด เป็นที่เกิดของชราและมรณะฉันนั้น<O:p></O:p>
    ชาติอะไร ชื่อว่าเกิดเป็นตัวเกิด ชรานั้นอย่างไร อะไรชื่อว่าชรา เป็นตัวชรา มรณะนั้นอย่างไร อะไรชื่อว่ามรณะ เป็นตัวมรณะดังนี้ สำคัญนัก ผู้นับถือพระพุทธศาสนาจำเป็นจะต้องศึกษาให้รู้จัก ชาติ ความเกิด และ ชรา ความแก่ แล มรณ ความตาย ถ้าไม่รู้จักชาติ, ชรา, มรณะ แล้ว ไม่พ้นจากชาติทุกข์ได้เลย จะต้องเกิดแก่ตายร่ำไปไม่มีที่สิ้นสุด ผู้ที่จะพ้นจากอบายทุกข์และสังสารทุกข์ คือ เกิด, แก่, ตาย ได้นั้น อาศัยมารู้จักความเกิด รู้เท่าต่อความเกิด รู้จักชรา รู้เท่าต่อชรา รู้จักมรณะ รู้เท่าต่อมรณะ จึงพ้นจากอบายและสังสารทุกข์ได้ แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย จะทรงพระนามว่า อรหํ สมฺมา สมฺพุทฺโธ นั้น แปลว่า เป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้กำจัดข้าศึก คือกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ควรบูชาเป็นต้น ก็เพราะพระองค์ตรัสรู้เท่าต่อความเกิด, แก่, ตาย ธรรมที่พระองค์ตรัสเทศนาสั่งสอนไว้ จะชื่อว่าเป็นสวากขาตธรรมนั้น ก็เพราะเป็นอุบายจะให้สัตว์รู้เท่าต่อความเกิด, แก่, ตาย พระสงฆ์สาวกของพระองค์ ซึ่งจัดไว้เป็นคู่ ๆ ได้ ๔ เรียงตัวบุคคลเป็น ๘ จะชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติชอบปฏิบัติดีนั้น ก็เพราะปฏิบัติจนรู้เท่าต่อ เกิด, แก่, ตาย ปัญญาที่มารู้จัก เกิด, แก่, ตาย เป็นเหตุให้สัตว์พ้นจากอบายทุกข์ แลสังสารทุกข์ เพราะฉะนั้น จำจะต้องศึกษาให้รู้จัก เกิด, แก่, ตาย<O:p></O:p>

    &ocirc;&ocirc;&ocirc;&ocirc;ต่อหน้า 2 &ocirc;&ocirc;&ocirc;&ocirc;<O:p></O:p>


    <TABLE class=tableBorder style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=1 cellPadding=3 align=center><TBODY><TR class=msgOddTableRow><TD class=msgLineDevider vAlign=top height=150><!-- End Member Post --></TD></TR><TR class=msgOddTableRow><TD noWrap></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.watkoh.com/forum/forum_posts.asp?TID=189

    ชาติ ชรา มรณาธิกถา 2<?:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:
    สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร<O:p></O:p>

    เกิดนั้น คือความที่ขันธ์ทั้ง ๕ คือ รูป ๑ เวทนา ๑ สัญญา ๑ สังขาร ๑ วิญญาณ ๑ หรือ ๔ ยกรูปเสีย หรือ๑ ยก เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเสีย ปรากฏเป็นชัด อานตนานํ ปฏิลาโภ ความได้เฉพาะซึ่งอายตนะครบทั้ง ๖ คือ จักษุ ๑ โสต ๑ ฆาน ๑ ชิวหา ๑ กาย ๑ มน ๑ หรือ ๓ แต่ จักษุ ๑ โสต ๑ มน ๑ แต่ มน อย่างเดียว ย่นลงเป็น ๒ คือ นาม แล รูป <O:p></O:p>
    นามแลรูปบังเกิดขึ้น ชื่อว่า ชาติ ความเกิด, นามปรากฏอย่างเดียว สมมติเรียกว่า อรูปพรหม, รูปอย่างเดียวปรากฏขึ้น สมมติเรียกว่า อสัญญีสัตว์, ปรากฏขึ้นทั้งนามแลรูป สมมติเรียกว่า อปายิกสัตว์บ้าง มนุษย์บ้าง เทวดาบ้าง พรหมบางพวกบ้าง <O:p></O:p>
    นามรูปที่ปรากฏขึ้นแล้ว เป็นทุกข์อย่างเดียว สมมติเรียกว่า สัตว์นรก แลเปรตบางพวก นามรูปที่ปรากฏขึ้นแล้วเป็นทุกข์มากกว่าสุข หรือสุขมากกว่าทุกข์ หรือเป็นสุขเป็นทุกข์เท่ากัน สมมติเรียกว่า เปรตบางพวก แลอสุรกาย แลสัตว์ดิรัจฉาน แลมนุษย์ แลเทวดาบางพวก <O:p></O:p>
    นามรูปที่ปรากฏขึ้นแล้วเป็นสุขมากกว่าทุกข์ หรือเป็นสุขอย่างเดียว สมมติเรียกว่า มนุษย์ แลกามาพจรเทพยดา แลรูปาพจรเทพยดาบางพวก <O:p></O:p>
    นามแลรูปปรากฏขึ้นแล้วมีแต่อุเปกขาเวทนาอย่างเดียว สุข ทุกข์ โสมนัส โทมนัสไม่มี สมมติเรียกว่า อรูปสัตว์ แล อสัญญีสัตว์ <O:p></O:p>
    นามแลรูปย่อมเป็นไปในภพทั้ง ๓ ๆ ตกลงเป็นนาม ๑ รูป ๑ นามรูปปรากฏขึ้นเป็นเช่นนี้แลชื่อว่าเกิดปัญญา, ที่มากำหนดรู้อย่างนี้ เห็นจริงอย่างนี้ ชื่อว่ารู้จักเกิด, ถ้าไปเห็นว่า สัตว์เกิด มนุษย์เกิด อย่างนี้ชื่อว่า ไม่รู้จักเกิด จัดเป็นคนหลงในโลก เพราะเห็นไปโดยสติ คำที่ว่าสัตว์ ว่าบุคคล ว่าเทวดา ว่าพรหม นี้เป็นคำสมมติบัญญัติเรียกกันตามโลกโวหาร เพื่อจะให้เข้าใจรู้กันง่าย ๆ เป็นของไม่จริงแท้, ที่จริงแท้นั้น นามรูป ประหนึ่งอันบุคคลเอาดินมาปั้นเป็นรูปหม้อ รูปกระถางเป็นต้น แลสมมติเรียกว่า หม้อ ว่ากระถางเป็นต้นเพื่อจะให้รู้จักเรียกกันใช้สอยกันง่าย ๆ แลคำว่าหม้อ ว่ากระถางเป็นต้นนั้น เป็นของสมมติ ไม่จริง ของจริงคงอยู่ที่ดิน ฉันใด คำว่า สัตว์, ว่าบุคคล, ว่าเทวดา, ว่าพรหม นั้น ก็เป็นแต่สมมติ ไม่จริง ของจริงคงอยู่ที่นาม ที่รูปเหมือนกัน ฉันนั้น <O:p></O:p>
    อนึ่ง รถแลเกวียน เมื่อยังควบคุมกันอยู่ บุคคลก็เรียกว่ารถ ว่าเกวียน ถ้าแลว่ารถแลเกวียนนั้น อันผู้หนึ่งผู้ใดรื้อกระจายออกเสีย เป็นส่วน ๆ เป็นแผนก ๆ แล้ว บุคคลก็หาเรียกว่ารถ ว่าเกวียนไม่ ฉันใด รูป คือร่างกายนี้ เมื่อควบคุมกันครบทั้งอาการ ๓๒ มี เกสา เป็นต้น โลกสมมติเรียกว่าสัตว์ ว่าบุคคล ถ้าแยกกระจายกันอยู่เป็นส่วน ๆ เป็นผมส่วน ๑ ขนส่วน ๑ เล็บส่วน ๑ ฟันส่วน ๑ หนังส่วน ๑ เป็นต้นแล้ว อันผู้ใดผู้หนึ่งก็หาเรียกว่าสัตว์ ว่าบุคคลไม่ ฉะนั้น ผมตั้งอยู่ที่ศีรษะก็จริง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ ขนตั้งอยู่ทั่วทั้งกาย เว้นแต่ฝ่ามือฝ่าเท้า มีจริง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ เล็บตั้งอยู่ที่ปลายมือปลายเท้า มีจริง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ ฟันตั้งอยู่เหนือกระดูกคาง เบื้องต่ำ เบื้องบน มีจริง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ หนังหุ้มอยู่ทั่วทั้งกาย มีจริง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้แจ้ง <O:p></O:p>
    ตาได้เห็นเหมือนไม่ได้เห็น จิตก็รู้เหมือนไม่รู้ เหตุไร เหตุว่าเราท่านทั้งปวง มาเห็นเป็นสัตว์เป็นบุคคล มานึกว่าสัตว์ ว่าบุคคลไปเสีย หานึกว่า ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ไม่ เหตุฉะนี้ จึงว่า ตาเห็นเหมือนไม่เห็น นึกไปตามสมมติ จึงเกิดรัก เกิดชิงชังกันแลกัน ถ้าตาเห็น จิตนึกไปตามตา จิตรู้ ๆ ไปตามจิต ปล่อยวางสมมติเสียแล้ว ความรัก ความชิงชังกันแลกันก็จะมีมาแต่ไหน ปล่อยวางสมมติยังไม่ขาดตราบใด ก็จะต้องทนทุกข์ เกิด แก่ ตาย อยู่ตราบนั้น <O:p></O:p>
    ที่มารู้เห็นตามของจริง คือ นามแลรูป ปล่อยวางสมมติเสียนี้แหละ เป็นเหตุจะให้พ้นจากทุกข์ คือ เกิด แก่ ตาย ถึงจะละสมมติยังไม่ได้ขาด เป็นแต่ละได้ครู่หนึ่ง ขณะหนึ่งเท่านั้นก็เป็นบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ แลเป็นปัจจัยที่จะให้ละได้ขาดต่อไป <O:p></O:p>
    เพราะเหตุนั้น จำเป็นจะต้องศึกษาให้รู้จักของจริง คือ นามแลรูป ครั้นรู้จักของจริงแล้ว พึงยึดไว้ ถือไว้ในของที่จริง ปล่อยวางของที่ไม่จริง คือ สมมติเสีย ก็แลคำว่าเกิด ๆ นั้น ให้พึงสันนิษฐานทราบเถิดว่า ไม่ใช่ใคร คือขันธ์ ๕ คือ อายตนะ ๖ คือ ธาตุ ๖ ย่นลงเป็นนามแลรูป ๆ ที่ปรากฏขึ้นนั้นแล ชื่อว่าเกิด นามแลรูปที่ปรากฏขึ้นนั้น ถึงซึ่งสภาวะเก่าคร่ำคร่าไป ชำรุดทรุดโทรมผันแปรไป หาคงที่อยู่โดยปรกติเหมือนเมื่อแรกตั้งขึ้นไม่ <O:p></O:p>
    ชื่อว่าชรา ความแก่ ปัญญาที่มากำหนดเห็นไปตามจริงอย่างนี้ ชื่อว่ารู้จักชรา ถ้าเห็นไปนึกไปว่า เราแก่ สัตว์แก่ มนุษย์แก่ เทวดาแก่ เป็นต้น ฉะนี้แล้ว ชื่อว่าไม่รู้จักชรา จัดเป็นคนหลง ถ้าเห็นไปตามของจริงว่า นามรูปเก่าคร่ำคร่าไป ไม่มีใครแก่ ดังนี้ ชื่อว่ารู้จักชรา คำที่ว่า ชรา ๆ นั้น ให้นักปราชญ์พึงสันนิษฐานเถิดว่า ไม่ใช่ใคร คือนามรูปที่ชำรุดวิบัติแปรไป ๆ นี้แหละเรียกว่าชรา <O:p></O:p>
    นามรูปที่วิบัติแปรไป ๆ นั้น ถึงซึ่งสภาวะแตกดับชื่อว่าตาย ถ้ามาเห็นไปว่า สัตว์ตาย เราตาย มนุษย์ตาย เทวดาตาย มารตาย พรหมตาย อย่างนี้ชื่อว่าไม่รู้จักตาย จัดเป็นคนหลง ถ้ามาเห็นมานึกไปว่า รูปแตก นามดับ ไม่มีใครตายอย่างนี้ ชื่อว่ารู้จักตาย ปัญญาที่มากำหนดรู้จักเกิด รู้เท่าต่อเกิด รู้จักแก่ รู้เท่าต่อความแก รู้จักตาย รู้เท่าต่อความตายนี้ บังเกิดขึ้นในกาลใด กาลนั้นย่อมมาละราคะ โทสะ โมหะได้ <O:p></O:p>
    ก็ราคะ โทสะ โมหะ จักบังเกิดขึ้นแล้วแลถาวรเจริญอยู่ ก็อาศัย สกฺกายทิฏฺฐิ ความเห็นว่ากายของเรา เราเกิดมา เราแก่ เราตาย ถ้ามาเห็นโดยความเป็นจริงว่า ไม่มีใครเกิด ไม่มีใครแก่ ไม่มีใครตาย นามรูปปรากฏขึ้นต่างหาก นามรูปเก่าคร่ำคร่าไปต่างหาก นามรูปดับทำลายไปต่างหาก ดังนี้แล้ว ราคะ โทสะ โมหะ ก็เกิดขึ้นไม่ได้ ที่เกิดแล้วก็จะระงับดับไปในขณะนั้น <O:p></O:p>
    อนึ่งเมื่อกำหนดนามรูปว่าเป็นตัว เกิด แก่ ตาย แจ้งใจชัดดังนี้แล้ว พึงมนสิการกระทำไว้ในจิตให้เนือง ๆ ทุกอิริยาบถ เมื่อไม่ได้อย่างนั้น โดยที่สุด จะกระทำไว้ในใจ ให้เห็นจริงแจ้งชัด แต่เพียงวันละครั้ง ๆ เท่านั้นก็เป็นการดี จัดเป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ ชีวิตที่เป็นอยู่ในวันนั้น มีกำไร ไม่ขาดทุน เพราะความที่มารู้จักรูป รู้จักนามเกิดนั้น ชื่อว่ารู้จัก อนตฺตา เห็น อนตฺตา อนตฺตานี้ก็เป็นธรรมมีอยู่ในโลกโดยธรรมดา แต่จะหาผู้ที่รู้แจ้งชัด แล้วแลหยิบยกบัญญัติขึ้นแสดงสั่งสอนผู้อื่นให้เข้าใจนั้นยากนัก แม้พระปัจจเจกพุทธเจ้าท่านก็ประกอบด้วย อนตฺตา แจ้งชัด จนได้ตรัสรู้ปัจเจกโพธิญาณโดยลำพังพระองค์ ก็ยังไม่อาจบัญญัติยกขึ้นแสดงสั่งสอนผู้อื่นได้ นักปราชญ์นอกจากพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ที่จะได้เห็น อนตฺตา แจ้งชัดโดยลำพังปัญญาตนได้นั้นไม่มี ในข้อที่จะสั่งสอนผู้อื่นนั้นไม่ต้องว่า<O:p></O:p>
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.watkoh.com/forum/forum_posts.asp?TID=189

    ชาติ ชรา มรณาธิกถา 3<?:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:
    สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร<O:p></O:p>

    อนตฺตานี้ ต่อพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้าอุบัติเกิดขึ้นในโลก แสดงเปิดเผยให้ตื้น สัตว์อื่นที่มีอุปนิสัยจึงได้ตรัสรู้ตาม แลสั่งสอนต่อ ๆ มา ถ้าไม่มีอุปนิสัยเสียแล้ว ถึงจะได้ยินได้ฟังสักเท่าใด ๆ ก็ไม่เข้าใจ ไม่รู้จัก อนตฺตา ที่เราท่านมาได้ยินได้ฟังแลรู้จัก อนตฺตา แจ้งชัดโดยครู่ ๑ ขณะ ๑ นี้เพราะมีอุปนิสัย ควรที่จะมีความยินดีว่า เป็นลาภของเรา อนึ่งผู้เห็น อนตฺตา นั้น ได้ชื่อว่าเห็นธรรมอันอุดมสูงสุด เพราะ อนตฺตา นี้เป็นธรรมอันสูง เป็นยอดของธรรมทั้งปวง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเทศนาสั่งสอนสัตว์ด้วยอุบายวิธีต่าง ๆ ก็เพื่อจะให้รู้จัก อนตฺตา ผู้ที่เห็นธรรมอันสูงสุด คือ อนตฺตา นี้ แม้จะมีชีวิตเป็นอยู่สักวัน ๑ ย่อมประเสริฐกว่าผู้ที่มีชีวิตอยู่ร้อยปีที่มิได้เห็น อนตฺตา สมด้วยพระพุทธภาษิตทรงตรัสไว้ว่า โยจ วสฺสสตํ ชีเว อปสฺสํ ธมฺมมุตฺตมํ บุคคลผู้ใดเมื่อมิเห็นซึ่งธรรมอันสูงสุด แลพึงมีชีวิตเป็นอยู่ตลอดร้อยปี เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปสฺสโต ธมฺมมุตฺตมํ ชีวิตของบุคคลผู้เห็นอยู่ซึ่งธรรมอันสูงสุด จะเป็นอยู่ตลอดวัน ๑ ย่อมประเสริฐกว่าชีวิตของผู้ที่ไม่เห็นธรรมเป็นอยู่ตลอดร้อยปีนั้น <O:p></O:p>
    เหตุไร พระผู้มีพระภาคจึงตรัสดังนี้ เพราะว่าผู้ที่ไม่เห็นธรรม แลมีชีวิตเป็นอยู่ตลอดร้อยปีนั้น เป็นอยู่ด้วยความประมาท ปราศจากสติ ไม่มีสติระลึกรู้กุศลธรรม บุคคลที่ประมาทนั้น ถึงจะมีชีวิตเป็นอยู่ พระองค์ก็ตรัสว่า เหมือนกับคนที่ตายแล้ว เพราะเป็นอยู่ไม่มีประโยชน์อะไรแก่ตน บุคคลที่ได้เห็นธรรมแลมีชีวิตเป็นอยู่วัน ๑ นั้น เป็นอยู่ด้วยปัญญาประกอบไปด้วยผลประโยชน์แก่ตน แลชื่อว่าเป็นคนไม่ประมาท <O:p></O:p>
    ผู้ที่ไม่ประมาทนั้น ถึงจะตายไป ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ตาย เพราะเป็นผู้มีที่กำหนดถึงคราวนั้นสมัยนั้นจักพ้นทุกข์ คือผู้ที่ไม่ประมาทนั้น มาเจริญลักษณะแห่งความไม่ประมาทแล้ว จักกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคแลผล จักเกิดในสุคติภพอีกชาติหนึ่ง หรือ ๒ ชาติ อย่างช้าเพียง ๗ ชาติเท่านั้น ก็จักพ้นจากสังสารทุกข์ เหตุฉะนี้ ผู้ที่ไม่ประมาท ถึงจะตายไป จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ตาย <O:p></O:p>
    เมื่อนักปราชญ์ได้ทราบบรมพุทธาธิบายฉะนี้ ควรจะเป็นผู้ไม่ประมาท หมั่นมีสติระลึกถึงธรรมอันสูงสุด คือ อนตฺตา กำหนดรู้ ชาติ ความเกิด อนึ่งเมื่อรู้จักความเกิดว่า นามรูปเป็นตัวเกิดดังนั้นแล้ว เมื่อยามทุกข์ภัยอย่างใดอย่างหนึ่งบังเกิดขึ้น อย่าโทษเอาใคร ให้โทษเอาความเกิด <O:p></O:p>
    เพราะเกิดมาจึงต้องทุกข์ภัยต่าง ๆ ต้องเขาด่า เขาว่า ต้องติดเครื่องจองจำ ต้องประหารฆ่าฟันต่าง ๆ ก็เพราะเกิดมา <O:p></O:p>
    จำต้องแสวงหาอาหาร แลผ้านุ่งห่ม เครื่องประดับกาย ทนลม ทนแดด ทนฝน อดหลับ อดนอน ยุงริ้นกัด เพราะแสวงหาอาหารเป็นต้นนั้น ก็เพราะเกิดมา <O:p></O:p>
    จะต้องเป็นหนี้ เป็นข้าให้เขาใช้สอย เป็นไปในอำนาจแห่งท่านผู้อื่น ได้ความเจ็บอกเจ็บใจต่าง ๆ ก็เพราะเกิดมา <O:p></O:p>
    จะต้องไปรบทัพจับศึก พลัดพรากจากที่อยู่ที่อาศัย แลคนเป็นที่รักไป ก็เพราะเกิดมา <O:p></O:p>
    จะต้องเป็นคนอนาถา ยากจนเที่ยวขอทานเขาตามถนนหนทาง กรำแดด กรำฝนทนทุกข์ลำบากยากเหนื่อย ไม่ใคร่จะมีใครให้ อด ๆ อยาก ๆ อิ่มบ้าง ไม่อิ่มบ้าง ก็เพราะเกิดมา <O:p></O:p>
    จะต้องเศร้าโศกร่ำไร ทุกข์กายทุกข์ใจ คับแค้นจิต เพราะความวิปริตแลทุกขธรรมอันหนึ่งอันใดถูกต้อง คือต้องราชภัย พระเจ้าแผ่นดินริบราชฐาน ข้าวของเงินทองเหย้าเรือนที่นาที่สวน จำจองเฆี่ยนตีฆ่าฟัน หรือต้องโจรภัย อัคคีภัย อุทกภัย ทุพภิกขภัย ต่าง ๆ ก็เพราะเกิดมา <O:p></O:p>
    จะต้องชราคร่ำคร่า รูปกายวิบัติแปรผัน เกสาก็หงอก ฟันก็โยกคลอนหักหลุด ผิวหนังเหี่ยวแห้งหดหู่ มํสํเหลวหย่อนยาน แถวเอ็นขึ้นสะพรั่ง จักษุมืด โสตตึง จมูกคัด ไม่รู้กลิ่น ชิวหาปร่าเชือน กายเป็นเหน็บชาไม่ใคร่รู้สัมผัส จิตเฟือนหลง สติไม่มั่นคง ก็เพราะเกิดมา
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.watkoh.com/forum/forum_posts.asp?TID=189


    ชาติ ชรา มรณาธิกถา 4<?:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:
    สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร<O:p></O:p>

    จะมีอาพาธเจ็บไข้เกิดขึ้น เบียดเบียนกายต่าง ๆ คือ เจ็บตา เจ็บหู เจ็บจมูก เจ็บลิ้น เจ็บฟัน เจ็บศีรษะ เจ็บปาก เป็นโรคหอบ โรคหวัด โรคซูบผอม โรคในท้องต่าง ๆ โรคสลบแน่นิ่ง โรคลงราก โรคจุกเสียด โรคในข้อ โรคเรื้อน โรคต่อมพิษ โรคเกลื้อน กลาก หิดด้าน หิดเปื่อย โรคหือมองคร่อ บ้าหมู โรควัณณะพิการ เป็นเม็ด เป็นผื่น โรคเกิดแต่โลหิต เกิดแต่ดี เกิดแต่เสมหะ เกิดแต่ลม เกิดแต่ฤดู โรคอุจจาระปัสสาวะพิการ โรคเกิดแต่บริหารกายไม่เสมอ โรคเกิดแต่ความเพียรแห่งตนแลผู้อื่น โรคเกิดแต่กรรมวิบากต่าง ๆ อย่างต่ำ ความไม่สบายอันมีขึ้นด้วยเย็นนัก แลร้อนนัก อยากข้าวอยากน้ำ ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ อาพาธเหล่านี้แต่ละอย่าง ๆ บังเกิดขึ้น ล้วนเบียดเบียนกายให้ได้ทุกข์ จะมีมาก็เพราะชาติความเกิดเป็นนามรูป มรณะความตายชีวิตินทรีย์ขาดแตกไป อันตรธานไป ทิ้งรูปกายไว้ในที่นั้น ๆ จะมีมาก็เพราะเกิดเป็นนามรูป ถ้าไม่เกิดมาแล้ว ไหนเลยจะต้องทุกข์ต้องภัยเหล่าที่พรรณนามานี้ ความเกิดเป็นของชั่ว ไม่ดี เพราะเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ แห่งเวทนาต่าง ๆ ควรจะคิดบาดหมางเบื่อหน่าย พิจารณาให้เห็นโทษในความเกิดแลเกลียดชัง ปล่อยวางความเกิดเสีย แต่โทษในความเกิดนั้น ไม่ค่อยจะมีใครเห็น เห็นแต่โทษในพยาธิแลมรณะ ถึงโทษชราเล่าก็ยากที่ผู้จะเห็น ต่อเมื่อชรา ความย่อยยับแห่งรูปกาย เสื่อมถอยกำลัง จนถึงลุกนั่งไม่ใคร่จะไหวมาถึงเข้าแก่ตน จึงจะเห็นว่า ชราเป็นของชั่ว ว่าเมื่อแต่ก่อนรูปกายก็สดใสงดงาม จะลุกนั่งเดินไปก็รวดเร็ว ทางไกล ๆ ก็ไปได้ จะทำสิ่งใดก็ทำได้ตามใจปรารถนา เดี๋ยวนี้ขัดไปทุกอย่างเพราะชรามาถึง ผู้ที่จะเห็นโทษชราเมื่อคราวมาถึงเข้าแก่ตนโดยนัยนี้ ก็น้อยตัว ต่อผู้ที่มีสติระลึกตรึกตรองพิจารณาไป จึงจะเห็นโทษชรา บุคคลบางพวกรูปกายชราย่อยยับ ผมหงอก ฟันหัก อายุถึงหกสิบ เจ็ดสิบ แปดสิบ แล้วก็มิได้เห็นโทษชรา แลมิได้คิดถึงตัวว่าเราแก่แล้ว ปรกติเป็นคนมักโลภ มักโกรธ มักหลง อิจฉาริษยา เบียดเบียนผู้อื่นให้ได้รับทุกข์อย่างใด ก็คงที่อยู่อย่างนั้น จิตโลภ จิตโกรธ จิตหลง จิตอิจฉาริษยาหาย่อยยับเสื่อมไปตามรูปกายไม่ แลผู้นั้นก็มิได้บรรเทาถอยความโลภ ความโกรธ ความหลง ความอิจฉาริษยา ให้เสื่อมถอยน้อยเบาบางลงจากสันดาน ถึงจะได้ยินได้ฟังธรรมอยู่เนือง ๆ ก็เป็นแต่สักว่าฟัง หาคิดจดจำข้อธรรมที่สำคัญเป็นแก่นสารไว้ปฏิบัติดับกิเลสในสันดานไม่ บางทีฟังจำได้แต่ไม่ปฏิบัติ ไม่ได้นึกน้อมนำธรรมที่ตนจำได้ไว้ในใจ หรือปฏิบัติอยู่บ้าง นึกน้อมกระทำธรรมไว้ในใจอยู่บ้าง แต่เมื่อยามเป็นปกติยังไม่มีเหตุการณ์ คือ โลภะ โทสะ โมหะ อิจฉาริษยา ยังไม่เกิดขึ้น ครั้น โลภะ โทสะ โมหะ อิจฉาริษยา บังเกิดขึ้นแล้ว ก็ปล่อยเต็มตามกำลังของความโลภ ความโกรธ ความหลง แลความอิจฉาริษยา ที่บังเกิดขึ้นนั้น บางทีตน โลภ โกรธ หลง อิจฉาริษยา ก็พออยู่แล้ว ยังมิหนำซ้ำชักชวนผู้อื่น ให้โลภ ให้โกรธ ให้หลง ให้อิจฉาริษยา ไปตามตนอีกเล่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็เพราะไม่เห็นโทษชรา ไม่คิดถึงตัวว่าตนชรา จะป่วยกล่าวไปไยถึงผู้ที่ยังตั้งอยู่ในปฐมวัย ชรายังไม่มาถึง รูปกายก็ยังบริบูรณ์อยู่ จะมาเห็นโทษชรา จะคิดถึงตัวว่าชราเล่า แต่ผู้ที่ชรามาถึงแล้ว ยังไม่เห็นโทษชรา ยังไม่คิดถึงตัวว่าชรา เหตุฉะนี้จึงว่า โทษชรานี้เห็นยาก ยากที่จะมีผู้แลเห็น แต่โทษของพยาธิ ความเจ็บไข้ แลโทษของมรณะ ความตายนั้น เห็นง่ายกว่าโทษชรา โทษชรานั้นไม่ใคร่จะมีใครกลัว ไม่เหมือนดังความเจ็บไข้แลความตาย ความเจ็บไข้แลความตายนั้นมีผู้กลัวมากนัก เพราะพยาธิความเจ็บไข้บังเกิดขึ้นย่อมไม่มีความสุข เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว เมื่อความตายมาถึง ชีวิตเลี้ยงรูปนามก็ขาด รูปก็แตก นามก็ดับ นอนกลิ้งอยู่เหมือนท่อนไม้ ท่อนฟืน ไม่มีอำนาจอะไร มดจะกัด สุนัขจะแย่ง แร้งจะทึ้ง กาจจะจิก ก็นิ่ง ใครจะเหยียบย่ำข้ามไปข้ามมาก็นิ่ง ใครจะยกจะหามเอาไปทิ้งในที่โสโครกไม่สะอาดก็เฉย หรือใครจะด่า จะว่า จะทุบ จะตี จะประหาร สับฟันให้เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่ก็นิ่ง ไม่เหมือนเมื่อยามมีชีวิตเป็นอยู่ จนชั้นมดจะกัด ยุงจะกิน ริ้นจะไต่ หรือใครว่าให้ไม่ชอบใจก็โกรธเคืองหมายมั่นพยาบาทจองเวร หาอุบายประทุษร้ายได้ความฉิบหายต่าง ๆ รูปแตกนามดับแล้วก็ตกลงเป็นราคาเดียวกัน ทั้งไพร่ทั้งผู้ดี มิได้มีอำนาจอะไร อนึ่งเมื่อพยาธิเจ็บไข้บังเกิดขึ้น ได้ทุกขเวทนา ก็ยังได้เห็นหน้าญาติเผ่าพันธุ์มิตรสหายอันเป็นที่รักเจริญจิตอยู่บ้าง แลยังจะคิดขยับขยายทำบุญกุศลได้บ้าง พยาธินั้นถึงสัตว์จะกลัวมากก็ยังไม่เท่ามรณะ ความตายนี้สัตว์กลัวยิ่งนัก เพราะสัตว์มีชีวิตเป็นที่รักยิ่งกว่าสิ่งอื่น แลความตายนั้นมีมาถึงเข้าแล้ว สารพัดจะต้องสละต้องวิโยค พลัดพรากจากสัตว์แลสังขารอันเป็นที่รักเจริญใจทั้งสิ้นทุกสิ่งทุกประการ เหตุดังนั้น ความตายนี้สัตว์จึงกลัวมาก เป็นทุกข์ภัยอย่างใหญ่ของสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ก็ผู้ที่จะเห็นโทษเห็นทุกข์ในพยาธิแลมรณะจะสะดุ้งกลัวต่อพยาธิและมรณะนั้น ก็เมื่อยามมาถึงเข้าแก่ตน หรือเห็นคนอื่นเขาเจ็บเขาตายกันกลุ้ม ๆ ถึงเห็นโทษ ทุกข์ภัยในพยาธิแลมรณะ ร้อนใจกลัวจะต้องเจ็บต้องตายเหมือนเขาบ้าง หรือเมื่อครั้งปีระกา มีอหิวาตกโรคบังเกิดขึ้น คนต้องโรคตายมากนัก ผู้ที่เห็นเขาเจ็บตายไปอย่างนั้น ก็หวาดหวั่นพรั่นตัวกลัวจะต้องเจ็บต้องตายไปบ้าง พากันทำบุญให้ทาน ทำการกุศลต่าง ๆ เพื่อจะห้ามกันความตาย หรือเพื่อจะตายไป บุญกุศลนั้นจะได้เป็นของตัวติดตามไปให้ได้ความสุขในเบื้องหน้า บางพวกก็ภาวนาบ่นพึมพำ ๆ เพื่อจะกันตาย ครั้นท้องลั่นจ๊อกขึ้นมาก็ตกใจหน้าสลด คิดว่าเราเห็นจะตายคราวนี้เป็นแน่ บางพวกมีคนเป็นที่รักจากไปเสียในที่อื่นก็ร้องไห้ร่ำไรคิดถึงกัน บางพวกเที่ยวนิมนต์พระสงฆ์ไปสวดมนต์ฉันเช้า บางพวกก็นิมนต์พระมารับสังฆภัตต์แลอุเทสภัตต์เป็นต้น คราวนั้นพระภิกษุสงฆ์ตามบึงบาง แลภิกษุสงฆ์ในบ้านในเมืองร่ำรวยนัก จนไม่มีท้องจะใส่ เพราะมีผู้เขาทำบุญให้ทานมาก ครั้นอหิวาตกโรคสงบเงียบลง พระภิกษุก็อดโซไป เพลาเช้า ๆ ออกเที่ยวบิณฑบาตก็ไม่ใคร่จะพอฉัน ท่านที่มีอุปัฏฐากญาติโยมอยู่ใกล้ ๆ ก็พอยังชั่ว ท่านที่ไม่มีอุปัฏฐากญาติโยม หรือมีอยู่เสียไกลก็ลำบาก เพราะไม่ใคร่จะมีผู้ทำบุญ ผู้ที่จะทำบุญกุศลแลจะเหลียวแลดูพระ จะนับถือพระเป็นที่พึ่งเป็นที่ระลึกนั้น ก็เมื่อยามทุกข์ภัยบังเกิดขึ้น หรือเมื่อแก่ทุพพลจวนจะใกล้ตาย หรือเมื่อยามเจ็บหนักจวนจะแตกดับ หรือเมื่อยามความตายใกล้จะถึงเข้า ยามปกติเป็นสุขสบายอยู่แล้วผู้ที่จะเหลียวหน้ามาดูพระแลจะนับถือพระเป็นที่พึ่ง แลคิดจะทำบุญทำกุศลนั้นน้อยนัก ร้อยส่วนจะได้สักส่วน ๑ ก็ทั้งยาก เว้นเสียแต่ผู้ที่ไม่ประมาทมีสติคิดอยู่เสมอว่า เราจะต้องทุกข์ต้องภัย จะต้องแก่ จะต้องเจ็บ จะต้องตาย สิ่งอื่นไม่เป็นของเรา บุญบาปนี้แหละเป็นของเรา อันนี้ก็เป็นธรรมดาของสัตว์ผู้เป็นปุถุชน มีสันดานหนาไปด้วยกิเลส ใช่แต่จะมีแต่ในกาลเดี๋ยวนี้ก็หาไม่ ถึงในกาลที่ล่วงไปแล้วก็เป็นอย่างนี้ กาลต่อไปข้างหน้าก็จักเป็นอย่างนี้เหมือนกัน แต่ถึงกระนั้นเล่า เมื่อยามทุกข์ภัยมาถึงบังเกิดขึ้น หรือเมื่อความชรา พยาธิ มรณะ ครอบงำ แลเหลียวดูพระ เห็นคุณพระนับถือพระ กระทำบุญกุศลก็เป็นการดี ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท แลชื่อว่าเป็นผู้รักษาไว้ซึ่งตน ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท แลรักษาไว้ซึ่งตนนั้น ก็แต่บุคคลที่รักษาตน ผู้ที่ไม่รักษาตนแล้ว ย่อมเป็นผู้ประมาทหารักษาซึ่งตนไม่ ผู้ที่รักษาตนนั้น ย่อมรักษาไว้ซึ่งตนในวัยทั้ง ๓ เมื่อรักษาตนในวัยทั้ง ๓ ไม่ได้ ก็ย่อมจะรักษาซึ่งตนในวัยอันใดอันหนึ่ง เมื่อเราท่านทั้งปวงมีความรักตน อยากให้ตนได้ความสุข ไม่อยากให้ทุกข์มาถึงแก่ตนแล้ว จำจะต้องเป็นผู้ไม่ประมาทรักษาไว้ซึ่งตน เมื่อจะรักษาไว้ซึ่งตนนั้น พึงปฏิบัติตามนัยพุทธภาษิตตรัสเทศนาที่ว่า :- <O:p></O:p>
    อตฺตานญฺเจ ยํ ชญฺญา รกฺเขยฺย นํ สุรกฺขิตํ<O:p></O:p>
    ติณฺณมญฺญญตรํ ยามํ ปฏิชคฺเคยฺย ปณฺฑิโต<O:p></O:p>
    อธิบายความในพระคาถาว่า ถ้าว่าบุคคลพึงรู้ซึ่งตนว่าเป็นที่รักไซร้ บุคคลผู้นั้นพึงรักษาซึ่งตนนั้นให้เป็นตน อันตนรักษาไว้ดี คือว่าผู้นั้นจะเป็นผุ้รักษาตนดีด้วยอุบายอันใด ก็พึงรักษาตนนั้นด้วยอุบายนั้น พระอรรถกถาจารย์สังวรรณนาว่า ถ้าบุคคลผู้เป็นคฤหัสถ์คิดว่า เราจะรักษาตน เข้าไปยังห้องปิดประตูลั่นกลอนแลถึงพร้อมด้วยอารักขา แม้จะอยู่พื้นเบื้องบนปราสาทไซร้ ก็ไม่ชื่อว่ารักษาซึ่งตน ฝ่ายบรรพชิตแม้จะอยู่ในถ้ำที่มีบานประตูปิดเปิด ปิดเสียอยู่ในที่นั้น ด้วยคิดว่าเราจะรักษาซึ่งตนดังนี้ ก็ไม่ชื่อว่ารักษาตนซึ่งตน ผู้ที่เป็นคฤหัสถ์ เมื่อทำบุญกุศล มีบำเพ็ญทานรักษาศีลเป็นต้น ตามกำลัง ก็หรือบรรพชิต เมื่อถึงซึ่งอันขวนขวายในวัตรปฏิบัติแลปริยัติการเล่าเรียน แลกระทำไว้ในใจซึ่งกรรมฐานภาวนาย่อมชื่อว่ารักษาซึ่งตน เมื่อไม่อาจปฏิบัติอย่างนี้ได้ในวัยทั้ง ๓ ผู้เป็นบัณฑิตพึงปฏิบัติชำระซึ่งตนในวันอันใดอันหนึ่ง ถ้าหากว่า บุคคลที่เป็นคฤหัสถ์ครอบครองเรือนในปฐมวัย ไม่อาจกระทำกุศล เหตุตนยังขวนขวายในกิจการเพื่อจะยังทรัพย์สินให้เกิดขึ้นอยู่ ในมัชฌิมวัยพึงเป็นผู้ไม่ประมาท กระทำบุญกุศล ถ้าในมัชฌิมวัยยังเลี้ยงบุตรภรรยา ไม่อาจกระทำบุญกุศลได้ไซร้ ในปัจฉิมวัยพึงรีบกระทำกุศลเสียทีเดียว แม้ปฏิบัติได้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้รักษาซึ่งตน เมื่อไม่กระทำอย่างนี้ ไม่ชื่อว่ารักตน ชื่อว่ากระทำตนให้มีอบายเป็นที่ไปในเบื้องหน้า ฝ่ายบรรพชิต ถ้าในปฐมวัยมัวเล่าเรียนกระทำการท่องบ่นจำทรงบอกกล่าว แลกระทำวัตรปฏิบัติแกพระอุปัชฌาย์อาจารย์เป็นต้น ถึงซึ่งความประมาทอยู่ไซร้ ในมัชฌิมวัยพึงเป็นผู้ไม่ประมาท เจริญสมณธรรม ถ้าในมัชฌิมวัยยังใคร่ถามเนื้อความแลข้อวินิจฉัยเหตุอันใช่เหตุแห่งปริยัติที่ตนเล่าเรียนในปฐมวัย ถึงซึ่งความประมาทอยู่ ในปัจฉิมวัย พึงเป็นผู้ไม่ประมาทเจริญสมณธรรม เมื่อปฏิบัติอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้รักซึ่งตน เมื่อไม่ปฏิบัติอย่างนี้ ไม่ชื่อว่ารักตน ย่อมจะทำตนให้เดือดร้อนเนือง ๆ ในภายหลัง โดยนัยพุทธภาษิตและอรรถกถาจารย์แสดงไว้ฉะนี้ เหตุดังนั้น สาธุชนสัปบุรุษพึงปฏิบัติให้ชื่อว่าเป็นอันรักตน ประกอบการกุศล แลศึกษาให้รู้จักชาติ ชรา มรณะ โดยนัยที่วิสัชนามาฉะนี้ ๚

    ผู้โพส **wan**
    Senior Member
    [​IMG]
    [​IMG]

    Joined: 20 พ.ย. 2006
    อยู่จังหวัด: Thailand
    สถานะ: [​IMG]
    โพสต์: 4666
    <O:p></O:p>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/004962.htm


    <TABLE width="100%" bgColor=#bbddff border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>
    อุบายแยบคายจากความตาย


    สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)




    ********************************



    พึงพิจารณาความตายให้เกิดธรรมสังเวช



    โยคาพจรกุลบุตรผู้เจริญมรณานุสตินั้น พึงไปยังที่สงัด แล้วกระทำบริกรรมนึกไปว่า ความตายจะมีแก่เรา เราจักต้องตายดังนี้ หรือนึกว่าชีวิตของเราขาดไปดังนี้ หรือนึกว่ามีความตายเป็นธรรมดาล่วงความตายไปไม่ได้ ดังนี้ก็ได้



    เมื่อทำบริกรรมนั้น พึงทำในใจนึกด้วยอุบาย อย่าได้ทำในใจนึกด้วยหาอุบายมิได้ ซึ่งว่าทำในใจนึกด้วยอุบายนั้น คือให้เป็นผู้มีสติแลปัญญา กำหนดพิจารณาให้เกิดความสังเวชว่า ความตายนี้จักมีเป็นแน่ ชีวิตที่เลี้ยงร่างกายจิตใจให้สดใสเป็นอยู่นี้ จัดขาดไปเป็นแท้ พึงเป็นผู้มีสติแลปัญญา กำหนดพิจารณาให้เกิดความสังเวช ฉะนี้อย่าให้บริกรรมบ่นเพ้อพึมพำไปแต่ปาก ถ้าบริกรรมแลบ่นเพ้อพึมพำไป ไม่ได้ตั้งสติพิจาณาด้วยปัญญา ธรรมสังเวชในความตายนั้นก็ไม่เกิดขึ้น ดังนี้ชื่อว่าทำในใจนึกด้วยหาอุบายมิได้



    แท้จริงเมื่อโยคาพจรบุตรมาทำในใจนึกด้วยหาอุบายมิได้ดังนี้ ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของคนที่รักใคร่ มีบิดามารดาเป็นต้น ก็มักจะโศกเศร้าเสียใจ ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของคนที่ไม่รักไม่ชัง ก็มักจะเพิกเฉยเสีย มิได้มีความสังเวชดังสัปเหร่อเห็นซากศพ ไม่มีความสังเวชฉะนั้น ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของคนที่มีเวรอันเป็นข้าศึกกัน ก็จะชื่นชมโสมนัส ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของตน ก็มักจะเกิดความสะดุ้งหวาดเสียวตกใจกลัว ดังคนขลาดเห็นนายเพชฌฆาตถือดาบเงื้อดเงื้ออยู่ และมีความสะดุ้งตกใจกลัว ฉะนั้นความทำในจิตโดยไม่แยบคายด้วยอุบายหามิได้ ย่อมประกอบไปด้วยโทษต่าง ๆ ดังพรรณามาฉะนี้



    องค์ ๓ แห่งการพิจารณาโดยแยบคาย



    เพราะเหตุนั้น เมื่อโยคาพจรกุลบุตร ผู้เจริญมรณานุสติกรรมฐานฉะนี้ พึงระลึกถึงความตายโดยแยบคายด้วยอุบายที่ชอบทำให้ประกอบพร้อมด้วยองค์สาม คือ สติระลึกถึงความตาย ๑ ญาณรู้ว่าความตายจักมีเป็นแน่ ตัวจะต้องตายเป็นแท้ ๑ เกิดสังเวชสลดใจ ๑ เมื่อระลึกถึงความตายประกอบพร้อมด้วยองค์สามนี้แล้ว ก็จะข่มนิวรณ์ธรรมทั้งสิ้นเสียได้ จิตใจก็จะตั้งมั่นเป็นขณิกสมาธิแลอุปจารสมาธิโดยลำดับ ๆ สำเร็จเป็นกามาพจรกุศลบุณราศีฯ



    อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปรากฏชัด



    โยคาพจรกุลบุตรผู้ระลึกถึงความตายเนืองๆ อยู่อย่างนั้น ก็จะเป็นผู้ไม่ประมาทไม่มัวเมาสิ้นกาลทั้งสิ้น จะไม่ยินดียิ่งในภพ ตัดความยินดียิ่งในภพทั้งสิ้นเสียได้ จะไม่รักใคร่ในชีวิตละความรักใคร่ในชีวิตเสียได้ จะเว้นเสียซึ่งกรรมที่เป็นบาป จะเป็นผู้มักน้อยไม่สะสมเก็บข้าวของไว้มาก จะเป็นผู้ไม่มีมลทินคือตระหนี่ ปราศจากสันดานมิได้หวงเสียดายในเครื่องบริขารทั้งสิ้น จะถึงความคุ้นเคยใน อนิจจสัญญาความหมายรู้ว่าสังขารคือ รูปธรรม นามธรรม ร่างกายจิตใจไม่เที่ยง แลทุกขสัญญาความหมายรู้ว่าสังขารเป็นทุกข์ แลอนัตตาสัญญา ความหมายรู้ว่าธรรมทั้งสิ้น เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัว ไม่ใช่ตน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั้น ก็จะไปตั้งปรากฏอยู่แจ้งชัดในสันดาน



    คุณานิสงส์ของมรณานุสติภาวนา



    อนึ่ง ความตายมาถึง ก็จะไม่กลัวตาย เป็นผู้มีสติตายมิได้เป็นคนหลงตาย คนที่ไม่ได้เจริญมรณสตินั้น เมื่อใกล้จะตายมักจะสะดุ้งตกใจกลัวตายเป็นกำลัง ดังคนอันสัตว์ร้ายครอบงำไว้จะกินเป็นภักษาหาร มิฉะนั้นดังคนอันอยู่ในเงื้อมมือของโจร หรือเงื้อมมือของเพชฌฆาต มีความสะดุ้งตกใจกลัว ฉะนั้น คุณคือเจริญมรณสตินี้เป็นปัจจัยที่จะให้ได้สำเร็จแก่พระนิพพาน ผู้ที่เจริญมรณสติกรรมฐานนี้ถ้ายังมิสำเร็จแก่พระนิพพานในชาตินี้ เมื่อสิ้นชีพทำลายขันธ์ลง ก็จะมีสุคติภพไปเบื้องหน้า มรณานุสติภาวนาย่อมประกอบไปด้วยคุณานิสงส์เป็นอันมากฉะนี้ เพราะฉะนั้นควรที่ผู้ปรีชาจะพึงมีอุตสาหะเจริญมรณานุสติกรรมฐานนี้สิ้นกาลนานเนืองๆ เทอญฯ



    วินิจฉัยในมรณานุสติ ยุติแต่เท่านี้ฯ




    การเจริญกายคตาสติกรรมฐาน




    จะวินิจฉัยใน กายคตาสติ ต่อไปนี้ โยคาพจรกุลบุตรผู้เจริญกายคตาสติกรรมฐานนั้น พึงตั้งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกายเป็นที่ประชุมแห่งส่วนน่าเกลียดข้างบนตั้งแต่พื้นเท้าขึ้นมาข้างล่างตั้งแต่ปลายผมลงไป มีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ ให้เห็นว่าเต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ถ้าจะนับเป็นส่วนๆ สามสิบเอ็ดส่วนคือ



    เกศา ผมทั้งหลาย ส่วน ๑


    โลมา ขนทั้งหลาย ส่วน ๑


    นขา เล็บทั้งหลาย ส่วน ๑


    ทันตา ฟัน ทั้งหลาย ส่วน ๑


    ตโจ หนัง ส่วน ๑


    มังสัง เนื้อ ส่วนหนึ่ง


    นหารู เส้นเอ็นทั้งหลาย ส่วน ๑


    อฏฐี กระดูกทั้งหลาย ส่วน ๑


    อัฏฐิมิญชัง เยื่อในกระดูกหรือขมอง ส่วน ๑


    วักกัง ม้าม ส่วน ๑


    หทยัง หัวใจ ส่วน ๑


    ยกนัง ตับ ส่วน ๑


    กิโลมกัง พังผืด ส่วน ๑


    ปิหกัง ไต ส่วน ๑


    ปัปผาสัง ปอด ส่วน ๑


    อันตัง ไส้ใหญ๋ ส่วน ๑


    อันตคุณัง ไส้น้อยที่รัดเหนี่ยวไส้ใหญ่ไว้ ส่วน ๑


    อทริยัง อาหารใหม่ ส่วน ๑


    กรีสัง อาหารเก่า ส่วน ๑


    ปิตตัง น้ำดี ส่วน ๑


    เสมหัง น้ำเศลษม์ ส่วน ๑


    ปุพฏพ น้ำเหลือง ส่วน ๑


    โลหิตัง น้ำเลือด ส่วน ๑


    เสโท น้ำเหงื่อ ส่วน ๑


    เมโท น้ำมันข้น ส่วน ๑


    อัสสุ น้ำตา ส่วน ๑


    วสา น้ำมันเหลว ส่วน ๑


    เขโฬ น้ำลาย ส่วน ๑


    สิงฆานิกา น้ำมูก ส่วน ๑


    สลสิกา น้ำไขข้อ ส่วน ๑


    มุตตัง น้ำเยี่ยว ส่วน ๑


    รวมเป็น ๓๑ ส่วนด้วยกัน



    ผมนั้นงอกขึ้นตามหนังศีรษะทั้งสิ้น ฯ ขนนั้นงอกขึ้นตามขุมขนเว้นแต่ฝ่ามือฝ่าเท้า ฯ เล็บนั้นงอกขึ้นตามปลายมือปลายเท้า สีขาวคล้ายเกล็ดปลา ฯ ฟันนั้นงอกขึ้นตามกระดูกคางข้างบน คางข้างล่าง สำหรับบดเคี้ยวอาหาร ฯ หนังนั้นหุ้มอยู่ทั่วกาย ฯ เนื้อนั้นอยู่ถัดหนังเข้าไปเป็นชั้น ๆ ฯ พอกกระดูกไว้ดังดินทาฝาสีแดง ๆ เส้นเอ็นนั้นสีขาวใหญ่บ้างเล็กบ้างเกี่ยวประสานผูกพันกระดูกไว้ ดุจเถาวัลย์ผูกพันรัดฟืนไว้มิให้กระจัดกระจายฉะนั้น ฯ



    กระดูกนั้น เป็นร่างโครงค้ำแข็งอยู่ในกายประมาณสามร้อยท่อน มีสีขาวฯ เยื่อในกระดูกมีสีขาวเหมือนกะยอดหวายที่บุคคลเผาก่อนแล้วใส่ไว้ในกระบอกไม้ ฉะนั้น เยื่อในขมองศีรษะนั้นเป็นยวงขาวเหมือนนุ่นคลุกกระทิ ฯ ม้ามนั้นเป็นก้อนเนื้อสองก้อนมีขั้วอันเดียวกัน ดังผลมะม่วงสองผลมีขั้วอันเดียวกัน ฉะนั้น มีสีแดงคล้ำ ๆ ฯ หัวใจนั้นมีสีแดงสัณฐานเหมือนกระดอกบัวตูมตั้งอยู่ท่ามกลางอกฯ ตับนั้นเป็นแผ่นเนื้อสองแผ่นมีสีแดงคล้ำ ตั้งอยู่ระหว่างอกข้างขวาเคียงเนื้อหัวใจ ถ้าคนมีปัญญามาก ปลายตับนั้นเป็นแฉกๆ สองแฉกบ้าง สามแฉกบ้างฯ พังผืดนั้นมีสีขาวเหนี่ยวหนังกับเนื้อติดกันไว้บ้าง เหนี่ยวเนื้อกับเอ็นติดกันไว้บ้าง เหนี่ยวกระดูกกับเนื้อติดกันไว้บ้าง ฯ



    ไตนั้นเป็นชิ้นเนื้อสีดำเหมือนลิ้นโคดำ อยู่ข้างซ้ายโครงข้างซ้าย ฯ ปอดนั้นเป็นแผ่นเนื้อใหญ่สีแดงคล้ำ ตั้งอยู่ท่ามกลางอกปกคลุมม้ามแลหัวใจและตับอยู่ฯ ให้พึงเข้าใจว่าหัวใจอยู่ท่ามกลางอก ม้ามอยู่ข้างซ้ายหัวใจ ตับอยู่ข้างขวาหัวใจ ปอดปกคลุมปิดม้ามหัวใจแลตับอยู่ทั้งหมด ไส้ใหญ่อยู่ใต้ม้าม ไส้น้อยอยู่ใต้หัวใจ ตับไตอยู่บนไส้ฯ ก็ไส้ใหญ่นั้นปลายข้างหนึ่งอยู่คอหอย ปลายข้างหนึ่งอยู่ทวาร ขดอยู่ ๒๑ ขด ทบไปทบมาแช่ชุ่มอยู่ด้วยโลหิตในท้องดังปลาไหลเผือกอันบุคคลตัดศีรษแล้ว แลแช่ไว้ในรางเลือดฉะนั้นฯ ไส้น้อยนั้นรัดไส้ใหญ่ที่ทบไปทบมาอยู่สีขาวๆ อาหารใหม่นั้น คือสิ่งของที่บริโภคกลืนลงไปถึงท้องแล้วแลอาเจียนออกมาเสียเช่นนั้นฯ อาหารเก่านั้นคือ ของที่บริโภคค้างอยู่ในท้อง กลายเป็นคูถ เช่นอุจจาระที่ถ่ายออกมาฉะนั้นฯ น้ำดีนั้นสีเขียวคล้ำๆ ที่เป็นฝักติดอยู่ใต้ตับ ที่ไม่เป็นฝักซึมซาบอยู่ทั่วทั้งกายเว้นไว้แต่ผม ขน เล็บ ฟัน กระดูแลหนังที่เป็นแผ่นแข็งกระด้างเสียฯ น้ำเศลษม์นั้นสีขาวคล้ำๆ เป็นเมือกๆ ขังอยู่ในไส้ใหญ่ ปกคลุมอยู่ข้างบน กำบังกลิ่นปฏิกูลไว้มิให้ฟุ้งขึ้นมาได้



    ขณะเมื่อบุคคลกินอาหารกลืนลงไป น้ำเศลษม์นั้นก็แหวกออกเป็นช่อง ครั้นอาหารจมลงไปแล้วก็กลับปิดเข้าดังเก่าฯ น้ำเหลืองนั้นตั้งอยู่ในเสรีระที่มีบาดแผลแลชอกช้ำเป็นต้นฯ น้ำเลือดนั้นสองอย่าง เลือดขันนั้นมีสีสุกดังน้ำครั่งที่ข้นๆ ตั้งอยู่ท้องท่วมม้ามหัวใจตับปอดไหลซึมซาบไปทีละน้อยๆ ชุ่มไปในม้าม และเนื้อห้วใจ ตับปอดส่วนหนึ่ง เลือดเหลวใสมีสีแดงดังน้ำครั่งจางๆ ซึมซาบอยู่ทั่วทั้งกาย เว้นไว้แต่หนังอันแห้งกระด้าง แลผมขนเล็บฟันกระดูกเสียฯ น้ำเหงื่อนั้นสีดังน้ำมั้นงาอันใส ไหลออกจากขุมผมแลขน ในกาลเมื่อกายร้อนด้วยเพลิงแลแดด หรือกินเผ็ดแลร้อน หรือธาตุอันใดอันหนึ่งวิการฯ



    มันข้นนั้นสีดังขมิ้นติดอยู่กับหนังต่อเนื้อฯ น้ำตานั้นสีดังน้ำมันงาอันใสตั้งอยู่ในขุมตาทั้งสอง ย่อมไหลออกมาในกาลเมื่อร้องไห้หรือหัวเราะหนักเป็นต้นฯ น้ำมันเหลวนั้นสีดังน้ำมันมะพร้าวที่เป็นไข ตั้งอยู่ตามฝ่ามือฝ่าเท้าหลังมือ หลังเท้า แลภายในช่องหูแลหน้าผาก แลจะงอยบ่าโดยมาก เมื่อต้องร้อนด้วยเพลิงหรือแดดเป็นต้นจึงไหลออกมาฯ น้ำลายนั้นอยู่ในปาก สีขาวสัณฐานดังฟองน้ำไหลซึมอยู่ในกระพุ้งแก้มทั้งสอง ช่องที่เกิดน้ำลายนั้นอยู่ใต้ลิ้นฯ น้ำมูกนั้นในขมองศีรษะเป็นยวงไหลออกทางนาสิกเหลวบ้างข้นบ้างฯ น้ำไขข้อนั้นติดอยู่ตามข้อกระดูกที่ต่อกันทั้งสิ้น น้ำมูตรนั้น เกรอะออกจากอาหารใหม่แลอาหารเก่า ขังอยู่ในกระเพาะที่อยู่ของปัสสาวะ



    พิจารณากายของตนให้เห็นเป็นปฏิกูล



    กายซึ่งแยกออกเป็นอาการ ๓๑ ส่วนนี้ ตามพระบาลีพระพุทธเจ้าตรัสเทศนา แต่ในคัมภีร์อรรถกถา ท่านแยกเยื่อในขมองศีรษะออกส่วนหนึ่งต่างหากเรียกว่า มัตถเก มัตถลุงคัง จึงเป็นอาการ ๓๒ อาการ ๓๒ นี้ ย่อมปรากฏแก่ชาวโลกโดยมาก ชาวโลกย่อมร้องเรียกว่าอาการ ๓๒ ดังนี้ อาการ ๓๑ ตามในพระบาลี อาการ ๓๒ ตามในพระอรรถกถานี้ให้โยคาพจรบุตรผู้เจริญกายคตาสติ พึงพิจารณาให้เห็นเป็นปฏิกูลโดยสีแลสัณฐานแลกลิ่นแลที่เกิดโดยอนุโลมปฏิโลม ถอยหน้าถอยหลังกลับไปกลับมา ให้เห็นเป็นของปฏิกูลลงจนได้ ถ้าไม่เห็นเป็นของปฏิกูลลงได้ ยังกำหนัดรักใคร่ยินดีอยู่ในกายไซร้ ก็พึงถามไล่ไปในใจว่า สิ่งไหนที่เป็นของดีของงามในกายนี้จึงมากำหนดรักใคร่ยินดีเอาเป็นนักหนา กายนี้เป็นของปฏิกูลพึงเกลียดทั้งสิ้นไม่ใช่หรือ



    แล้วก็ให้พึงกำหนดไล่ไปในใจอีกว่า นั่นก็ผม นั่นก็ขน นั่นก็เล็บ นั่นก็ฟัน นั่นก็หนัง จนถึงมูตรเป็นที่สุด แล้วจึงกลับถามไปในใจอีกว่าส่วนไหนเล่าที่เป็นไปของดี ของงาม ถ้าไล่ไปในใจดังพรรณามาฉะนี้ ก็จะเห็นลงว่าเป็นของปฏิกูลพึงเกลียดได้ ถ้าไม่เห็นเป็นของปฏิกูลไซร้ ส่วนไหนที่ปรากฏเป็นของปฏิกูลชัด คือ มูตรคูถหรือปุพโลหิต เสมหะเหงื่อไคล ก็พึงนึกแต่ส่วนนั้นร่ำไปจนปฏิกูลผุดขึ้น ครั้นเห็นส่วนใดส่วนหนึ่งเป็นปฏิกูลแล้ว ส่วนอื่นๆ ก็จะเห็นเป็นปฏิกูลไปเหมือนกัน ดังต้นผักต้นหญ้าที่งอกขึ้นขบคูถ คนทั้งหลายย่อมเกลียดฉันใด ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ก็อาศัยมูตรคูถปุพโพโลหิตชุ่มอยู่ เป็นของปฏิกูลพึงเกลียดฉันนั้น



    อนึ่ง ข้าวของผ้านุ่งผ้าห่มเป็นต้นซึ่งเป็นของบริสุทธิ์สะอาดดี ถ้าเปื้อนมูตรคูถน้ำเลือดน้ำหนองแล้ว คนผู้ที่สะอาดทั้งหลายก็เกลียดแลกล่าวติเตียนว่า ผู้นี้ปฏิกูลนัก เปื้อนมูตรคูถน้ำเลือด น้ำหนองไม่อยากจะจับต้องแลนุ่งห่มฉันใด ผม ขน เล็บ ฟัน หนังนี้ ถึงบุคคลจะสำคัญว่าดีว่างาม ก็ติดเปื้อนอยู่ด้วยมูตรคูถ น้ำเหลือง น้ำหนองเครื่องปฏิกูลก็ชื่อว่าเป็นของปฏิกูล ไม่ควรกำหนัดยินดีฉันนั้น อนึ่ง หม้อข้างในใส่มูตรคูถแลน้ำเลือดน้ำหนองแลของเน่าต่างๆ ข้างนอกแม้จะวาดเขียนตกแต่งให้งดงามสักเท่าใดๆ ก็ไม่พ้นปฏิกูล เพราะมูตรคูถแลน้ำเลือดน้ำหนองแลของเน่าเหล่านั้น ซึมออกมาพาให้เห็นเป็นปฏิกูลฉันใด กายนี้เล่าถึงจะขัดสีตกแต่งประดับประดาให้วิจิตรงดงามอย่างไร ก็เหมือนกับหม้อที่วิจิตรงดงามข้างนอก ข้างในเต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีมูตรคูถเป็นต้น



    อานิสงส์แห่งการเจริญกายคตาสติกรรมฐาน



    ฉะนั้น เมื่อพิจารณากายของตนเห็นเป็นปฏิกูลแล้ว ก็พึงพิจารณากายของผู้อื่นให้เห็นเป็นปฏิกูลเหมือนกัน แล้วรวมกายตนกายผู้อื่นเป็นอันเดียวกัน เพ่งพิจารณานึกไปโดยนัยดังกล่าวมานี้ เมื่อโยคาพจรกุลบุตรปฏิบัติอยู่ดังนี้ จิตใจก็สงบระงับจากนิวรณ์ธรรม ตั้งมั่นเป็นขณิกสมาธิ แลอุปจารสมาธิ แลอัปปนาสมาธิเพียงปฐมฌาน โดยลำดับๆ สำเร็จเป็นกามาพจรกุศลแลรูปาพจรกุศล



    อนึ่ง ถ้าโยคาพจรกุลบุตร อาศัยซึ่งอารมณ์ประเภทคือสีต่างๆ มีสีเขียว เป็นต้น ซึ่งปรากฏในอาการ ๓๑ แลอาการ ๓๒ นั้น พิจารณาเป็นกสิณบริกรรมไป ก็จะได้สำเร็จอัปปนาสมาธิตลอดขึ้นถึงจตุตถฌานปัญจมฌาณ แลจะเป็นอุปนิสัยให้ตรัสรู้ ตลอดถึงฉฬาญิญาสมาบัติแลมรรคผล เหตุนั้น ควรที่กุลบุตรผู้มีศรัทธา อย่าได้ประมาท พึงอุตส่าห์เจริญกายคตาสติกรรมฐานนี้ อันประกอบด้วยอานิสงส์เป็นอันมากดังพรรณามาฉะนี้ เทอญฯ




    คัดลอกจาก: วาระแห่งกรรม


    วงจรชีวิตที่ทุกคนจักต้องรู้จัก


    _/|\_ _/|\_ _/|\_ ด้วยจิตกราบบูชา


    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>จากคุณ : mayrin [ 17 เม.ย. 2545 / 16:44:16 น. ]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.jamorn.com/Buddha/WatSomanasMS.htm
    [​IMG] ประวัติวัดโสมนัสวิหาร
    [​IMG] เจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหาร
    [​IMG] หนังสือธรรมะ
    [​IMG] บทความในหนังสือ นวกานุสรณ์ โดย พระจามร อภิสันติโก


    สมเด็จพระวันรัต(ทับ พุทธสิริ)


    สมเด็จพระวันรัต(ทับ พุทธสิริ)วัดโสมนัสวิหารเป็น สมเด็จพระวันรัตองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ท่านเป็นมหาเถระองค์ หนึ่งในจำนวนพระมหาเถระ 10 องค์ผู้เป็นต้นวงศ์ธรรมยุติกนิกายเป็นเจ้าคณะ ใหญ่ฝ่ายใต้เป็นพระมหาเถระที่มีความ รู้แตก ฉานในพระไตรปิฎก เป็นนักกรรมฐานที่ชอบธุดงค์ เป็นผู้ที่มีปฏิปทามุ่งพระนิพานและเป็นนักปฏิบัติที่เคร่งครัด ต่อพระธรรม วินัยมากท่านมีอาจารสมบัติที่ประทับใจ น่าเลื่อมใสและเป็นสมเด็จที่ทรงเกียรติคุณควรแก่ การเคารพบูชามากองค์หนึ่งของ ประเทศไทย
    ชาติภูมิ สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัสวิหาร มีนามเดิมว่า ทับ มีฉายาว่า พุทฺธสิริ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2349 ในรัชกาล ที่1 ณ. หมู่บ้านสกัดน้ำมันปากคลองผดุงกรุงเกษม ฝั่งตะวันออก ใกล้วัดเทวราชกุญชรกรุงเทพมหานคร โยมบิดาชื่อ อ่อน ผู้คนนิยมเรียกว่าท่านอาจารย์อ่อน โยมมารดาชื่อคง ท่านเป็นบุตรคนโตในตระกูล นี้ กล่าวกันว่าครอบครัวของท่านเป็น ชาวกรุงเก่า แต่เมื่อกรุงศรีอยุธยา เสียแก่พม่าเมื่อพ.ศ. 2310 ก็ได้อพยพเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ
    การศึกษาเมื่อปฐมวัย ในรัชกาลที่ 2 เมื่อท่านมีอายุ 9 ขวบ ได้เข้าเรียนอักษรสมัยอยู่ที่วัดภคินีนาถแล้วต่อมาได้เข้าเรียนบาลีโดย เรียนสูตรมูลกัจจายน์ อยู่ที่วัดมหาธาตุ คือได้เรียนบาลีตั้งแต่สมัยที่ยังไม่ได้บวช ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงดำรงพระยศเป็นพระเจ้าลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงพอพระราชหฤทัยในตัวท่านจึงทรงให้อุปการะใน การเล่า เรียนศึกษาพระปริยัติธรรม ของท่าน ทรงจัดสอบความรู้ผู้ที่เรียนสูตรเรียนมูลที่วังเนื่องๆ ท่านได้ไปสอบถวาย โปรดทรง ประทานรางวัล จึงได้ทรงเมตตาในตัวท่านแต่นั้นมา
    การบรรพชาอุปสมบท
    ท่านได้บรรพชาเมื่ออายุเท่าไร ยังไม่ปรากฎหลักฐาน ทราบแต่ว่าท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดสังเวชวิศยาราม บางลำภู ครั้นได้ บรรพชาเป็นสามเณรแล้ว รัชกาลที่3ในสมัยที่ยังดำรง พระยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ทรง โปรดให้ท่านไปอยู่ ที่วัดราชโอรส อันเป็นวัดที่พระองค์ทรงสร้างขึ้น ครั้นเมื่ออายุครบอุปสมบทแล้ว คุณโยมของท่านจึงให้ท่านมาอุปสมบท ที่วัด เทวราชกุญชรอันเป็นวัดที่ตั้งอยู่ใกล้ บ้านเดิม ท่านจึงได้อุปสมบทเมื่อปีจอ พ.ศ. 2369 ที่วัดเทวราชกุญชร โดยมีพระ ธรรม วิโรจน์ (เรือง) วัดราชาธิวาส เป็นอุปัชฌาย์ พระพุทธโฆษาจารย (ขุน) วัดโมกฬีโลกยาราม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระวินัย มุนี(คง) วัดอรุณราชวราราม เป็นพระอนุกรรมวาจาจารย์ เมื่อบวชแล้วก็ได้อยู่ในสำนัก พระธรรมวิโรจน์ที่วัดราชาธิวาส ตั้ง แต่นั้นมาท่านได้ไปอยู่และศึกษาเล่า เรียนในสำนักอาจารย์ นพรัตน์ ที่วัดไทรทอง (วัดเบญจบพิตร) บ้าง ที่พระมหาเกื้อวัดชนะ สงครามบ้างเนืองๆ
    สอบได้เปรียญ 9 ประโยค
    ลุถึงปีวอก พ.ศ. 2379 เมื่อท่านมีพรรษา 11 อายุ 31 ปี ยังเป็นพระอันดับอยู่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง อาราธนาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะที่ทรงผนวช) เสด็จไปครอง วัดบวรนิเวศวิหารและในสมัย นั้นพระสงฆ์ วัดราชาธิวาสมีทั้งพระมหานิกายและพระธรรมยุตอยู่ด้วยกัน แต่อธิบดี สงฆ์เป็นมหานิกายจึงได้โปรดให้ท่าน อยู่ครองฝ่าย ธรรมยุตที่วัดราชาธิวาส ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จมาประทับ ที่วัดบวรนิเวศวิหารเรียบร้อยแล้ว จึงโปรดให้ท่านเข้าแปลพระปริยัติธรรมในสนามหลวง ครั้งแรกท่านแปลได้ถึง ๗ ประโยค แล้วท่านไม่แปลต่อ รอมาอีกระยะ หนึ่งจึงเข้าแปลได้อีก ๒ ประโยค รวมเป็น ๙ ประโยค หลังจากท่านเป็นเปรียญ ๙ อยู่ไม่นานพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัวก็ทรงแต่งตั้งท่านเป็นพระราชาคณะที่พระอริยมุนีและท่านคงอยู่ที่ วัดราชาธิวาสต่อมา เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ของวัด โสมนัสวิหาร หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลาผนวชและขึ้นครองราชย์ในปี ๒๓๙๔ แล้ว พระองค์ ได้ทรงสร้างวัดโสมนัสวิหารขึ้น ด้วยพระราชทรัพย์ของพระนางโสมนัสวัฒนาวดี อัครมเหสีของพระองค์ได้พระราชทานนาม ว่า วัดโสมนัสวิหาร โดยทรงวางศิลาฤกษ์พระอุโบสถ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๖ทรงสร้างเป็นพระอารามหลวงชั้น โทชั้นราชวรวิหาร ในเนื้อที่ ๓๑ ไร่เศษ ครั้งสิ่งก่อสร้างสำเร็จลงบ้าง พอเป็นที่อาศัยอยู่จำพรรษา ของภิกษุสามเณรได้บ้าง
    แล้ว ใน พ.ศ. ๒๓๙๙ พระองค์ก็ได้ทรงอาราธนาสมเด็จพระวันรัต ในสมัยที่ยังเป็นพระอริยมุนี จากวัดราชาธิวาส พร้อมด้วย คณะสงฆ์ประมาณ ๔๐ รูป โดยขบวนแห่ทางเรือ ให้มาอยู่ครองวัดโสมนัสวิหาร ท่านจึงได้เป็น เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดนี้ ท่านปกครองวัดโสมนัสวิหารมาจนกระทั่งได้ถึงมรณภาพลงเมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔

    <TABLE borderColor=#cccc99 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" align=left border=1><TBODY><TR><TD>2.พระราชพงษ์ปฏิพัทธ์


    </TD><TD>3.สมเด็จพระมหาวีรวงศ์


    </TD><TD>4.พระพุทธวิริยากร


    </TD></TR><TR><TD height=23>5.พระสิริปัญญามุนี


    </TD><TD>6.สมเด็จพระวันรัต


    </TD><TD>7.พระธรรมวิสุทธิกวี


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    .
     
  20. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    สรุปผู้ที่ร่วมทำบุญกฐินกับพระอาจารย์เชื่อม วัดเขาทองพุทธารามดังนี้
    คุณ nongnoon
    คุณ narongwate
    คุณ kwok
    คุณ ตั้งจิต
    คุณ นายสติ

    ขอโมทนาบุญกับทุกๆท่านผมจะฝากเหรียญไว้ที่คุณหนุ่มครับ รบกวนคุณหนุ่มเป็นธุระให้ด้วยนะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...