ธรณีสูบยักษ์สูบ มหันตภัยล้างโลก–พยากรณ์โลก-กับหลักฐานสำคัญ-พระจักรพรรดิ 30 กย 53

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ออร์กะ, 2 มิถุนายน 2010.

  1. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
  2. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ขออนุโมทนา และขอบคุณ คุณ K.Kwan <!-- google_ad_section_end -->มากครับ ที่ได้กรุณานำเรื่องดีๆ และสำคัญมาร่วมเป็นวิทยาทาน

    เวลานี้มีอะไรๆ แปลกปลาด

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> Mighty oil- eating microbes help clean up the Gulf
    By JOHN CAREY, environmental writer
    Wed Jul 28, 4:41 pm ET

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if !mso]><object classid="clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D" id=ieooui></object> <style> st1\:*{behavior:url(#ieooui) } </style> <![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->So where did the oil go? "Some of the oil evaporates," explains Edward Bouwer, professor of environmental engineering at <st1><st1>Johns</st1><st1> Hopkins</st1><st1> University</st1></st1>. That’s especially true for the more toxic components of oil, which tend to be very volatile, he says. Jeffrey W. Short, a scientist with the environmental group Oceana, told the New York Times that as much as 40 percent of the oil might have evaporated when it reached the surface.

    สรุปว่า เรื่องเดิม จากที่เกิดอุบัติเหตุน้ำมันดิบรั่วขึ้นมา บนผิวน้ำทะเลในบริเวณอ่าวเม็กซิโก มีปริมาณมากเป็นประวัติศาสตร์ของอเมริกา และทาง BP ได้พยายามเก็บน้ำมันดิบที่รั่วมากว่า 100 วัน แต่อยู่ดีน้ำมันที่รั่วมันหายไปเฉยๆ กว่า 40% ศ. Edward Bouwer กล่าวว่าคงมีบ้างที่ละเหย นักวิทยาศาสตร์ Jeffrey W. Short บอก New York Times 40% ที่น้ำมันถึงผิวทะเลมันอาจละเหย (นี่มันน้ำมันดิบน่ะ)

    [​IMG]

    ขอนำเรื่องของ
    คุณ K.Kwan: พี้นมหาสมุทรบริเวณออสเตรเลียสูงขี้น 13 ฟุตต่อวัน ! |Truth4Thai.org มาชี้ประเด็นก่อน เพราะน่าสนใจมากครับ คือ <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} span.longtext {mso-style-name:long_text;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเหลือเชื่อ มันเกิดขึ้นอย่างลึกลับ ที่พื้นใต้ทะเลทางด้านตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย ได้เพิ่มความสูงขึ้นที่ประมาณ 3-4 เมตรต่อวัน แต่ฟังจากรายการวิทยุ มันขึ้นและลง จขกท จะนำรายละเอียดมาสรุปเพิ่มเติมครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 กรกฎาคม 2010
  3. Riyko

    Riyko เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +107
    ขอบคุณพี่ออร์กะ สำหรับข้อมูลเรื่องของมนุษย์ต่างดาว ตอบกระทู้ # 57 ค่ะ และ ความรู้เรื่องการแบ่งภาคจุติของท้าวสักกะ ตอบกระทู่ที่ # 80 ค่ะ

    จากข้อมูลที่ท่านเจ้าของกระทู้และกัลยาณมิตรได้รวบรวมกันมา ทำให้เห็นได้ว่า ภัยพิบัติอยู่ใกล้ตัวเรา และ เข้าใกล้เราทุกเวลา.

    พระพุทธเจ้าท่านทรงกล่าวโอวาทครั้งสุดท้ายเกี่ยวกับ "ความไม่ประมาท"

    "ดูก่อนท่านทั้งหลาย สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง
    เป็นทุกข์ เป็นของมิใช่ตัวมิใช่ตน
    ท่านทั้งหลาย จงทำประโยชน์ตน และประโยชน์
    ส่วนรวม ให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท เถิด."

    เมื่อเราระลึกถึงความไม่เที่ยงของสังขาร สำหรับคนที่ยังมีพ่อแม่ให้ได้เห็นได้ดูแลท่าน
    อยากบอกว่า เรายังมีเวลาที่จะบอกท่านว่า "ลูกรักแม่-รักพ่อค่ะ"
    บอกท่านได้และทำได้ทุกวัน โดยไม่ต้องรอให้ถึงวันพ่อวันแม่นะคะ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 กรกฎาคม 2010
  4. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขออนุโมทนาน้อง Riyko ที่ได้นำประโยคที่มีความหมายยิ่ง มาเตือนสติไม่ให้เราประมาทในกาลเวลาที่เปลี่ยนไป โดยไม่มีใครสามารถย้อนเวลานั้นกลับมาได้แม้แต่เพียงนิดเดียว เราจะรู้ความหมายของคำว่า "ลูกรักแม่-รักพ่อค่ะ" หรือ "ลูกรักแม่-รักพ่อครับ” ดีที่สุด เมื่อท่านจากเราไปอย่างไม่มีวันกลับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขอขอบคุณน้อง Riyko ที่ว่า "... เรายังมีเวลาที่จะบอกท่านว่า "ลูกรักแม่-รักพ่อค่ะ"...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. Riyko

    Riyko เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +107
    อนุโมทนากับพี่ออร์กะค่ะ. ขอบคุณมากค่ะ ที่เห็นว่า Riyko เขียนผิดค่ะ.
    ตอนนี้ปรับแก้ให้ถูกต้องแล้วนะคะ #87

    ขอบคุณสำหรับเพลงเพราะๆ ความหมายดีๆ "เรารักแม่" ค่ะ
     
  6. ไตรย

    ไตรย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +345
    โลกคือเรา...........เราคือโลก
    เมตตาธรรม.........ค้ำจุนโลก
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  7. พลอยรุ้ง

    พลอยรุ้ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    467
    ค่าพลัง:
    +2,088
    อนุโมทนากับ จขกท ที่ขยัน..น หาข้อมูลเหลือเกิน เอาไปทำ thesis ได้เลยนะเนี่ย (แซวเล่นน่ะค่ะ อย่าถือสา)
    ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เป็นที่ยอมรับ และ(ดู)น่าเชื่อถือกว่า ข้อมูลทางศาสนา ซึ่งบางคนดูว่าเลื่อนลอย และพิสูจน์ไม่ได้ เพราะเป็นเรื่องรู้ได้เฉพาะตน แต่ความจริงย่อมปฏิเสธไม่ได้ค่ะ ศาสนาหรือวิทยาศาสตร์ สิ่งที่ค้นหาคือ สิ่งเดียวกัน คือสัจธรรมค่ะ ฉะนั้น เอาสองอย่างมาช่วยกัน ร่วมแรงกัน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์จะดีกว่าค่ะ เหมือนอย่างที่คุณ จขกท กำลังทำอยู่ไงคะ :cool:
     
  8. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ขออนุโมทนา และขอบคุณ คุณพลอยรุ้ง ในความปรารถนาดีและให้ความอบอุ่นและกำลังใจ ออร์กะและเพื่อนๆ จะพยายามนำข้อมูลที่น่าสนใจมาลง เพื่อเป็นหลักฐานในเรื่องประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และศาสนาศาสตร์ กับเหตุการณ์ที่สำคัญในปลายกลียุคนี้ ถ้าเราได้ศึกษาให้ลึกซึ้ง จะเห็นว่าทั้งสองศาสตร์ โดยเฉพาะปรัชญาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ได้พึ่งพากับวิทยาศาสตร์ ดังอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวไว้ว่า

    The religion of the future will be a cosmic religion. It should transcend
    personal God and avoid dogma and theology. Covering both the
    natural and the spiritual, it should be based on a religious sense
    arising from the experience of all things natural and spiritual as a
    meaningful unity. Buddhism answers this description. If there is any
    religion that could cope with modern scientific needs it would be
    Buddhism.

    ศาสนาในอนาคตที่จะเป็นศาสนาจักรวาลวิทยา ควรนอกเหนือไปจากความเชื่อในเรื่องความเป็นตนของพระเจ้า หลีกเลี่ยงเรื่องศรัทธาและความเชื่อทางศาสนศาสตร์ ดังนั้นศาสตร์ใหม่ จำเป็นต้องครอบคลุมทั้งธรรมชาติและจิตใจเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ควรที่จะขึ้นอยู่กับความรู้สึกทางศาสนาที่มีเหตุผล
    ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ของทุกสรรพสิ่งทางธรรมชาติและจิตวิญญาณที่รวมเป็นหนึ่งเดียว ในเรื่องนี้เห็นได้ว่ามีแค่พุทธศาสนาเท่านั้น ที่จะิสามารถอธิบายสิ่งที่กล่าวเหล่านี้ได้ ดังนั้นหากมี
    ศาสนาที่สามารถรองรับกับความต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ก็ต้องเป็นพุทธศาสนาเท่านั้น

    ปล. "กำลังทำอยู่ไงคะ" กำลังศึกษาข้อมูลครับ ข้อมูลที่จะนำมาลงต่อไป มีความสำคัญกับชีวิตของเราๆ ทุกๆคนครับ โปรดติดตาม ถ้ามีอะไรผิดพลาด จขกท ขอรับผิด และจะแก้ไขครับ

     
  9. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    สรุปเรื่องของท้าวสักกะ
    <o></o>
    แนะนำท้าวสักกะ
    <o></o>
    สำหรับตำนานเรื่องท้าวสักกะเทวราชหรือพระอินทร์นั้น เป็นเรื่องยากที่จะทราบว่าเรื่องจริงๆ เป็นอย่างไร ดังนั้นเราควรใช้กาลามสูตรเป็นเครื่องมือในการพิจารณา น่าจะเป็นหนทางที่ดีสุด และก็ไม่ควรประมาทในความรู้ใดๆ ที่เรายังไม่สามารถหาคำตอบที่แน่ชัดลงได้ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานทางวิทยาศาสตร์ที่มีทฤษฎีว่าไว้ หรือศาสนาศาสตร์ที่มีหลักฐานชี้บ่งไว้ เพราะทั้งสองศาสตร์ก็ไม่ได้หมายความว่ามีความถูกต้องเสมอไป <o></o>
    <o></o>
    สำหรับ จขกท จะใช้วิธีการหาความเป็นไปได้ ของความน่าเป็นจริงในเรื่องราวของท้าวสักกะ โดยใช้ข้อมูลที่ถึงแม้จะต่าง สถานที่ ศรัทธาและเวลา แล้วนำมาพิจารณาถึงความเป็นไปได้ว่า ข้อมูลนั้นๆ ถ้ามีความสอดคล้องกัน น่ามีความถูกต้อง และใช้หลักฐานดั้งเดิมเช่น Rig-Veda และที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้มาร่วมในการพิจารณาวิเคราะห์ หาความน่าเชื่อถือในข้อมูล นั้นๆ ซึ่งขบวนการนี้ควรถือว่าเป็นทฤษฎีหนึ่ง ในการหาความเป็นไปได้ด้วยลักษณะของการจัดกลุ่มและหาน้ำหนักข้อมูล
    <o></o>
    เรื่องของท้าวสักกะมีการพรรณนาไว้มาก และที่น่าศึกษาเป็นพิเศษคือใน Rig-Veda หรือ ฤคเวท ( สันสกฤต: ऋग्वेद ) ซึ่งเป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวทซึ่งมี 4 เล่ม แต่งขึ้นเมื่อประมาณ 2-1000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นบทสวดทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางไว้อย่างตายตัว เพื่อการสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะทั้งหลาย ซึ่งใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่างๆ ของชาวอารยัน คัมภีร์จัดรวบรวมบทสวดนี้เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท พระอินทร์ เป็นเทพองค์เดียวที่มีบทสวดสรรเสริญมากที่สุด คือ ๒๕๐ บทจากบทสวดทั้งสิ้น ๑,๐๒๘ บท และยังมีที่อ้างอิงในที่อื่นๆ อีกราว ๕๐ บท ฤคเวทสังหิตานี้เชื่อว่าออกจากพระโอษฐ์ของพระพรหม และเหล่าฤาษีได้นำมาสั่งสอนมวลมนุษย์อีกที
    <o></o>
    สรุปคัมภีร์พระเวท <o></o>
    <o></o>
    คัมภีร์สำคัญของศาสนาพรามห์รู้จักดีนั่นคือ คัมภีร์พระเวท คำว่า พระเวท (Vedas) หมายถึง ความรู้ ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งถือเป็นสิ่งสูงสุดในการพิจารณาตัดสินปัญหา ในทางปรัชญาและศาสนาชาวอารยัน <o></o>
    <o></o>
    สรุปพระเวท มีคัมภีร์ต่าง ๆ 4 เล่ม คือ<o></o>
    1. ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า เพื่อขอให้ช่วยกำจัดภัยทั้งหลาย ทั้งมวล <o></o>
    (ฤคเวท เกิดขึ้นก่อนเล่มอื่นๆ)
    2. ยชุรเวท ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีกรรมบูชายัญและบวงสรวงต่าง ๆ
    3. สามเวท สำหรับสวดในพิธีถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์ และขับกล่อมเทพเจ้า<o></o>
    4. อถรรพเวท เป็นที่รวบรวมคาถาอาคม หรือ เวทมนต์<o></o>
    สำหรับยุค
    1. ยุคพระเวท ประมาณ ก่อน 1,000-200 ปีก่อนพุทธกาล<o></o>
    2. ยุคพราหมณ์ ประมาณ 200 ปีก่อนพุทธกาล
    3. ยุคฮินดู เริ่มประมาณต้นพุทธศักราช<o></o>
    <o></o>
    ถ้าจะยึดหลักฐานจาก 4 ภาษาโบราณที่มีหลักฐานชัดเจนเกี่ยวกับการพรรณนาเรื่องของเทพเจ้า ตามตอบกระทู้ #74 โดยพิจารณาจากภาษาที่เก่าแก่คือ เบบี้โลเนี่ยน อียิปต์ สันสกฤต และ กรีก จะเห็นว่าท้าวสักกะเป็นที่รู้จักมา ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกของการที่มนุษย์แนะนำพระเจ้า หรือเทพเจ้าผู้สร้างสรรพสิ่งบนโลกและจักรวาลทั้งหลาย (God of Creation) เบบี้โลเนี่ยน เรียกว่า Anu ซึ่งสำเนียงคล้ายกับ อียิปต์ เรียกว่า Amun สำหรับ กรีก กับสันสกฤต การเรียกชื่อท้าวสักกะนั้นต่างกัน แต่เรื่องราวของท้าวสักกะถูกบ่งไว้ตรงกันแบบถอดรูปมาที่เดียว จากหลักฐานโบราณพอสรุปได้ว่า ท้าวสักกะเป็นเทพสูงสุดที่มนุษย์ได้รู้จัก โดยท้าวสักกะจะเป็นผู้พิทักษ์ความสงบสุขทั้งสวรรค์และโลกมนุษย์ โดยความศรัทธาโบราณ และศาสนาหลักบ่งไว้ว่าศัตรูของสวรรค์และมนุษย์คือ มารหรืออธรรมที่บ่งเป็นไปในรูปร่างของงูผู้ไม่มีมือและเท้า ทางพระคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาเดิม งูก็คือซาตานซึ่งต่อต้านพระเจ้ามาโดยตลอด
     
  10. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ท้าวสักกะเป็นจอมเทพ
    <o></o>
    นสมัยฤคเวท พระอินทร์เกิดจากฟ้า (เทฺยาสฺ) และดิน (ปฤถิวี) ด้วยเหตุนี้พระอินทร์จึงเป็นเทพอยู่ระหว่างฟ้ากับโลกมนุษย์ พระอินทร์เมื่อเกิดมาร่างกายก็โตใหญ่ขึ้นทันที ท้าวสักกะถูกบ่งว่าทรงเป็นบิดาของมนุษย์และการแพร่พันธ์ เป็นผู้ทรงกำหนดฝนฟ้า และให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล เป็นผู้ทรงกำหนดสายฟ้า เป็นเทพแห่งสงคราม เป็นเทพเจ้าสูงสุด เป็นผู้ปกครองเทพทั้งปวง เรื่องท้าวสักกะมีข้อมูลมากกว่าเทพองค์อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น เช่น ไฟ คือ อัคนี(Agni) น้ำ คือ วรุณหรือพิรุณ (Varuna) พระอาทิตย์ คือสุริย (Surva) ลม คือ พระพาย หรือ วายุ (Vayu) วารุนะ (Varuna), มิถรัส (Mitra), ยามะ (Yama), เป็นต้น<o></o>
    <o></o>
    ข้อสังเกต จะเห็นว่าเรื่องของเทพสมัยฤคเวทประกอบด้วย ธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ก็คือ เทพทั้งหลายนั่นเอง ซึ่งถ้าจะพิจารณาลึกซึ้งมากขึ้นอีก จะเห็นว่าเทพต่างๆ เกี่ยวข้องกับเรื่องราวทางวิทยาศาสตร์ แม้ภาษาสันสกฤตทางนักภาษาศาสตร์ก็ยอมรับว่าเป็นภาษาทางวิทยาศาสตร์

    ชื่อของท้าวสักกะมีมากมาย ตัวอย่างชื่อที่เรียกทางเอเซีย เช่น Indra ซึ่งมีชื่อเรียกเช่น สักกะ Śakra (Pali: Sakka). ตามภาษาไทย คือ พระอินทร์ (Phra IntraX, ภาษามาเลคือ Indera, ภาษา ทมิล (Tamil) คือ Intiran, จีนเรียก [FONT=&quot]帝释天[/FONT] Dìshìtiān, และภาษาญี่ปุ่นคือ [FONT=&quot]帝釈天[/FONT] Taishakuten สำหรับภูมิภาคอื่นๆ ของโลก ผุ้คนก็รู้จักในลักษณะของพระเจ้าผู้บันดาลฝนโดยมีอาวุธคือสายฟ้า พระเจ้า เช่น Zeus และ Thor เป็นผู้มีสัตรูคืองูและมังกร <o></o>
    <o></o>
    จากตำนานโบราณ ไม่ว่าจะเป็นตำนานของพวกมายัน พระคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาเดิม พระพุทธศาสนา เป็นต้น เมื่อศึกษาเรื่องของพระเจ้าผู้สร้างหรือท้าวสักกะ จะเห็นได้ว่าพระองค์ทรงเกี่ยวข้องกับธรรมะ และ อธรรม มีทั้งสิ่งดี และสิ่งชั่ว และในที่สุดก็มีกำหนดเวลาในการช่วยคำจุนสิ่งดี ปราบสิ่งชั่ว ตามกำหนดของยุคที่มี 4 ยุค และมนุษยโลกกำลังอยู่ในปลายยุคสุดท้ายคือ กลียุค กำลังจะเข้าสู่ยุคที่ 1 ใหม่คือกฤดายุค หรือยุคมีคนดี ทั้ง 4 ส่วน ซึ่งคนชั่วจะถูกทำลายลง ตามคำพยากรณ์โลกต่างๆ ได้บ่งไว้ ซึ่งท้าวสักกะเป็นเทพผู้ลงโทษมนุษย์เมื่อมนุษย์ไร้ศีลธรรม
    <o></o>
    ข้อสังเกต การที่โลกวิปริตทำให้มนุษยโลกได้รับความเดือดร้อนไปทั่วในปัจจุบัน ก็ควรเป็นเรื่องที่สวรรค์ลงโทษมนุษย์ ซึ่งพุทธพยากรณ์และคำทำนายจากตำนานที่แจกจ่าย เช่นในไทยและจากใบลานสี ประเทศลาวที่กล่าวสรุปว่า เหล่าเทพเทวดาผู้คุ้มครองรักษาเหล่ามนุษย์ได้กราบทูลพระอินทร์ (ท้าวสักกะ) ว่า มนุษยโลกในกาละเวลานี้ได้ทำบุญเพียง 3 ส่วน แต่ทำความชั่วถึง 10 ส่วน เมื่อเป็นเช่นนี้พระอินทร์จึงลงโทษมนุษย์ไว้ 9 ข้อคือ <o></o>
    1. จะให้เกิดพายุรุนแรงแผ่นดินก็ไหวรุนแรง <o></o>
    2. จะให้เกิดสารพิษต่างๆ (เช่นอากาศในน้ำในอาหารเป็นพิษ)
    3. จะเกิดไฟไหม้ <o></o>
    4. จะเกิดโรคร้ายต่างๆ <o></o>
    5. จะเกิดน้ำท่วม <o></o>
    6. จะเกิดอดข้าว ปลาอาหาร (วิกฤติเศรษฐกิจ) <o></o>
    7. จะเกิดฟ้าผ่ารุนแรง (นาซ่า และนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง คาดว่าอาจมีโอกาสเกิดขึ้นรุนแรงในปี ค.ศ. 2012) <o></o>
    8. จะเกิดอาฆาตฆ่าฟันกันเอง (เช่นการแตกแยกของคนไทย)
    9. จะเกิดร้อนมากหนาวมาก (ภูมิอากาศผิดปกติ)
    <o></o>
    เหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นในกึ่งพุทธกาลหรือในปัจจุบันนี้ และจะหยุด เปลี่ยนจากร้ายเป็นดีได้ ก็เมื่อพระจักรพรรดิ หรือ พระศรีอารย์ปรากฏพระองค์ต่อผู้คนทั้งหลาย ท่านผู้ไม่ประมาท ได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ จะเห็นได้ว่าเรื่องทุกเรื่องของท้าวสักกะ มีเหตุผล มีที่มาที่ไป และมีหลักฐานความเป็นจริงอยู่ในขณะนี้

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 สิงหาคม 2010
  11. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ท้าวสักกะกับสัตรูคืองูและมาร<o></o>
    <o></o>
    พระอินทร์มีสัตรูคู่กรณีที่สำคัญที่สุดคือ งูยักษ์วริตรา ได้ทำสงครามกันหลายครั้ง แต่ละครั้งก็กินระยะเวลายาวนาน และทุกๆครั้งพระอินทร์ก็จะเป็นฝ่ายชนะเสมอ พระอินทร์ จึงเป็นสัญลักษณ์ของ ธรรมะ และงูยักษ์จักวาล ก็เป็นสัญลักษณ์ของ อธรรม นั่นหมายถึงทั้งสองอย่างจะอยู่คู่กันและไม่มีทางดับสูญ ความจริงเป้นอย่างไร จขกท ไม่ทราบ แต่นี่เป็นตำนานที่บอกกล่าว เผยแพร่ออกมาจากศรัทธาโบราณ และศาสนาที่สำคัญๆ ของโลกมาจนทุกวันนี้ และข้อเท็จจริง ที่ไหนมีธรรมะ ที่ไม่ห่างไกลจากนั้นย่อมมีอธรรม
    <o></o>
    ท้าวสักกะทรงเป็นนักรบที่ยิ่งใหญ่ที่ต้องต่อสู้กับมาร (Asuras) หรือผู้ต่อต้านศีลธรรมและธรรมะ แบบไม่มีที่สิ้นสุด ในคัมภีร์ฤคเวทซึ่งเป็นคัมภีร์เก่าแก่ที่สุดของอินเดียได้เปิดตัวพระอินทร์ ไว้อย่างเกรียงไกรมาก ในระยะหลัง ท้าวสักกะได้ลดบทบาทของพระองค์ลงมาเป็นเทพเล็กๆ แต่ก็ยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นจอมเทพของเทพทั้งปวงอยู่ สำหรับพวกพราหมณ์นับถือว่าท้างสักกะเป็นเทพสูงสุดมาก่อนที่จะหันมานับถือ เทพตรีมูรติ ได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และพระอิศวร โดยทางศาสนาฮินดูบ่งว่า กัลกิยาวตาร หรือ พระกัลกี (บุรุษขี่ม้าขาว) หรืออวตารของพระนารายณ์ภาคที่ 10 จะเสด็จมาในท้ายกลียุคเพื่อปราบคนชั่ว (อธรรม) สถาปนาธรรมใหม่ขึ้นบนโลก ซึ่งถ้าพิจารณาลึกซึ้งแล้วไม่น่าจะต่างไปจากธรรม 7 ประการของท้าวสักกะ เพราะเป็นธรรมะชนิดเดียวกัน<o></o>
    <o></o>
    ในเรื่องนี้การลดบทบาทของท้าวสักกะมาเป็นเทพเล็กๆ ในศาสนาฮินดู ตามการวิเคราะห์โดยใช้ศรัทธาโบราณและศาสนาที่สำคัญของโลกอื่นๆ รู้สึกว่ามีข้อขัดแย้งกันหลายประเด็นกับทางศาสนาฮินดู ตามธรรมชาติของท้าวสักกะจะเป็นเทพลึกลับ ทำความเข้าใจได้ยาก และถ้าสรุปตามหลักฐานตำนาน หน้าที่การช่วยเหลือมนุษยโลกเป็นหน้าที่ของท้าวสักกะ ฉะนั้นความจริงเป็นอย่างไร คงควรจะได้มีการเปิดเผยความจริงโดยพระจักรพรรดิหรือพระศรีอารย์ ซึ่งจะปรากฏพระองค์ในช่วงปลายกลียุคหรือในเวลาปัจจุบัน ซึ่งตามหลักฐานของพระจักรพรรดิหรือพระศรีอารย์ น่าจะบ่งได้ว่า ท้าวสักกะเป็นอะไร
    <o></o>
    สำหรับในระยะหลังๆ ท้าวสักกะหมดบทบาท แต่มีเทพอื่นๆ ที่มาทำหน้าที่เช่นเดียวกันเพื่อสร้างสันติสุขให้มนุษยโลก เช่น พระนารายณ์(ผู้พิทักษ์ช่วยเหลือ) พระศรีอารย์ (เพื่อนแท้) มิถรัส(เพื่อนแท้) เป็นต้น ถ้าศึกษาเปรียบเทียบแล้ว เทพเหล่านี้ มีคุณลักษณะในส่วนหนึ่งของท้าวสักกะ สำหรับทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระศรีอารย์กับท้าวสักกะ นั้นเป็นองค์เดียวกัน แต่ความจริงจะเป็นอย่างไร พระจักรพรรดิู้บ่งว่าเรื่องราวข้อเท็จจริง จะสามารถพิสูจน์ได้ตามหลักวิทยาศาสตร์ ตามการวิเคราะห์ข้องมูลในเรื่องท้าวสักกะขั้นต้น คงไม่นานเกินรอที่มนุษยชาติ ควรที่จะได้เห็นข้อเท็จจริงในปัจจุบันนี้เอง

    ปล. พระศรีอาริยเมตไตรย ถ้าจะแยกคำเพื่อพิจารณาความหมาย

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->พระมหาชัยวุธ ฐานุตฺตโม อธิบายคำว่า อริยะ เป็นคำบาลี ส่วน อารยะ เป็นคำสันสกฤต.... ความแตกต่างกันในการใช้ตามหลักภาษาไทย สังเกตว่า อริยะ มักจะใช้เฉพาะที่เกี่ยวกับพระศาสนา เช่น อริยเมตไตรย พระอริยเจ้า อริยธรรม .
    อริโต วิย กิเลสโต อิโตติ อริโย ผู้ใดไปแล้วจากกิเลสเพียงดังข้าศึก ดังนั้น ผู้นั้น ชื่อว่า อริยะ (ผู้ไปแล้วจากกิเลสเพียงดังข้าศึก)

    พระผู้มีพระภาค ตรัสอนาคตวงศ์ เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัทรกัป ซึ่งพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 5 คือ metteyya เมตฺเตยย (เขียนบาลี) Metteya เมตฺเตย (อ่านบาลี) Maitreya เมไตรย (สันสกฤต) แปลว่าเพื่อนแท้หรือกัลยาณมิตร
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ศรี หมายถึง สิ่งที่เป็นสิริมงคลแก่ชีวิต เสน่ห์ที่ทำให้คนรักใคร่เมตตา และศรัทธาในตัวเรา

    ดังนั้น พระศรีอาริยเมตไตรย ภาษาไทยคือ เพื่อนแท้ผู้เป็นสิริมงตลที่ห่างแล้วจากกิเลส
    (เมตไตรย น่าจะแผลงมาจาก เมไตฺรย)

    สำหรับพระศรีอารย์ น่าจะเป็นคำบ่งสั้นๆ คือ ศรีอริยะ หรือ ผู้เป็นสิริมงตลที่ห่างแล้วจากกิเลส

    [​IMG]


    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 สิงหาคม 2010
  12. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ท้าวสักกะและพระพุทธศาสนา<o></o>
    <o></o>
    สำหรับที่พระพุทธเจ้าตรัส ในศาสนาพุทธ พระอินทร์ ยังเป็นเทพผู้รักษาพระพุทธศาสนาให้อยู่ยืนยงครบ 5,000 ปี เนื่องจากพระอินทร์เป็นเทวกษัตริย์ อันหมายถึงเป็นราชาแห่งเหล่าทวยเทพ จึงมีอำนาจในการสั่งการ ทำลายผู้ที่จะนำพาพระพุทธศาสนาไปในทิศทางที่ไม่ดี <o></o>
    <o></o>
    ท้าวสักกะคอยช่วยเหลือพระโพธิสัตว์เสมอมา และท้าวสักกะยังคอยบำบัดทุกข์บำรุงสุขมนุษย์โลก และกำจัดมาร
    <o></o>
    องค์พระเมตไตรย ต้องบุรพกรรม เกี่ยวเนื่องกับท้าวสักกะ<o></o>
    <o></o>
    เป็นที่น่าสังเกตว่าเรืองราวของท้าวสักกะกับของพระศรีอาริยเมตไตรย หรือพระศรีอารย์ จะมีเรื่องราวคล้องจองกัน เช่น การทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้อยู่ครบ 5,000 ปี<o></o> หรือจนถึง พ.ศ. 5,000

    ใน พระไตรปิฏก ๒๐ กัณฐ์ พระศรีอารย์<o></o>

    <o></o>
    "ดู ก่อนอานนท์ ผ้าอาบของตถาคต ได้แก่ ศาสนาที่ตถาคตวางไว้ ลิงแม่ลูกอ่อนที่มาถ่ายมูลเลอะเทอะหมดถึง 3 ชายนั้น ได้แก่ กองทัพ ซึ่งจะมารบราฆ่าฟันกันตาย เหลือที่จะคณานับ ศาสนาของตถาคตจะเสื่อมทรุดไปถึง 3 ใน 4 ส่วน คงค้างอยู่แต่เพียงส่วนเดียวและนกยางขาวที่บินมาจับหัวแม่ลิงนั้น คือ พระศรีอาริยเมตไตรยโพธิสัตว์ จะมาปราบอธรรม และช่วยสืบอายุศาสนาของตถาคต เริ่มตั้งแต่ 2,500 ปีขึ้นไป จนครบ 5,000 ปี หรือจนถึง พ.ศ. 5,000"<o></o>
    <o></o>
    จากหลักฐานสำัคัญๆ หลายชิ้น เช่น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้หลายครั้งและในพุทธทำนาย และ หน้าที่ของท้าวสักกะที่ต้องทนุบำรุงพระพุทธศาสนา แสดงความชัดเจนว่า ศาสนาพระศรีอารย์ไม่มี <o></o>
    <o></o>
    เรื่องราวของท้าวสักกะจะเกี่ยวข้องกับ เลข 7 เช่น วัตตบท 7 ประการ ชื่อท้าวสักกะ 7 ชื่อ แก้ว ๗ ประการ ดอกบัวกอละ 7 ดอก “พระเมตไตรยมาเกิดเป็นมนุษย์ชาวไร่ นำแตงโมมาถวายพระพุทธเจ้า 7 ผล …. จะส่งท่านมาเกิดเป็นพระยาจักรพัตราธิราชอันประเสริฐ” เลข 7 มีความสำคัญเกี่ยวโยงไปยังศาสนาอื่น เช่นพระคัมภีร์ไบเบิล และนั่นคือสิ่งที่ชาวโลกรอคอย คือธรรมะ 7 ประการของท้าวสักกะ ที่ยังไม่มีผู้ใดทราบ เรียกว่าอมตธรรม ซึ่งจะได้นำกล่าวตามหลักฐานต่อไป

    ขอบคุณข้อมูลจาก Metteya.org

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 สิงหาคม 2010
  13. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ลักษณะท้าวสักกะ
    <o></o>
    จากพระเวท ท้าวสักกะมีองค์ เกศา เล็บ เป็นสีทอง บางตำนานบ่งว่าต่อมากลายเป็นสีแดง แต่ของไทยมีองค์เป็นสีเขียว มีผู้ชี้แจงว่าท้าวสักกะหรือพระอินทร์ทรงเป็นผู้กำหนดฝน กำหนดความเจริญงอกงามของพืชพันธุ์ธัญญาหาร ที่อุบัติเจริญงอกงามมีสีเขียวชอุ่มปกคลุมไปทั่วโลก จึงกำหนดให้ท้าวสักกะมีสีเขียว
    <o></o>
    หลายตำนานโบราณ บ่งถึงท้าวสักกะจะสถิตอยู่ทางทิศตะวันออก สำหรับทางพุทธทำนาย เมืองรัตนโกสินทร์ก็อยู่ทางตะวันออกเช่นกัน เป็นเมืองของพระอินทร์หรือท้าวสักกะที่มีแก้ว 9 ประการ โดยโกสินทร์หรือโกสีย์ คือพระอินทร์ แต่ส่วนมากเรียกกรุงรัตนโกสินทร์ว่าเมืองเทวดา สำหรับแก้วต่างๆ น่าจะมีความเกี่ยวเนื่องกับวชิราวุธของท้าวสักกะ ที่มีประกายสะท้อนแสงสดใสงดงาม <o></o>
    <o></o>
    มเหสีของพระอินทร์<o></o>
    <o></o>
    มเหสีของพระอินทร์นั้น ตรวจดูตามหนังสือต่างๆ ว่า มีองค์เดียว และโดยมากเรียกว่า "อินทราณี" หรือ "ศจี"<o></o>
    หนังสือพจนานุกรมภาษาสันสกฤตได้กล่าวไว้ว่า "มเหสี" ของ พระอินทร์ มีนามเรียกหลายชื่อว่า ศจี อินทราณี มโฆนี อินทรศักติ ปุโลมชา และ เปาโลมี ดังนี้ ในคัมภีร์ฤคเวทกล่าวว่า ตามบรรดาสตรีทั้งหลาย อินทราณีมีโชคดียิ่งกว่าหญิง ใดๆ ทั้งสิ้น<o></o>
    <o></o>
    ตามพระไตรปิฏกและศาสนาฮินดู บ่งถึงพระอินทร์ มีมเหสีมากมาย ดังปรากฎนาม นางสุธรรมา สุชาดา สุนันทา สุจิตรา ซึ่งนางทั้ง 4 เป็นภรรยาของ”มฆ” มาณพ เมื่อสมัยเป็นมนุษย์ก่อนที่จะเกิดเป็นท้าวสักกะั และนาง ทั้งสามได้ไปเิกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ยกเว้นนางสุชาดา ที่ถูกลงโทษก่อน แต่ในที่สุดก็ได้ไปอยู่บนสวรรค์เช่นกัน<o></o>
    <o></o>
    ท้าวสักกะมีช้างทรงนามคชาเอราวัณ ซึ่งปกติจะเป็นเทพบุตรรูปงาม ยามท้าวสักกะจะไปไหน ก็จะแปลงเป็น ช้างเอราวัณ ให้ทรง<o></o>
    <o></o>
     
  14. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    อดีตชาติของท้าวสักกะ
    <o></o>
    ผู้สนใจเรื่องนี้ควรค้นหา อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท อัปปมาทวรรคที่ ๒

    ๗. เรื่องท้าวสักกะ [๒๑] ในกาลก่อนเป็นมนุษย์ ได้เป็นมาณพชื่อมฆะ และเหตุที่ท้าวสักกะได้พระนามต่างๆ ความ พิสดารว่า เจ้าลิจฉวีนามว่า มหาลิ อยู่ในเมืองเวสาลี. พระองค์ทรงสดับเทศนาในสักกปัญหสูตร๑- ของพระตถาคตแล้ว ทรง ดำริว่า “พระสัมมาสัมพุทธเจ้าย่อมตรัสสมบัติของท้าวสักกะไว้มากมาย, พระองค์ทรงเห็นแล้วจึงตรัส หรือไม่ทรงเห็นแล้วตรัสหนอแล? ทรงรู้จักท้าวสักกะหรือไม่หนอ? เราจักทูลถามพระองค์.”<o></o>
    <o></o>
    เมื่อมฆะมาณพ สิ้นอายุได้บังเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นท้าวสักกะ เนื่องจากได้ประพฤติปฏิบัติวัตตบท ๗ ประการได้แก่<o></o>
    <o></o>
    ๑. เลี้ยงมารดาบิดาตลอดชีวิต<o></o>
    ๒. ประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ในตระกูลตลอดชีวิต<o></o>
    ๓. มีวาจานุ่มนวลสุภาพตลอดชีวิต<o></o>
    ๔. มีวาจาไม่ส่อเสียดตลอดชีวิต<o></o>
    ๕. มีใจปราศจากความตระหนี่ ยินดีในการแจกทาน ครองเรือนตลอดชีวิต<o></o>
    ๖. มีวาจาสัตย์จริงตลอดชีวิต<o></o>
    ๗. ไม่โกรธ แม้ว่าถ้าโกรธก็ระงับได้ทันทีตลอดชีวิต<o></o>
    <o></o>
    ท้าวสักกะทรงมีหลายชื่อ แต่ละชื่อบอกถึงคุณสมบัติหรือกุศลที่ทรงได้ทำมาในอดีต<o></o>
    <o></o>
    ๑. ท้าวมฆวาน - เมื่อสมัยเป็นมนุษย์ชื่อว่า มฆะ<o></o>
    ๒. ท้าวปุ รินททะ- เมื่อสมัยเป็นมนุษย์ได้ให้ทานในเมือง<o></o>
    ๓. ท้าวสักกะ- เมื่อสมัยเป็นมนุษย์ได้ให้ทานโดยความเคารพ<o></o>
    ๔. ท้าววาสะ หรือวาสพ - เมื่อสมัยเป็นมนุษย์ได้ให้ที่พัก<o></o>
    ๕. ท้าวสหัสสักขะ หรือ สหัสสเนตร หรือ ท้าวพันตา – ทรงคิดรู้ความทั้งพันชั่วเวลาครู่เดียว <o></o>
    ๖. ท้าวสุชัมบดี - ทรงมีชายาชื่อสุชา<o></o>
    ๗. ท้าวเทวานมินทะ หรือพระอินทร์ – ทรงครอบครองราชย์สมบัติเป็นอิสริยาธิบดีแห่งทวยเทพชั้นดาวดึงส์ <o></o>
    <o></o>
    อ้างอิงทางพระพุทธศาสนา<o></o>
    <o></o>
    ท่านผู้ที่สนใจเร่องท้าวสักกะ บางบทจะดูได้ที่ <o></o>
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ อรรถกถา กุลาวกชาดก และความ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ ข้อ [๑๑] ถึง [๓๗] อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท อัปปมาทวรรคที่ ๒ ๗. เรื่องท้าวสักกะ [๒๑] และ คัดลอกจาก: ธรรมะเพื่อชีวิต เล่มที่ ๓๓ ฉบับเข้าพรรษา ๒๕๔๕ มูลนิธิพุทธศาสนศึกษา วัดบุรณศิริมาตยาราม หรือ หาโคยใช้ “พระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่แห่งสรวงสวรรค์” <o></o>
     
  15. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    เรื่องที่ควรศึกษาของท้าวสักกะ<o></o>
    <o></o>
    อานิสงส์ความไม่ประมาท
    <o></o>
    พระศาสดาตรัสว่า “มหาลิ มฆมาณพปฏิบัติอัปปมาทปฏิปทาอย่างนี้, ก็แล มฆมาณพนั่น ไม่ประมาทอย่างนี้ จึงถึงความเป็นใหญ่เห็นปานนี้ ทรงเสวยราชย์ในเทวโลกทั้งสอง, ชื่อว่าความไม่ประมาทนั่น บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น สรรเสริญแล้ว, เพราะว่า การบรรลุคุณวิเศษซึ่งเป็นโลกิยะ และโลกุตระแม้ทั้งหมดย่อมมีได้ เพราะอาศัยความไม่ประมาท” ดังนี้แล้ว <o></o>
    ตรัสพระคาถานี้ว่า<o></o>

    “ท้าวมฆวะ ถึงความเป็นผู้ประเสริฐกว่าเทพยดา ทั้งหลาย เพราะความไม่ประมาท; บัณฑิตทั้งหลายย่อม สรรเสริญความไม่ประมาท, ความประมาทอันท่านติเตียน”<o></o>
    <o></o>
    ท้าวสักกะตรัสสรุปเรื่อง ความเพียร
    <o></o>
    ถึงกระนั้น สุวีรเทวบุตรก็ยังขอพรว่า "ขอพระองค์ได้โปรด ประทานพรความสุขชนิดที่ไม่มีทุกข์โศก โดยไม่ต้อง ทำอะไรเลย"<o></o>
    <o></o>
    พระ อินทร์ตรัสว่า "ถ้าจะมีใครดำรงชีวิตอยู่โดยไม่ต้องทำอะไรในทิศทางไหน นั่นเป็นทางนิพพานแน่ ให้ท่านจงไป และช่วยบอกข้าพเจ้าให้ไปด้วย"<o></o>
    <o></o>
    ท้าวสักกะตรัสสรุปเรื่อง ขันติ
    <o></o>
    พระมาตลีเทพสารถีจึงทูลถามพระอินทร์ว่า "ทรงอดกลั้นได้ เพราะกลัว หรือว่า เพราะอ่อนแอ"
    <o></o>
    พระอินทร์ตรัสว่า " ไม่ใช่เพราะเราทนได้ไม่ใช่เพราะกลัว อ่อนแอ แต่วิญญูชนเช่นเราจะตอบโต้กับพาลได้อย่างไร"<o></o>
    <o></o>
    พระมาตลีแย้งว่า "พาลจะกำเริบถ้าไม่กำหราบเสีย เพราะฉะนั้นผู้มีปัญญาพึงกำหราบเสียด้วยอาชญาอย่างแรง"<o></o>

    พระอินทร์ "เมื่อรู้ว่าเขาโกรธแล้วมีสติสงบลงได้ นี่แหละ เป็นวิธีกำหราบพาล"<o></o>

    ความไม่โกรธ<o></o>
    <o></o>
    ครั้ง หนึ่งพระอินทร์เข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าแล้วทูลถามว่า "ฆ่าอะไรได้อยู่เป็นสุข ฆ่าอะไรได้ไม่โศก" พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า "ฆ่าความโกรธ"<o></o>
    <o></o>
    ในครั้ง หนึ่งได้มียักษ์ตนหนึ่งผิวพรรณเศร้าหมอง รูปร่างน่าเกลียด ขึ้นไปนั่งบนอาสนะของพระอินทร์ พวกเทพชั้น ดาวดึงส์ พากันโพนทนาติเตียน แต่ยิ่งโพนทนาติเตียน ยักษ์นั้นก็ยิ่งงามยิ่งผ่องใส จนพวกเทพ พากันประหลาดใจว่า น่าจะเป็นยักษ์กินโกรธ<o></o>
    <o></o>
    พระอินทร์ทรงทราบความนั้น แล้วได้เสด็จเข้าไป ทำผ้าเฉวียงพระอังสะข้างซ้าย คุกเข่าขวาลง และ ประคองอัญชลี เหนือพระเศียร ประกาศพระนามของพระองค์ขึ้น 3 ครั้งว่า พระองค์คือ ท้าวสักกะจอมเทพ ยักษ์นั้นกลับ มีผิวพรรณ เศร้าหมอง รูปร่างน่าเกลียดยิ่งขึ้นจนหายไปในที่นั้น พระองค์ขึ้นประทับบนอาสนะของพระองค์ แล้วตรัสอบรมพวกเทพ ตรัสว่า "พระองค์ ไม่ทรงโกรธมาช้านาน ความโกรธไม่ตั้งติดในพระองค์ แม้จะโกรธชั่ววูบเดียว ก็ไม่กล่าวผรุสวาจา ทรงข่มตนได้"<o></o>
    <o></o>
    เกร็ดเล็กๆ น้อยๆ <o></o>
    <o></o>
    ...พระผู้เป็นเจ้าพระองค์ใด...ในคราแรกเริ่มเดิมทีอุบัติขึ้น เป็นสิ่งแรกที่มีเจตภูต <o></o>
    พระผู้เป็นเจ้าองค์ซึ่งพิทักษ์เทพเจ้าทั้งหลาย ด้วยอานุภาพแห่งพระองค์<o></o>
    พระผู้เป็นเจ้าองค์ซึ่งสองโลกต้องตระหนักด้วยเดชานุภาพ และศักดานุภาพของพระองค์<o></o>
    พระผู้เป็นเจ้าองค์นั้นแล มนุษย์ทั้งหลายเอ๋ย...คือ พระอินทร์!!! <o></o>

    ...พระผู้เป็นเจ้าองค์ใดบังคับโลกที่สั่นสะท้านให้นิ่งได้<o></o>
    ทำความมั่งคงให้แก่ขุนเขาที่หวั่นไหว พระผู้เป็นเจ้าองค์ใดสร้างสวรรค์ขึ้น
    พระผู้เป็นเจ้าองค์นั้นแล มนุษย์ทั้งหลายเอ๋ย...คือ พระอินทร์!!!<o></o>

    ข้อความจาก "หนังสือปรีชาญาณของสิทธัตถะ" โดย สมัคร บุราวาส

    <o></o>
     
  16. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    พุทธศาสนา นิกายวัชรยาน (Vajrayana: พุทธศาสนาสายทิเบต เป็นลัทธิพุทธตันตระ)
    <o></o>
    พระพุทธเจ้าได้สอน เรื่องของวัชรยานไว้ตั้งแต่สมัยพุทธกาล เช่น กาลจักระ ตันตระ หลังจากได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว 1 ปี แก่พระโพธิสัตว์ที่บำเพ็ญในภูมิที่สูง ฉะนั้นคำสอนตันตระจึงถือว่าเป็นคำสอนลับเฉพาะ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านได้เหมือนสายฟ้า คำสอนวัชรยานมีไว้สำหรับผู้ที่มีพื้นฐานปัญญาจากมหายานเป็นอย่างดี จึงสามารถเข้าใจคำสอนอันลึกซึ้งได้ <o></o>
    <o></o>
    พระวชิรปาณีโพธิสัตว์<o></o>

    คนจีนเรียกพระวชิรปาณีโพธิสัตว์ว่า ซี้กิมกังพู่สะ มีกายสีเขียว ถือวชิระเป็นอาวุธ ศักติชายาชื่อ สุชาดา ซึ่งโดยภาพรวมแล้วคือพระอินทร์ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงมีหน้าที่ในการปราบยักษ์มาร เป็นผู้บันดาลฝน และช่วยเหลือเมื่อคราวที่พระศากยมุนีพุทธเจ้าเสด็จออกบวช และปรินิพพาน<o></o>
    <o></o>
    พระวัชรปาณีหรือพระอินทร์ สามารถเนรมิตกายได้หลายลักษณะ และมักสร้างให้มีลักษณะน่ากลัว บ้างก็เป็นรูปกายมนุษย์ มี 3 พระเนตร มีเส้นผมรุงรัง สวมมงกุฏกะโหลกมนุษย์ มีงูเป็นสายสังวาลย์ ภูษาทรงหนังเสือ ซึ่งลักษณะนี้คล้ายพระศิวะมหาเทพในศาสนาพราหมณ์ มีปางต่างๆ มากมาย อาทิ นีรามปาลาวัชรปาณี อจละวัชรปาณี และมหาจักรวัชรปาณี เป็นต้น<o></o>
    <o></o>
    วัชรปาณีโพธิสัตว์นั้น ไม่เคยปรากฏว่า อยู่โดดเดี่ยวช่วยเหลือสัตว์โลกแต่เพียงลำพัง มักมาพร้อมเทพบริวารอื่นๆ<o></o>
    <o></o>
    ศิลปินที่วาดรูปพระอินทร์ได้งดงาม จะถือว่าเป็นมหากุศลอย่างยิ่ง นี่เป็นข้อสังเกตหนึ่ง ที่ทำให้การสร้างพระรูปของท้าวสักกะหรือพระศรีอารย์มีความสวยงาม แต่คนส่วนมากจะไม่รู้จักพระรูปของพระศรีอารย์หรือท้าวสักกะ<o></o>
    <o></o>
    พระรูปของท้าวสักกะ หรือพระศรีอารย์ เช่น พระแก้วมรกต พระพุทธชินราช พระจักรพรรดิ เป็นต้น <o></o>

    [​IMG]

    และจะเห็นได้ที่พุทธศาสนาฝ่ายมหายานและวัชรยาน โดยสังเกตพระเนตที่สาม และวัชราวุธ (สายฟ้า)

    [​IMG]

    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 สิงหาคม 2010
  17. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    แผ่นดินใดเบียดเบียน เพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์ ทั้งธรรมชาติ

    โดยเกินความจำเป็น และประพฤติต่อเนื่องช้านาน

    ย่อมเป็นวิบาก นำสู่วาระชำระกรรม
     
  18. numtip09

    numtip09 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +7
    สวรรค์มีจริงหรือคะ???

    ก่อนอื่นหนูต้องแนะนำตัวก่อนนะคะ หนูชื่อ น้ำทิพย์ค่ะ หนูบังเอิญเปิดเวปมาเจอกระทู้ของพี่ออร์กะพอดี อ่านไป อ่านมา ก็ยังไม่เข้าใจ (สงสัยจะไกลตัวอ่ะค่ะ) แต่ที่หนูสงสัยมากที่ซู๊ด ด ด! เลย คือ...สวรรค์มันมีอยู่จริงหรือคะ??? พี่ออร์กะช่วยตอบหนูเข้าใจหน่อยนะคะ ได้โปรดชี้แนะหนูด้วยค่ะ หนูอยากรู้จริงๆ ??? ^__^
     
  19. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> <o></o>
    ขออนุโมทนาในคำถามและข้อชี้แนะอ่านไป อ่านมา ก็ยังไม่เข้าใจ” นั้น พี่ออร์กะขอโทษ และเป็นสิ่งที่พี่ออร์กะ ควรปรับปรุงข้อมูลให้ชัดเจนขึ้นอีกครับ พี่ออร์กะอยากให้คุณหนู น้ำทิพย์ ช่วยกรุณาชี้มาเป็นข้อๆ ถ้าทำได้จะเป็นการดีที่ซุ๊ด ด ด! ครับ หรือสรุปมาก็ได้ ว่าอะไรที่พี่ออร์กะควรปรับปรุงแก้ไขให้ชัดเจนขึ้น จักขอบคุณยิ่งครับ<o></o>
    <o></o>
    ข้อแนะนำ จากคุณหนูน้ำทิพย์ น่าจะมีประโยชน์กับท่านอื่นที่อาจมีข้อสงสัยแบบเดียวกัน แล้ว พี่ออร์กะ จะได้ค้นหาว่าจะปรับแก้ ปรับเพิ่ม อย่างไรให้เข้าใจได้ดีกว่านี้ครับ <o></o>
    <o></o>
    ตอบคำถาม สวรรค์มีจริงหรือคะ???หนูอยากรู้จริงๆ ???” ขอบคุณมากครับ สำหรับคำถาม ที่ประโยชน์มากๆ ครับ เพราะคนไม่น้อยทั่วโลกในทุกๆศาสนา มีความเชื่อว่าสวรรค์มีจริง ศรัทธาเรื่องสวรรค์ในสมัยโบราณถูกสอนถ่ายทอดกันมา และศาสดาของแต่ละศาสนาโลกทั้งหลายได้กล่าวถึงสวรรค์ไว้เช่นกัน ศัพท์คำว่า “สวรรค์” เป็นที่รู้จักในทุกชาติ ทุกภาษา เหมือนๆ คำว่าพระอาทิตย์ พระจันทร์ ก็มีคำเรียกไม่ว่าภาษาไหนๆ ครับ สวรรค์จึงเป็นเรื่องที่มนุษยโลกกล่าวขวัญกันมานานแล้ว<o></o>
    <o></o>
    เรื่องสวรรค์นั้น เป็นไปโดยศรัทธาของแต่ละบุคคล บุคคลทั่วไปพยายามทำความดีกันเพื่อจะได้ไปสวรรค์หลังจากตายไปแล้ว ทั้งๆ ที่สวรรค์นั้นอยู่ที่ไหน มีจริงหรือไม่ ก็ไม่มีใครมีหลักฐานมาแสดงครับ แต่ก็ได้ยึดถือไว้ในจิตใจ แต่บางคนก็ทำความดีโดยไม่ได้คิดว่าจะไปสวรรค์ แต่เป็นไปตามสังคมที่ดี
    <o></o>
    ผู้คนตะวันตกรุ่นใหม่ๆ เรียกว่า atheist (เอเทียสท์) เลิกยึดติดกับความเชื่อเรื่องพระเจ้า มีเพิ่มมากขึ้นๆ คนพวกนี้ไม่สนใจเรื่องสวรรค์ แต่เขาก็ประพฤติปฏิบัติตามสังคมที่ดี และมีความคิดเห็นตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มองอะไรๆ ด้วยเหตุผล ถึงแม้ว่างานวิทยาศาสตร์บางเรื่องเข้าใจได้ หรือไม่ได้ วันนี้เป็นอย่างนี้ วันพรุ่งนี้เปลี่ยนไป ก็ยังดีกว่าเรื่องสวรรค์ที่พวกเขาคิดว่าเป็นเรื่องมงายมากกว่าครับ แต่การที่เราจะเลิกล้มความคิดในเรื่องสวรรค์ ควรได้พิจารณาให้รอบคอบ เพราะก็ไม่มีนักวิทยาศาสตร์ที่ไหนบนโลกสามารถพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้า และสวรรค์ไม่มีจริง แม้นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกเอง ก็กำลังพยายามหาอนุภาคของพระเจ้าอยู่ในขณะนี้ และเราก็ควรพิจารณาว่า งานวิทยาศาสตร์อีกมาก ตั้งอยู่บนทฤษฎีที่ไม่สามารถชี้ชัดว่าเป็นจริงหรือไม่อย่างไรเช่นกัน เมื่อมีเครื่องมือที่ทันสมัยขึ้น วิชาการเปลี่ยนไป เกิดทฤษฎีใหม่ขึ้นมาหักล้างทฤษฎีเก่าๆ หรือมีประสบการณ์ธรรมชาติเกิดขึ้นทำให้ ทฤษฎีเก่าล้มเลิกไป จัดหาทฤษฎีใหม่ขึ้นมาแทน สิ่งเหล่านี้เป็นไปตามปรัชญาของพระพุทธเจ้าที่ตรัสไว้กว่า 2500 ปีมาแล้วในเรื่องของไตรลักษณ์
    <o></o>
    ออร์กะอยากให้เราได้แยกอะไรที่เป็นปรัชญา ออกจากศรัทธาหรือความเชื่อทางศาสนา จะเป็นประโยชน์ในการทำความเข้าใจใ นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคตรัสสอนไว้ดีแล้วครับ
    <o></o>
    เราจะมาพิจารณาประเด็นที่ว่าสวรรค์มีจริงหรือไม่ครับ จะว่า “สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ” หรือเอาศรัทธาทางศาสนามาตอบ คงไม่เหมาะในการตอบกระทู้นี้ครับ ออร์กะขอยึดกาลามสูตรเป็นฐานการพิจารณา และจะใช้หลักสมมุติฐานแบบงานทางวิทยาศาสตร์หนึ่งที่ใช้กันครับคือ การสร้างข้อมูลเปรียบเทียบ ที่มีหลักฐานเป็นที่ยอมรับถึงแม้ไม่ทุกคนแต่เป็นไปทั่วโลก ดังนี้ครับ
    <o></o>
    1. มนุษย์และสัตว์ เมื่อเปรียบเทียบจิตวิทยาศาสตร์พื้นฐานแล้ว มีอะไรคล้ายๆ กัน เช่นความรัก ความโกรธ เป็นต้น ผู้ที่เลี้ยงสัตว์ เช่น หมา แมว จะทราบว่าสัตว์เลี้ยงของตน ก็มีความคิดความรู้สึกว่า สัตว์ที่เราเลี้ยงนี้ มีความรู้สึกไม่ต่างไปกับคน เพียงแต่สัตว์พูด อธิบายให้เราเข้าใจไม่ได้ แต่ในบางครั้ง เขาแสดงออกให้เราเข้าใจได้
    <o></o>
    2. ถ้าเราสังเกตจะเห็นว่าเด็กแรกเกิด มีลักษณะเด่นอยู่สองอย่างคือ ลักษณะที่เป็นไปตามธรรมชาติ เช่น ร้องเพราะหิว ร้องเพราะความไม่สบายตัว และอีกลักษณะหนึ่งที่ไม่น่าจะเกี่ยวกับร่างกาย ที่เราสามารถสังเกตเห็นได้คือ เด็กคนหนึ่งจะต่างกับเด็กอีกคน เช่น การแสดงออกถึงจิตใจของเด็ก บางคน อารมณ์ดี อารมณ์ร้าย เด็กอ่อนบางคนจะเห็นรอยยิ้ม สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นได้ก่อนที่เด็กแรกเกิดนั้นจะได้เรียนรู้จากแม่ วิทยาการทางแพทย์ยังไม่มีข้อสรุปในเรื่องเหล่านี้ ยังทำการวิจัยกันอยู่จนถึงทุกวันนี้ว่าอะไรเป็นสาเหตุ<o></o>
    <o></o>
    3. ทางการแพทย์แล้ว เข้าใจว่าผู้ป่วยที่ไม่มีความรู้สึกทางจิต เรียกว่าเจ้าหญิงนิทรา มีชีวิตอยู่ได้ เพราะการกระตุ้นของยาและอาหาร แต่ผู้ป่วยไม่มีการตอบสนองทางจิต ถ้าถอดเครื่องช่วยชีวิตออก ก็เป็นอันว่าร่างกายไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ต่อไป ทำไมถึงนำเอาผู้ป่วยที่เรียกว่าเจ้าหญิงมากล่าว ก็เพราะเรากำลังรวบรวมเรื่องกายหยาบ หรือร่างกายที่ประกอบด้วยธาตุทั้ง 4 กับสิ่งที่เรามองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ แต่เราแยกสิ่งนี้ออกจากร่างกาย หรือที่เราเข้าใจกันด้วยคำกล่าวที่ว่า “จิต” หรือ “วิญญาณ”
    <o></o>
    4. ในบางครั้งบางคนอาจมีประสบการณ์ หรือจะทดลองเองก็ได้ เช่น มองใครสักคนหนึ่งเนื่องจากเรามีความคิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งกับบุคคลนั้น ในขณะที่เขาผู้นั้นไม่ได้มองมาทางเรา แต่เราอาจทำให้เขาหันมาทางเราได้ หรือเราคิดถึงใครสักคนหนึ่ง แล้วเขาได้ติดต่อเรามา นี่ก็น่าจะเป็นผลจากพลังของจิต
    <o></o>
    5. บางท่านอาจเคยมีประสบการณ์ หลังจากท่านผู้ใกล้ชิดกับเรา ได้จากไปอย่างไม่มีวันกลับประมาณ ไม่น่าจะเกิน 7 วัน บางทีเราอาจได้กลิ่นธูป กลิ่นดอกไม้ เป็นต้น ทั้งๆ ที่ในบริเวณนั้นไม่มีดอกไม้ ไม่มี ธูป เทียน ผู้ที่มีประสบการณ์ พอทราบได้ว่า ผู้ที่จากไปได้กลับมาเยือน ทั้งนี้เราอาจจะไม่เห็น แต่เป็นความรู้สึกรับรู้ได้ สำหรับชาวตะวันตก เขาไม่กลัวผีเพราะเขาสอนมาแต่เด็กๆ ว่าผีน่ารักมากกว่าน่ากลัว และพวกเขาบางคนมีประสบการณ์กับผี เมื่อกล่าวถึงผีไทย เราอาจกลัวผีเพราะเราถูกสอนมาว่า ผีเป็นสิ่งน่ากลัวมาแต่เด็กๆ อย่างนั้นหรือเปล่าครับ
    <o></o>
    6. การทำพิธีเกี่ยวกับวิญญาณ หรือการระลึกถึงผู้ตายไป ให้ไปในทางดี ไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นไปทางศาสนาศาสตร์อย่างเดียว แต่ความรู้สึกเหล่านี้อยู่ในจิตสำนึกในของคนทั่วๆ ไป แต่ไม่ได้หมายถึงทุกๆ คน <o></o>
    <o></o>
    7. งานการวิจัยในเรื่อง ประสบการณ์ที่จิตออกจากร่างกายเรียกว่า out-of-body experience (OBE) ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับบางคนโดยไม่รู้ตน และคนใกล้ตาย คือผู้ที่แพทย์ได้รับรองว่าเสียชีวิตแล้ว แต่กลับฟื้นขึ้นมาใหม่ได้อีก เราเรียกว่า near death experience (NDE) ซึ่งทั้ง OBE และ NDE เป็นสิ่งที่ยังหาคำตอบที่แท้จริงไม่ได้ ทางแพทย์กำลังศึกษาหาข้อเท็จจริง แต่ที่สามารถกล่าวได้ คือ เรื่องนี้มีเรื่องจิตเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
    <o></o>
    เมื่อกล่าวถึงเรื่อง OBE มีวิธีการที่เราอาจเข้าใจว่าจิตแยกกับกายได้อย่างไร สิ่งนี้คือการปฏิบัติตาม หลักการของ ฌาน 4 = รูปฌาน 4
    1. ปฐมฌาน (ฌานที่ 1) มีองค์ 5 คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
    2. ทุติยฌาน (ฌานที่ 2) มีองค์ 3 คือ ปีติ สุข เอกัคคตา
    3. ตติยฌาน (ฌานที่ 3) มีองค์ 2 คือ สุข เอกัคคตา
    4. จตุตถฌาน (ฌานที่ 4) มีองค์ 2 คือ อุเบกขา เอกัคคตา
    <o></o>
    ซึ่งออรกะได้ปฏิบัติแล้ว แค่พยามปฏิบัติในขั้นปฐมฌาน ก็เข้าใจว่า เราทุกคนที่มีสมาธิ มีความตั้งใจ น่าจะหาความสงบด้วยฌานนี้ได้ ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ รู้ได้ด้วยตนเอง แต่โปรดอย่าไปยึดหรือนึกถึงเรื่องอภินิหาริย์ แล้วในบางโอกาส ท่านจะเข้าใจว่าเราสามารถแยกกายกับจิตได้ ถ้าท่านทำได้ในขั้นปฐมฌาน ท่านจะเริ่มเข้าใจได้บ้างแล้ว ในบางครั้งท่านอาจเข้าใจว่าตนเองลอยอยู่ ก็ขอให้ตัดออกเสีย กลับมาตั้งต้นใหม่ อย่าไปติดกับสิ่งนั้น ถ้าไปยึดติดจะเป็นสิ่งที่ไม่สมควร โปรดตระหนักถึงจุดประสงค์หลักคือ การปฏิบัติเพื่อความสงบ ถ้าวันนี้จิตไม่สงบก็เลิก วันไหนสงบก็ปฏิบัติใหม่ วันละ 5 นาที หรือนานๆ ครั้ง ก็ยังดีกว่าไม่ปฏิบัติ<o></o>
    <o></o>
    เรื่องจิตกับกายมีมากมาย ขอสรุปไว้เพียงข้อ 1 ถึง 7 เพื่อสรุปเป็นสมมติฐานได้ว่า สัตว์ เช่น มนุษย์ และสัตว์บางจำพวก อาจแยกให้เห็นว่าสัตว์เหล่านี้ มีร่างกายที่ประกอบไปด้วยธาตุทั้ง 4 และมีวิญญาณ (Soul) ที่ไม่ประกอบไปด้วยธาตุทั้ง 4 เรื่องคำศัพท์เกี่ยวกับ วิญญาณ เป็นที่รู้จักกันในทุกชาติ ทุกภาษา ดังนั้นไม่ว่าคนสมัยไหนถือกันมาว่า วิญญาณนั้นเป็นสิ่งลี้ลับก็จริง แต่เป็นที่ยอมรับของคนส่วนมากว่า วิญญาณมีจริง จากนี้เรามาพิจารณาเรื่องของการเป็นผู้นำ <o></o>
    <o></o>
    มนุษย์และสัตว์ มีผู้นำ เช่น ในหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ประเทศ โลก สัตว์ก็มีผู้นำหรือจ่าฝูง สรุป ตามธรรมชาติ ผู้นำควรมีมาแต่โบราณกาลครับ และในอนาคตก็ไม่ควรเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น ผู้นำในแต่ละระดับย่อมมีอยู่
    <o></o>
    เมื่อยกเอาเรื่องของ วิญญาณ และการเป็นผู้นำมาประกอบกัน น่าจะเป็นเหตุผลหนึ่งชี้ได้ว่า วิญญาณ ย่อมมีผู้นำในระดับต่างๆ เช่นกัน แต่ไม่มีใครมีหลักฐานพิสูจน์ให้เห็นได้ว่า วิญญาณต่างๆ อยู่กันที่ไหน อยู่กันอย่างไร แล้ววิญญาณที่ทำความดี กับวิญญาณที่ทำความชั่วจะอยู่กันอย่างไร ก็คงกล่าวไม่ได้ จะตามกันไป ฟังกันไปเหมือนที่พระพุทธเจ้าตรัสห้ามไว้แล้วในกาลามสูตร ซึ่งเป็นปรัชญา ไม่ใช่ศรัทธา เหมือนไตรลักษณ์ ก็คงกล่าวไม่ได้ นอกจากว่าเรื่องที่กล่าวจะเป็นประโยชน์ในความรู้ความมีปัญญาหรือไม่
    <o></o>
    มีบุคคลบางคนที่ภาคภูมิใจว่าตนเองเป็นนักวิทยาศาสตร์ หรือบางคนแสดงว่าสนใจงานวิทยาศาสตร์ ลบหลู่ในเรื่องเกี่ยวกับเทพ อาจโดยไม่รู้ตนนั้น ออร์กะอยากเรียนให้ท่านทราบด้วยความเคารพว่า ถ้าเรื่องเทพเป็นจริง การกลับใจนั้นมันสายไปเสียแล้ว เหมือนเด็กเมื่อเล็กๆ เปรียบเสมือนผ้าขาวที่สะอาดบริสุทธิ์ แต่ผู้ใหญ่ที่ขาดคุณธรรมปัญญา เอาสีสกปรกไปทาให้ผ้านั้นด่างพร้อย จะลบอย่างไรก็ไม่หมด ซึ่งจะต่างกับเด็กที่พ่อแม่ผู้มีคุณธรรมปัญญาเลี้ยงดู เอาสีสวยๆ มาทาบนผ้าที่ขาวสะอาดให้เกิดเป็นภาพสวยสดงดงาม สิ่งที่พ่อแม่ผู้มีคุณธรรมปัญญา ได้ตั้งใจในการวาดภาพที่ดีงามลงไปบนผ้าที่ขาวสะอาดบริสุทธิ์ผืนนั้น ย่อมได้รับผลตอบสนองในทางที่ดีมีคุณธรรมเช่นเดียวกัน <o></o>
    <o></o>
    ถ้าเรามาตั้งสมมติฐานว่า วิญญาณที่ดี มีคุณค่า หรือเราเรียกว่ากายละเอียด อาจมีที่ที่เหมาะสม สำหรับกายละเอียดเหล่านี้ไดอยู่ได้อาศัย ที่เราน่าจะสมมุติเรียกว่า “สวรรค์” ดังนั้นการที่มนุษย์จะทราบว่าสวรรค์มีจริงไหม จำเป็นต้องมีการพิสูจน์ข้อเท็จจริง ไม่ใช่เชื่อกัน มีศรัทธากัน<o></o>
    <o></o>
    คำถามมีอยู่ว่าการพิสูจน์ว่าสวรรค์มีจริงจะทำได้อย่างไร จะมีหนทางทำได้ไหม นี่เป็นเรื่องที่ Metteya.org และเครือข่ายกำลังพยายามให้ผู้สนใจได้คิดถึงหลักความจริงว่า สวรรค์นั้นมีหนทางการพิสูจน์ให้เป็นรูปธรรมได้ ทางออร์กะและเพื่อนๆ ขอขอบพระคุณ Metteya.org ที่ได้ให้ข้อมูลที่สำคัญๆ มาแล้ว และกำลังจะได้นำมาลงให้ท่านผู้สนใจได้ทราบต่อไป ในขณะนี้ที่ได้นำลงในบทความแล้วคือ
    <o></o>
    1. การสรุปทบทวนเรื่องของท้าวสักกะ ที่ทุกหลักฐานจากศรัทธาโบราณ และศาสนาโลกที่สำคัญๆ โดยเฉพาะการตรัสสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ตรัสไว้ในเรื่องของท้าวสักกะ ต่างมีหลักฐานความเป็นมาเหมือนๆ กัน มีเหตุผล และมีที่มาที่ไปเช่นกัน สิ่งที่ท่านควรได้คิดพิจารณาว่า ทำไมการกล่าวเช่นนี้เกิดขึ้นมานับเป็นพันๆ ปี โดยผู้คนที่ไม่รู้จักกัน ต่างทั้งเวลา และสถานที่กัน แต่ทำไมเรื่องของท้าวสักกะถึงตรงกัน <o></o>
    <o></o>
    2. การพยากรณ์ต่างๆ บางส่วน ในเรื่องของท้าวสักกะ หรือที่มีชื่อเรียกอื่นๆ ได้้มาจุติแล้วบนโลกมนุษย์ในช่วงของสงครามโลกครั้งที่สอง ตรงตามพุทธทำนาย และพยากรณ์ของศาสนาที่สำคัญของโลก เพื่อการนำมนุษยโลกสร้างสันติสุขที่แท้จริงขึ้น และทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้อยู่ครบ 5,000 ปี คือเจริญรุ่งเรืองต่อไปจนถึง พ.ศ. 5,000 ก่อนที่โลกจะเข้าสู่การถูกทำลายด้วยการรวมเข้ากับพระอาทิตย์ เรื่องนี้ออร์กะกำลังจะนำมาลงต่อไป พร้อมหลักฐาน ที่แน่ๆ คือถ้าท่านใดสนใจติดตามการผิดปกติของโลกเราในขณะนี้ มีอาการผิดปกติธรรมชาติจากที่เคยเป็นมาอย่างชัดเจน ไม่ต้องถามว่านักวิทยาศาสตร์จะตอบอย่างไร แม้นาซ่าผู้นำโลกทางด้านอวกาศ ยังไม่มีคำตอบใดๆ ในบางเรื่องก้ตอบตรงๆ ว่าไม่รู้ แต่ถ้าท่านได้ศึกษาค้นคว้าถึงการพยากรณ์โบราณ จะเห็นว่าโลกกำลังเป็นไปตามการพยากรณ์ ฉะนั้นขอให้เราอย่าได้ประมาท ในสิ่งที่เรายังไม่รู้แน่ว่าอะไร เป็นอย่างไร ควรมีกุศลปัญญา มากกว่าการใช้อารมณ์และความรู้สึกของตนในการพิจารณาถึงปัญหาต่างๆ<o></o>
    <o></o>
    3. การอธิบายของออร์กะ อาจจะต่างไปจากความเข้าใจของบางท่าน แต่ก็ขอให้ถือว่า การแสดงความคิดเห็นต่างๆ เป็นไปตามความเข้าใจของแต่ละบุคคล ที่เราทุกคนพยายามทำในสิ่งที่ดีมีประโยชน์กัน ออร์กะจะพยายามยึดปรัชญาในเรื่องกาลามสูตรเป็นหลัก และจะพยายามแก้ไขให้มีความเข้าใจดีขึ้นถ้าทำได้ จะไม่ถือว่าเรื่องที่นำมาลงเป็นเรื่องที่ให้ท่านเชื่อ แต่เสนอแนวทางความคิดหนึ่งเท่านั้นครับ
    <o></o>
    4. ขอให้คุณหนูน้ำทิพย์ โปรดติดตามหนทางการพิสูจน์เรื่องสวรรค์ต่อไปว่า จะมีจริงหรือไม่อย่างไร เพื่อจะได้ตอบเรื่อง “สวรรค์มีจริงหรือคะ???”

    อย่าลืมครับ ในขณะนี้ คุณหนูน้ำทิพย์โปรดทำความเข้าใจเรื่องสรุปของท้าวสักกะไปพลางๆ ก่อนครับ เพราะมีความสำคัญยิ่งในการพิสูจน์เรื่องของสวรรค์ โดยพี่ออร์กะจะใช้สมมุติฐานการพิสูจน์ท้าวสักกะ ที่มาจุติเป็นไปได้หรือไม่นั้น เป็นพื้นฐานของสมมุติฐาน ในการหาความเป็นไปได้ถึงความเป็นจริงในเรื่องสวรรค์ครับ ถ้าเรื่องของท้าวสักกะเป็นไปได้ มีความจริง การทำความเข้าใจในเรื่องสวรรค์ควรมีโอกาสเข้าใจได้ครับ

    สรุป เราทั้งหลายน่าจะประกอบด้วย

    1. กายหยาบ เป็นสิ่งที่สำผัสได้ รู้ได้ เป็นต้น หรือกายที่ประกอบด้วยธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ โดยกายหยาบเปลี่ยนไปตามกาลเวลา มี เกิด แก่ เจ็บตาย เป็นธรรมดา และ
    2. วิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่มีธาติทั้ง 4 เป็นองค์ประกอบ แต่เป็นตัวผูกมัดเราๆ ไว้ด้วยการกระทำทั้งดีและชั่ว "กุศลกรรม และอกุศลกรรม" และควรที่จะมีวิญญาณมาก่อนที่เราทั้งหลายเกิด และยังอยู่ในสภาพของการผูกมัดไว้ด้วยกรรม หลังจากเราละทิ้งกายหยาบไปแล้ว

    ดังนั้นวิญญาณน่าจะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการที่สามารถทำได้ และยอมรับได้ตามหลักสากล ก็โดยการพิสูจน์การจุติของท้าวสักกะ และการเป็นไปของท้าวสักกะในโลกมนุษย์ ถ้าเรื่องท้าวสักกะเป็นเรื่องจริงที่ยอมรับโดยทั่วไป เรื่องของวิญญาณ และสวรรค์นั้น ไม่น่าจะมีปัญหาที่จะหาข้อเท็จจริงได้ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์

    ขอบคุณมากครับ
    ออร์กะ จขกท



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 สิงหาคม 2010
  20. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ออรฺ์กะและเพื่อนๆ ขอขอบคุณ ขอบพระคุณทุกท่าน
    ที่ได้อนุโมทนา ให้ข้อคิดเห็นที่ดี มีประโยชน์ ได้ให้กำลังใจมาด้วยดีมาโดยตลอด การเขียนเรื่องเช่นนี้ ขอรับว่ายากครับ แต่เมื่อได้รับความรู้สึกดีจากท่านทั้งหลาย ก็เสมือนเราเป็นพี่น้อง ที่มีความหวังดีต่อกัน เหมือนมีความอบอุ่นอยู่ในครอบครัวเดียวกัน มีความเข้าใจกัน ช่วยเหลือกัน ถ้ามีอะไรไม่เข้าใจ หรือมีคำถาม เราก็ช่วยกันคิด ช่วยกันตอบครับ ออร์กะและเพื่อนๆ คิดว่าสิ่งที่นำมาลงเพื่อให้ท่านได้ทราบเป็นข้อมูลพื้นฐาน จะไม่สนับสนุนให้เชื่อ แต่โปรดช่วยกันพิจารณาว่ามีประโยชน์อะไรไหม ถ้าไม่มีเราก็ไม่ควรไปสนใจครับ

    <o></o>
    ออร์กะและเพื่อนๆ ขอขอบพระคุณเจ้าของข้อมูล ข้อความ รูป ที่ออร์กะนำมาลงในบทความเพื่อให้ท่านผู้สนใจได้ศึกษา ได้อ่าน ออร์กะและเพื่อนๆ ขอขอบพระคุณ และให้เกียรติครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 สิงหาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...