ผู้ที่คล่องตัวในอิทธิบาทสี่ ต้องปฏิบัติอย่างไร ?

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Saber, 4 มกราคม 2013.

  1. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    เก็บตกจากบ้านวิริยบารมี ต้นเดือนธันวาคม ๒๕๕๕

    สนทนากับพระครูวิลาศกาญจนธรรม (พระอาจารย์เล็ก สุธมฺมปญฺโญ)


    ถาม : ผู้ที่คล่องตัวในอิทธิบาทสี่ สามารถอธิษฐานให้อยู่ยาวถึง ๑ กัป หมายความว่าอย่างไร ?
    ตอบ : หมายความว่าจะอยู่นานเท่าไรก็ได้ แต่ไม่เกิน ๑ กัป

    ถาม : ผู้ที่คล่องตัวในอิทธิบาทสี่ ต้องปฏิบัติอย่างไร ?
    ตอบ : อย่างน้อยต้องเป็น พระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ


    เก็บตกจากบ้านวิริยบารมี ต้นเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ - หน้า 4 - กระดานสนทนาวัดท่าขนุน

    .
     
  2. GhostHead

    GhostHead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    1,010
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ด้วยความรู้อันน้อยนิด ผมสงสัยว่าผู้ที่สามารถเข้านิโรธสมาบัติ ได้ในอิริยาบถ4 คือ นั่ง นอน ยืน เดิน น่าจะเรียกได้ว่ามีความคล่องในอิทธิบาท4

    เจริญในธรรมครับ
     
  3. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    ผู้นำเป็นสัปปายะ
    พระอาจารย์สงบ มนสฺสนฺโต

    ถาม-ตอบ ปัญหาธรรม วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๔
    ณ วัดป่าสันติพุทธาราม (วัดป่าเขาแดงใหญ่) ต.หนองกวาง อ.โพธาราม จ.ราชบุรี


    หลวงพ่อ :นี่พูดถึงข้ออิทธิบาท ๔ นี่ก็หน้าที่การงาน การทำงาน อิทธิบาท ๔ นี่เป็นหลักของการประพฤติปฏิบัติ เห็นไหม จิตตะ วิมังสา มีความพอใจ มีความเพียร มีความวิริยะ มีความอุตสาหะ ผู้ใดมีอิทธิบาท ๔ จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้ แต่เป็นอิทธิบาท ๔ ของพระอรหันต์

    http://www.watpakhaodangyai.com/content_show.php?content=3023
     
  4. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    อิทธิบาทสี่ นั้น ต้องเป็น พระอรหันต์ พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า

    ถึงจะ เจริญ อิทธิบาทสี่ ได้เท่านั้น

    ถ้าเป็น พระโพธิสัตว์ อยู่ ไม่มีทางที่จะ สำเร็จ อิทธิบาทสี่ ได้

    ผู้ที่ จะสำเร็จ อิทธิบาทสี่ นั้น

    ต้องเป็น พระอรหันต์ พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า

    ถึงจะ เจริญ อิทธิบาทสี่ ได้เท่านั้นครับ




    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
    มหาวิภังค์ ภาค ๑</CENTER>




    <CENTER></CENTER>
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้
    ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ อยู่ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้
    ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าอิทธิบาท ๔ ได้แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
    กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
    ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อิทธิบาท ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญอิทธิบาท ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
    กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
    ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก





    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
    ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

    </CENTER>
    สังขาร เธอนั้น เพราะเจริญอิทธิบาท ๔ เหล่านี้ เพราะกระทำให้มากซึ่งอิทธิบาท๔ เหล่านี้ เมื่อปรารถนาก็พึงตั้งอยู่ได้ถึงกัป ๑ หรือเกินกว่ากัป ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้แลเป็นอธิบายในเรื่องอายุของภิกษุ ฯ


    </PRE>






    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
    มหาวิภังค์ ภาค ๑

    </CENTER>๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย




    </PRE>




    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
    ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค</CENTER>
    [๒๓๑] อิทธิบาท ๔ อย่าง
    ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท
    อันประกอบด้วยฉันทสมาธิปธานสังขาร
    ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท
    อันประกอบด้วยวิริยสมาธิปธานสังขาร
    ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาทอัน
    ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
    ๔. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาทอัน
    ประกอบด้วยวิมังสาสมาธิปธานสังขาร ฯ


    อิทธิบาท ๔ อย่าง คืออะไร

    ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาทอัน
    ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร



    จิตตสมาธิปธานสังขาร คืออะไร



    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒
    วิภังคปกรณ์</CENTER>
    [๕๑๒] ก็ภิกษุ เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
    เป็นอย่างไร
    ถ้าภิกษุทำจิตให้เป็นอธิบดีแล้วจึงได้สมาธิ ได้เอกัคคตาแห่งจิต สมาธินี้
    เรียกว่า จิตตสมาธิ ภิกษุนั้น ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร
    ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อป้องกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้
    เกิดขึ้น ฯลฯ เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เพื่อสร้างกุศลธรรมที่
    ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น ทำฉันทะให้เกิดขึ้น พยายาม ปรารภความเพียร ประคอง
    จิตไว้ ทำความเพียร เพื่อความดำรงอยู่ ความไม่สาบสูญ ความภิยโยยิ่ง ความ
    ไพบูลย์ ความเจริญ ความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว สภาวธรรม
    เหล่านี้ เรียกว่า ปธานสังขาร
    จิตตสมาธิและปธานสังขารดังกล่าวมานี้ ประมวลย่อ ๒ อย่างนั้น เข้า
    เป็นอันเดียวกัน ย่อมถึงซึ่งอันนับว่า จิตตสมาธิปธานสังขาร ด้วยประการฉะนี้
    [๕๑๓] ในบทเหล่านั้น จิต เป็นไฉน
    จิต มโน มานัส ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุที่สมกัน อันใด นี้เรียกว่า จิต
    สมาธิ เป็นไฉน
    ความตั้งอยู่แห่งจิต ฯลฯ สัมมาสมาธิ อันใด นี้เรียกว่า สมาธิ
    ปธานสังขาร เป็นไฉน
    การปรารภความเพียรทางใจ ฯลฯ สัมมาวายามะ อันใด นี้เรียกว่า
    ปธานสังขาร
    ภิกษุ เป็นผู้เข้าไปถึงแล้ว ฯลฯ ประกอบแล้ว ด้วยจิต สมาธิและ
    ปธานสังขาร ดังกล่าวมานี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธาน-
    *สังขาร ด้วยประการฉะนี้







    </PRE>
    ดังนั้นจะเห็นได้ว่า จิตตะ 1 ใน 4 ของ อิทธิบาท นั้น คืออะไร ตามหลักของ ศาสนาพุทธ พุทธพจน์ ของพระพุทธเจ้า


    อีก 3

    ฉันทะ

    วิริยะ

    วิมังสา

    โปรด ศึกษาเพิ่มเติมได้ใน พระไตรปิฎก


    แสดงให้เห็นว่า เมื่อคนที่ไม่เข้าใจ ธรรม อิทธิบาท ๔ ว่าคืออะไร ก็ย่อมตีความ เข้าใจผิดๆ ใช้ความหมายผิดๆ ทำให้เข้าใจผิด ตามความคิดเห็นของตัวเอง

    ทำให้เข้าใจผิดๆ จากคุณธรรม อิทธิบาท ๔





    </PRE>
     
  5. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    จากกระทู้ข้างบน ผม copy มาจากกระทู้เก่านะ อาจตอบไม่ตรงคำถาม นะครับ

    เพราะ copy มาจากกระทู้เก่า อ่านแล้วอาจจะสงสัย ว่ามันเกี่ยวอะไร กับคำถาม


    จะเห็นได้ว่า พระพุทธเจ้า ปรับโทษหนัก ขาดจากการเป็นพระภิกษุ ปราชิก

    ถ้าพระรูปไหน กล่าวอ้าง อวดตัวเองว่า เพราะเจริญ อิทธิบาท ๔ หรือ เพราะเข้า อิทธิบาท ๔ นี่ ปราชิก สถานเดียว ครับ



    ต้องอาบัติปาราชิก

    ตามพระวินัย ที่พระพุทธเจ้า บัญญัติไว้ใน พระไตรปิฏก



    อิทธิบาท ๔ จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้ นี่ ในวงกรรมฐาน หลวงปู่มั่น ครูบาอาจารย์ ลองไปเรียน สอบถามได้ครับ

    ผู้ที่ เจริญ หรือ เข้าอิทธิบาท ๔ จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้ คือ พระอรหันต์ เท่านั้นครับ

    ในวงการพระวงกรรมฐานนี่ จะรู้กันหมด ว่าคือ พระอรหันต์ เท่านั้น


    ทีนี้ ถ้าพวกคนข้างนอกวงนอก หรือ พุทธ ตามทะเบียนบ้าน ถ้าไม่ศึกษาให้ดี ก็จะเข้าใจผิดไปได้ แค่อ่านตามตำรา ตามเวปต่างๆ ที่บอก ผิดๆ ก็จะเข้าใจผิดๆ ตกทอดไปเรื่อยๆ. คิดไปเองว่า ใครก็ได้ อิทธิบาท ๔ จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้



    พวกนี้ต้องลองให้ไปพูดต่อหน้า ครูบาอาจารย์ รับรอง .......


    ส่วนตัวผม ผมได้ยินเต็มหู 2 ข้างเลย จาก หลวงพ่อสงบ ตอนเรียนถาม หลวงพ่อสงบ

    หลวงพ่อสงบ พูดชัดเลย ว่า ต้องเป็นพระอรหันต์ ถึงจะ เจริญ อิทธิบาท ๔ เท่านั้นครับ

    ถ้าไม่เชื่อ ก็ลองไปสอบถาม หลวงพ่อสงบ ได้โดยตรง ครับ


    ส่วน หัวข้อกระทู้ ที่นำมาโพส นี่ หลวงพี่เล็ก ตามหัวกระทู้ครับ



    อิทธิบาท4 จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้ แต่ก่อน หาอ่านตามเวป ต่างๆ บลาๆ ๆ เป็นพุทธ ตามทะเบียนบ้าน ตอนยังไม่ได้ปฏิบัติ ผมก็เข้าใจแบบนี้เหมือนกัน นิโรธสมาบัติ ได้ ฌาน 4 อรูปฌาน 4

    แต่พอไปเรียนถาม ครูบาอาจารย์ ตรงๆ ท่านยืนยันว่า ต้องเป็น อรหันต์ เท่านั้นครับ ถึงจะ เจริญอิทธิบาท4 ได้ นอกเหนือจากนี้ หมดสิทธิ์


    แก้ไข บางคำที่ใช้คำว่า ทรง เป็น เจริญ จะได้ไม่เข้าใจผิดๆ

    แก้ไข เติม ผู้ใดมีอิทธิบาท ๔ จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้ เข้าไป จะได้ไม่หลง
    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2013
  6. firstini

    firstini เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    1,213
    ค่าพลัง:
    +3,770
    ถ้าอยากสำเร็จด้วยธรรมใดๆ
    ก็ต้องมีอิทธิบาท๔ อย่างสม่ำเสมอควรแก่ธรรมนั้นๆ
     
  7. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    คำว่า

    ทรง อิทธิบาท 4

    กับคำว่า

    เจริญ อิทธิบาท 4

    ย่อมต่างกันอยู่แล้ว


    แสดงให้เห็นว่า เมื่อคนที่ไม่เข้าใจ ธรรม อิทธิบาท ๔ ว่าคืออะไร
    ก็ย่อมตีความ เข้าใจผิดๆ ใช้ความหมายผิดๆ ทำให้เข้าใจผิด ตามความคิดเห็นของตัวเอง

    ทำให้เข้าใจผิดๆ จากคุณธรรม อิทธิบาท ๔
     
  8. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
    ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค



    สังขาร เธอนั้น เพราะเจริญอิทธิบาท ๔ เหล่านี้ เพราะกระทำให้มากซึ่งอิทธิบาท๔ เหล่านี้ เมื่อปรารถนาก็พึงตั้งอยู่ได้ถึงกัป ๑ หรือเกินกว่ากัป ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้แลเป็นอธิบายในเรื่องอายุของภิกษุ ฯ
     
  9. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846


    การเจริญคือการสร้างเหตุ

    กระทำให้มาก เป็นการต่อเนื่อง

    อยู่ได้ถึง 1 หรือเกินกว่า กัป เป็นผลงาน




    ปุถุชน ผู้ เจริญ อิทธิบาท 4
    ไม่ใช่ ว่าจะทำไม่ได้

    ทำได้แต่ผลงานยังไม่ปรากฎ

    การเจริญอยู่ คือการ ฝึกอยู่คือการประกอบความเพียร


    ภิกษุแม้ ยังไม่บรรลุธรรมใดๆ

    มีไหม ในพระไตรปิฎกที่พระพุทธเจ้าสอนว่า

    ภิกษุทั้งหลายที่ยังไม่บรรลุธรรมอันใด
    เธอ พึงงด เจริญอิทธิบาท 4
    ด้วยอิทธิบาท 4 มีแต่พระอรหันต์เท่านั้น ที่เจริญได้
     
  10. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    จะไปเอาอะไรกับ สาวก ที่ไม่ฉลาดในธรรม ทรงธรรมวินัยได้ไม่ครบ
    ( เรื่อง วิมุตติ ยกไว้ เพราะไม่เกี่ยวกันกับเรื่อง ทรงธรรมวินัย สัทธรรม พุทธวัจนะ )


    เห็นคำว่า จากที่ไม่ใช่ฝั่งหรือเปล่า แหกตาเห็นได้หรือเปล่า ต้องแหกให้กว้างๆนะ
    มันถึงจะทิ้มเข้าไปใน กะโหลกหนาๆ ได้ ต้องทิ้มเข้าไปให้ ใจมันระทวย รวยริน
    พงาบๆ เลยนะ ต้องให้ สะเทือนกิเลสหนาๆ ปัญญาทราม ให้ชัดๆ เอาแบบ ชัดๆ

    เพราะคำว่า จากไม่ถึงฝั่ง มันเป็นตัวชี้ไงว่า ใครกำลัง "เจริญอิทธิบาท4"

    ใช้คำว่า เจริญอิทธบาท4 หน่าคร้าบ ไม่ต้องเลี่ยงบาลีไปไหน
     
  11. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    มีแปลกกว่านั้นอีก ลองทัศนา


    แปลให้ฟังอีกที

    คือ ชนเหล่าใดไม่ทำเข้าใจในอิทธิบาท4 ให้แยบคาย ทะลึ่ง กล่าวเป็นอื่น โดนสอดไส้
    ให้เข้าใจผิดในอรรถสาระการเจริญอิทธิบาท4 เหวี่ยงเข้าป่าไปโน้น ว่าเป็นเรื่อง อรหันต์
    ก่อนจึงทำได้ หากไม่ใช่อรหันต์ก็จะไม่มีใครหน้าไหน ทำได้ เจริญได้

    เดี๋ยวเถอะ ไม่ปรารภอิทธิบาท4 บ้าจี้ ไปตามคำลวง(โดยไม่เจตนา ไม่ได้อธิษฐาน ตั้งใจ)
    ให้เข้าใจผิด ไม่ปรารภอิทธิบาท

    จะเอาอริยมรรคมาแต่ไหน หละ

    ระวังน๊า อย่าซื่อบื้อ จับความไปกระเดียด โดนหลอกเอาซื่อๆ แบบ ชัดๆ หน่า

    ************

    เบื่อ เนี่ยะ รวมหมายถึง ถูกวางอย่าเบื่อ ด้วย นะเว้ยเฮ้ย ระวังไว้ให้ดี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2013
  12. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    คราวนี้ เอาแบบ ตรงๆ นะ แล้วแหกตาอ่านดีๆ


    เจติยสูตร
    การเจริญอิทธิบาท ๔ ทำให้อายุยืน
    [๑๑๒๓] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้:
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี
    ครั้งนั้น เป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงนุ่งแล้ว ทรงถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปบิณฑบาต
    ยังเมืองเวสาลี ครั้นเสด็จเที่ยวบิณฑบาตรแล้ว เวลาปัจฉาภัต เสด็จกลับจากบิณฑบาตรแล้ว
    ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า ดูกรอานนท์ เธอจงถือเอาผ้านิสีทนะ เราจะเข้าไปยังปาวาล
    เจดีย์ เพื่อพักผ่อนในตอนกลางวัน ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว
    ถือผ้านิสีทนะ ตามพระผู้มีพระภาคไปทางเบื้องพระปฤษฎางค์.

    [๑๑๒๔] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปยังปาวาลเจดีย์ ประทับนั่งบนอาสนะที่
    ท่านพระอานนท์ปูถวาย ส่วนท่านพระอานนท์ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ดูกรอานนท์ เมืองเวสาลีเป็นที่น่ารื่นรมย์
    อุเทนเจดีย์ก็เป็นที่น่ารื่นรมย์ โคตมกเจดีย์ก็เป็นที่น่ารื่นรมย์ สัตตัมพเจดีย์ก็เป็นที่น่ารื่นรมย์
    พหุปุตตกเจดีย์ก็เป็นที่น่ารื่นรมย์ สารันททเจดีย์ก็เป็นที่น่ารื่นรมย์ อิทธิบาท ๔ อันผู้ใดผู้หนึ่ง
    เจริญแล้ว
    กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้ง ให้คล่องแคล่วแล้ว
    สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว ผู้นั้น เมื่อจำนงอยู่พึงดำรงอยู่ได้กัลป์หนึ่ง หรือเกินกว่ากัลป์หนึ่ง
    ดูกรอานนท์ อิทธิบาท ๔ อันตถาคตเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดุจยาน
    กระทำให้เป็นที่ตั้ง ให้คล่องแคล่วแล้ว สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว ตถาคตนั้น เมื่อจำนงอยู่
    พึงดำรงอยู่ได้กัลป์หนึ่งหรือเกินกว่ากัลป์หนึ่ง.

    *******************


    ทีนี้ สมมติว่า ไม่เข้าใจ ว่า ผู้หนึ่งผู้ใด จะไปหา ตัวอย่างเอาจากที่ไหน แนะนำว่า ไปโรงพยาบาลศิริราชสิ
     
  13. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819


    ขึ้นไปอ่านนะ

    คุยกันเรื่อง ผู้ใดมีอิทธิบาท ๔ จะอยู่อีกกัปหนึ่งก็ได้


    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
    ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค



    สังขาร เธอนั้น เพราะเจริญอิทธิบาท ๔ เหล่านี้ เพราะกระทำให้มากซึ่งอิทธิบาท๔ เหล่านี้ เมื่อปรารถนาก็พึงตั้งอยู่ได้ถึงกัป ๑ หรือเกินกว่ากัป ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้แลเป็นอธิบายในเรื่องอายุของภิกษุ ฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2013
  14. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    ก็แหกตาอ่าน ให้มันครบๆ ซี่ว๊า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2013
  15. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819



    อ่านดีๆ คนถาม ถามว่าอะไร

    .
     
  16. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    เออ เข้าใจยก ยกให้กับผู้ถาม ซึ่งถือว่าเป็น ผู้ไม่รู้

    เปรียบเหมือน คนเห็นเงินในกะลาของขอทาน ก็เดินเข้าไปฉวย มาเป็นประโยชน์ตน
     
  17. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819

    ดีจริง

    พระท่านก็ตอบ ตรงกับ ผู้ถาม ลองอ่านดีๆ

    :cool:
     
  18. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846


    มาดูว่า พระพุทธเจ้า แนะนำว่าอย่างไร

    ************


    อิทธิบาท ๔ อันผู้ใดผู้หนึ่ง
    เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้ง ให้คล่องแคล่วแล้ว
    สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว ผู้นั้น เมื่อจำนงอยู่พึงดำรงอยู่ได้กัลป์หนึ่ง หรือเกินกว่ากัลป์หนึ่ง

    ************




    ส่วนอันนี้ เห็นด้วยกับ จขกท. (ย่อมาจาก เจ้าของกระทู้)


    แสดงให้เห็นว่า เมื่อคนที่ไม่เข้าใจ ธรรม อิทธิบาท ๔ ว่าคืออะไร ก็ย่อมตีความ เข้าใจผิดๆ ใช้ความหมายผิดๆ ทำให้เข้าใจผิด ตามความคิดเห็นของตัวเอง

    ทำให้เข้าใจผิดๆ จากคุณธรรม อิทธิบาท ๔
     
  19. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    มาดูว่า พระพุทธเจ้า แนะนำ วิธี ปฏิบัติอย่างไร


    ***********


    [๕๑๒] ก็ภิกษุ เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
    เป็นอย่างไร

    ถ้าภิกษุทำจิตให้เป็นอธิบดีแล้วจึงได้สมาธิ ได้เอกัคคตาแห่งจิต

    สมาธินี้
    เรียกว่า จิตตสมาธิ

    ภิกษุนั้น ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร
    ประคองจิตไว้ ทำความเพียร
    เพื่อป้องกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้เกิดขึ้น ฯลฯ
    เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ

    เพื่อสร้างกุศลธรรมที่
    ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น

    ทำฉันทะให้เกิดขึ้น พยายาม ปรารภความเพียร
    ประคอง จิตไว้ ทำความเพียร เพื่อความดำรงอยู่
    ความไม่สาบสูญ ความภิยโยยิ่ง ความไพบูลย์ ความเจริญ
    ความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว

    สภาวธรรมเหล่านี้ เรียกว่า ปธานสังขาร

    จิตตสมาธิและปธานสังขารดังกล่าวมานี้
    ประมวลย่อ ๒ อย่างนั้น เข้าเป็นอันเดียวกัน
    ย่อมถึงซึ่งอันนับว่า จิตตสมาธิปธานสังขาร ด้วยประการฉะนี้


    [๕๑๓] ในบทเหล่านั้น จิต เป็นไฉน
    จิต มโน มานัส ฯลฯ
    มโนวิญญาณธาตุที่สมกัน อันใด นี้เรียกว่า จิต


    สมาธิ เป็นไฉน
    ความตั้งอยู่แห่งจิต ฯลฯ

    สัมมาสมาธิ อันใด นี้เรียกว่า สมาธิ

    ปธานสังขาร เป็นไฉน
    การปรารภความเพียรทางใจ ฯลฯ

    สัมมาวายามะ อันใด นี้เรียกว่า
    ปธานสังขาร

    ภิกษุ เป็นผู้เข้าไปถึงแล้ว ฯลฯ
    ประกอบแล้ว ด้วยจิต สมาธิและปธานสังขาร ดังกล่าวมานี้
    ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร ด้วยประการฉะนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 4 มกราคม 2013
  20. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
    ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค​



    [๒๓๑] อิทธิบาท ๔ อย่าง

    ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท
    อันประกอบด้วยฉันทสมาธิปธานสังขาร
    ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท
    อันประกอบด้วยวิริยสมาธิปธานสังขาร
    ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาทอัน
    ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
    ๔. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาทอัน
    ประกอบด้วยวิมังสาสมาธิปธานสังขาร ฯ

    อิทธิบาท ๔ อย่าง คืออะไร

    ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาทอัน
    ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร



    จิตตสมาธิปธานสังขาร คืออะไร

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒
    วิภังคปกรณ์

    [๕๑๒] ก็ภิกษุ เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
    เป็นอย่างไร
    ถ้าภิกษุทำจิตให้เป็นอธิบดีแล้วจึงได้สมาธิ ได้เอกัคคตาแห่งจิต สมาธินี้
    เรียกว่า จิตตสมาธิ ภิกษุนั้น ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร
    ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อป้องกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้
    เกิดขึ้น ฯลฯ เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เพื่อสร้างกุศลธรรมที่
    ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น ทำฉันทะให้เกิดขึ้น พยายาม ปรารภความเพียร ประคอง
    จิตไว้ ทำความเพียร เพื่อความดำรงอยู่ ความไม่สาบสูญ ความภิยโยยิ่ง ความ
    ไพบูลย์ ความเจริญ ความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว สภาวธรรม
    เหล่านี้ เรียกว่า ปธานสังขาร
    จิตตสมาธิและปธานสังขารดังกล่าวมานี้ ประมวลย่อ ๒ อย่างนั้น เข้า
    เป็นอันเดียวกัน ย่อมถึงซึ่งอันนับว่า จิตตสมาธิปธานสังขาร ด้วยประการฉะนี้

    [๕๑๓] ในบทเหล่านั้น จิต เป็นไฉน
    จิต มโน มานัส ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุที่สมกัน อันใด นี้เรียกว่า จิต
    สมาธิ เป็นไฉน
    ความตั้งอยู่แห่งจิต ฯลฯ สัมมาสมาธิ อันใด นี้เรียกว่า สมาธิ
    ปธานสังขาร เป็นไฉน
    การปรารภความเพียรทางใจ ฯลฯ สัมมาวายามะ อันใด นี้เรียกว่า
    ปธานสังขาร
    ภิกษุ เป็นผู้เข้าไปถึงแล้ว ฯลฯ ประกอบแล้ว ด้วยจิต สมาธิและ
    ปธานสังขาร ดังกล่าวมานี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธาน-
    *สังขาร ด้วยประการฉะนี้​


    ดังนั้นจะเห็นได้ว่า จิตตะ 1 ใน 4 ของ อิทธิบาท นั้น คืออะไร ตามหลักของ ศาสนาพุทธ พุทธพจน์ ของพระพุทธเจ้า

    อีก 3

    ฉันทะ

    วิริยะ

    วิมังสา

    โปรด ศึกษาเพิ่มเติมได้ใน พระไตรปิฎก


    แค่ 1 ใน อิทธิบาท4
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...