ข้อ สังเกตุ ว่า เริ่มเกิดปัญญาในสมาธิ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย วิษณุ12, 12 มีนาคม 2010.

  1. Reynolds

    Reynolds เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    578
    ค่าพลัง:
    +1,501
    ผมรักศาสนาพุทธสุดใจครับ

    เชื่อ เคารพ ศรัทธา อย่าลังเลยอย่าสงสัย
     
  2. nanakorn

    nanakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    1,075
    ค่าพลัง:
    +155
    ขอบคุณปราบเทวดา คือว่า ไปที่วัดมาหลวงพ่อไล่ให้มาปฏิบัติที่ใจ
    ท่านบอกว่า อยู่ที่ไหน ก็ปฏิบัติได้ อันนี้ ใจยังไม่หนักแน่นพอ
    บางทีไปหาสถานที่เพื่อปฏิบัติ เพื่อเสริมกำลังใจ คงอีกนาน
     
  3. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    [MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.1149088/[/MUSIC]​


    ข้อ สังเกตุ ความก้าวหน้าของจิต

    เกล็ดธรรม หลวงปู่พุธ ฐานิโย
    วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา


    ความก้าวหน้าของจิตนี่ อยู่ตรงที่ว่า
    เรามีเจตนา จะงดเว้นอันใด
    แล้วเรางดเว้นได้โดยเด็ดขาด
    เรามีเจตนาจะละ โลภ โกรธ หลง
    เมื่อ โลภ โกรธ หลง อ่อนกำลังลง
    หรือว่า เกือบจะไม่มีเลย
    นั้นเป็นความก้าวหน้าของจิต

    ส่วนภูมิรู้ ภูมิเห็น อะไรต่างๆนั้น อย่าไปสนใจ
    เอาตรงที่มันหมดกิเลส
    เมื่อก่อน นี่ใครว่ามากระทบ มันมาก
    มาแล้วก็เปรี๊ยะไป

    แต่ภายหลังมาภาวนาแล้ว
    ความรู้สึกอย่างนั้นมันช้าลงหรือไม่มีเลย
    แสดงว่าจิตมันก้าวหน้า
    เพราะมันละกิเลสได้เยอะแล้ว
    ให้กำหนดหมายเอาอย่างนี้


    วันนี้ขอกล่าวธรรมะ พอเป็นคติเตือนใจ
    ของบรรดาท่านทั้งหลาย
    พอสมควรแก่กาละเวลา
    จึงขอยุติลงด้วยประการฉะนี้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
    ช่วยตอบอีกทางนะครับ
    การได้รับในสิ่งที่ไม่ชอบใจ ไม่ถูกใจ ไม่อยากได้ มันก็มีสภาวะบีบคั้นเช่นนั้นแหล่ะ มันไม่ชอบ มันทนไม่ได้

    หมั่นสงบใจ หมั่นทำสมาธิ เมื่อมีสมาธิ จะเห็นถึงรูปธรรม นามธรรม เห็นถึงต้นต่อปัญหา เห็นปัญหา เห็นความทุกข์นั้นชัดเจน จนสามารถเห็นเหตุแห่งทุกข์นั้น ๆ จนสามารถละจะต้นตอได้จริง หากรีบร้อนจะใช้สติฐานเลย เกรงว่าจะไม่ทันในปัจจุบันธรรม มันจะปรุงแรงบีบคั้นอยู่กับอดีตที่ไม่ชอบ ไม่ถูกใจ ไม่ก็อยู่กับอยากให้มันได้ดังใจหรือ กลัวในอนาคต ไม่ก็หลอกตัวเองไปวัน ๆ ทนทุกข์ไปวัน ๆ

    ไม่ต้องไปสนใจ เป็นอาการทางสมาธิ เป็นอาการที่เราหลอกตัวเอง ตามใจตัวเองมานานครับ พอมาทำดี มันก็ฝืน ๆ เขิน ๆ ปรุงแต่ง ฉุดรั้งไว้ไม่ให้ความดีมันเกิด เป็นเรื่องปรกติ เป็นเรื่องธรรมดา ระวังกรรมที่จะคิด จะพูด จะทำ ให้ปธานเกิดก็ดีครับ

    ถ้าปฎิบัติได้ในสถานที่สัปปายะ ก็จะดีมากครับ
     
  5. saturday_rainy

    saturday_rainy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2009
    โพสต์:
    335
    ค่าพลัง:
    +957
    เจ้ากรรมนายเวรคุณ snow white คงเป็นแม่มดใจร้ายแน่เลย
     
  6. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ฌานในสมถะ อารัมณูปนิชฌาน (หลวงปู่พุธ ฐานิโย )
    <O:p</O:p

    คำว่า "ฌาน" ฌาน หรือสมาธินี่ เราพอที่จะแยกออกได้เป็น 2 ประเภท 1. สมาธิในฌาน คือ สมาธิในฌานในลักษณะ ฌานสมาบัติ...ฌานฤาษี สมาธิในฌานฤาษีนี่เมื่อจิตสงบลงไปนิ่งแล้ว มีความสว่างไสว ร่างกายตัวตนหายไปหมด ยังแต่ความว่างเปล่า อันนี้คือสมาธิในฌาน เพราะไม่รู้อะไร เรียกว่า อารัมณูปนิชฌาน เมื่อจิตอยู่ในฌานแบบฤาษี จิตจะไปรู้อยู่ในสิ่ง สิ่งเดียว
    <O:p</O:p
    เช่นอย่างเพ่งกสิณ ก็ไปรู้อยู่ที่ อุคหนิมิต ถ้าเพ่งอสุภะกรรมฐาน ก็จะไปรู้อยู่ที่โครงกระดูก หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ถ้าหากว่าไม่มีสิ่งรู้ จิตก็จะรู้อยู่ที่จิตแล้วสว่างไสวอยู่อย่างไม่มีจุดหมาย ร่างกายตนตัวหายไปหมด ภูมิความรู้เหตุรู้ผลอะไรต่างๆ ไม่เกิดขึ้น มีแต่ความว่างถ่ายเดียว อันนี้เป็นสมาธิแบบฌานฤาษี ..สมาธิแบบฌานฤาษีนี้ เป็นบาทพื้นให้เกิดวิปัสสนา ถ้าเมื่อเราอยู่ในฌานฤาษี ถ้าจิตของเราออกจากฌานฤาษี พอรู้สึกว่ามีกายปรากฎขึ้น ความคิดเกิดขึ้นมาปั๊บ ผู้ภาวนาทำสติกำหนดตามรู้ไป แล้วฌานฤาษีจะกลายเป็นพลังทรง สนับสนุนจิตของเราให้เดินวิปัสสนาได้อย่างแน่วแน่ อันนี้แล้วแต่ความฉลาดของผู้ปฏิบัติ <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ทีนี้ในเมื่อจิตของเราถอนออกมาจากสมาธิเช่นนั้น มากำหนด..หมายเอาความคิดอ่านเป็นอารมณ์ แล้วก็ตามรู้ไป รู้ไป รู้ไป เมื่อเกิดวิตก วิจาร ขึ้นมาเมื่อไหร่ ภูมิจิตคิดเองสติตามรู้เอง ทุกสิ่งทุกอย่างพร้อมเหมาะเจาะกันพอดี ความคิดก็คิดขึ้น สติก็ทำหน้าที่ จดจ่อกันอยู่อย่างนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้นเอ่อเมื่อมี วิตก วิจารเป็นองค์ประกอบ เป็นองค์ฌานที่ 1 กับที่ 2 ..เมื่อองค์ฌานที่ 1 ที่ 2 เกิดขึ้นแล้ว ปีติและความสุขจะไม่เกิด เป็นไปไม่ได้ ..ปีติและความสุข ย่อมเกิดเป็นผลตามมา
    <O:p</O:p
    เมื่อเป็นเช่นนั้น จิต มีสติจดจ่ออยู่กับความคิดที่เกิดกับในปัจจุบัน กลายเป็น..เอกัคคตา คือจิตทำหน้าที่ของจิต โดยไม่มี อ่า.. เปลี่ยนแปลง จิตก็ทำหน้าที่..คิด พิจารณา สติ..ก็ทำหน้าที่ ของสติ แล้วลักษณะความดูดดื่มพระสัทธรรมคือปีติและความสุข ก็เกิดพร้อมอยู่ตลอดเวลา ความเป็นหนึ่งของจิตตามความหมายของฌานในขั้นนี้ ไม่ได้หมายความว่าหนึ่งจิต โดยไม่มีความรู้ ไม่มีสิ่งรู้ แต่สิ่งรู้นี่ปรากฏอยู่ตลอดเวลา แต่จิตเป็นหนึ่งจดจ่ออยู่กับสิ่งรู้ในปัจจุบัน เรียกว่าจิตเป็นหนึ่ง เป็นฌานที่ 1 เป็นฌานในวิปัสสนา เป็นสมาธิในอริยะมรรค สมาธิในอริยะมรรค ต้องมีสิ่งรู้ สติ ต้องมีสิ่งระลึก เมื่อจิตผ่านฌานที่ 1 ที่ 2 ไปแล้ว จนกระทั่งเข้าไปสู่ฌานที่ 4 ..กลายเป็นฌานที่ 5 จิตจะขึ้นหนีจากร่างกายลงไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างหายไปหมด

    ในช่วงที่ทุกสิ่งทุกอย่างหายไปหมดนั้น จิตอยู่ในฌานที่ 5 อากาสานัญจาตนะ (อากาสานัญจาตนฌาน) เมื่อจิตหวลที่จะมายึด.วิญญาณ. เป็นสิ่งรู้ กลายเป็น โคตระภูญาณสิ่งรู้ของจิตปรากฏขึ้นมาทันที บางที เปรียบเหมือนว่า จิตลอยเด่นอยู่เหนือโลก แต่มีกระแสมองดูโลก ทั่วหมดทั้งโลก บางทีปรากฏมีกาย..ตายลงไป จิตดูอยู่ที่ความตายนั้น แล้วก็รู้ไปตลอด จนกระทั่งกายที่มองเห็นสลายตัวไปไม่มีอะไรเหลือ หรือบางทีจิตก็มีสิ่งรู้ที่ผ่านเข้ามามีลักษณะเหมือนเมฆหมอก มีทุกสิ่งทุกอย่างที่มาวนรอบจิตอยู่ตลอดเวลา จิตในอริยะมรรคเอกายะโนมรรโค เขาตั้งตัวยืนหยัดอยู่ในความสงบนิ่ง เด่นสว่างไสวอยู่ และไม่มีความหวั่นไหวต่อสิ่งนั้นๆ ที่ผ่านเข้ามา แม้สิ่งนั้นจะมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม เขาจะรู้สิ่งนั้นอยู่ รู้อย่างไม่มีสมมติบัญญัติ ไม่มีความสำคัญมั่นหมายว่าอะไรเป็นอะไร เพราะฉะนั้นความรู้ในขั้นนี้ จึงกลายเป็นความรู้ขั้นโลกุตตระ<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->

    ( ถอดเสียงเกล็ดธรรมหลวงปู่พุธ ฐานิโย โดย พลูโตจัง )
     
  7. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    เรื่อง..ฌานในวิปัสนา ลักขณูปนิชฌาน (หลวงปู่พุธ ฐานิโย )


    <LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE>
    [FONT=&quot]ความรู้ขั้น โลกุตระ หมายถึง ความรู้ที่ไม่มี สมมติ บัญญัติ ทีนี้[FONT=&quot]ใน[/FONT]เมื่อ จิตไม่มีสมมติบัญญัติ หรือสิ่งรู้ทั้งหลายเหล่านั้นมาจากไหน ก็จิตตัวที่ละเอียดนั่นแหล่ะ มันปรุงแต่ง[FONT=&quot]ขึ้นมา[/FONT]เพื่อ[FONT=&quot]อบรม ตัวเองเพราะจิต[/FONT]ปรุงแต่ง[FONT=&quot]ขึ้นมา[/FONT]สังขารตัวนี้มันปรุงแต่งขึ้นมาแล้ว จิตไม่ยึด มันก็กลายเป็น[FONT=&quot]วิสังขาร[/FONT]เป็นแต่เพียงสิ่งรู้ของจิต สิ่ง[FONT=&quot]ระ[/FONT]ลึกของ สติ รู้แล้วก็ปล่อยวางไปเรียกว่าฌานในอริยะ[FONT=&quot]มรรค [/FONT][/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ฌานในอริยะมรรค นี่ เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน และจิตทำหน้าที่กำหนดรู้สิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ถ้าหากว่าใครรู้เห็นธรรมะในขั้นนี้ แม้จะมองเห็นร่างกายเน่าเปื่อยผุพัง จิตมันก็ไม่ว่าเน่าเปื่อยผุพัง มองเห็นความสุขทุกข์เป็นอนัตตา จิตก็ไม่ว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มี[FONT=&quot]แต่รู้อยู่[/FONT]โดยถ่ายเดียว

    เพราะฉะนั้น...ความรู้อันนี้ ท่านจึงเรียกว่า สังขาร ขั้นวิสังขาร เป็นการปรุงแต่งของจิตขั้นละเอียด จิตที่ปรุงแต่งอย่างไม่ยึดมั่นถือมั่น จึงมีประหนึ่งว่า สิ่งที่รู้ก็เป็นอันหนึ่ง จิตตัวผู้รู้ก็เป็นอันหนึ่ง ในช่วงนี้แหล่ะ นักภาวนาทั้งหลาย อย่าไปเข้าใจว่า สิ่งรู้ทั้งหลายนี่ มีเทพเจ้ามีอะไรบันดาลให้เข้ามา ปรุงแต่งมาให้เรารู้ แต่แท้ที่จริง ไอ้เจ้าจิตตัวมีปัญญาละเอียดมันปรุงขึ้นมาสอนตัวมันเอง

    ทีนี้ในเมื่อจิตไม่มีความสำคัญ มั่นหมายสิ่งใดว่าเป็นอะไร มีแต่รู้อยู่เฉยๆ ยกตัวอย่างเช่น ภาพนิมิตอาจจะบังเกิดขึ้น นี่เป็นร่างศพที่เน่าเปื่อยผุพัง แต่นี่เป็นร่างที่สวยงามที่สุด ในขณะที่จิตรู้อยู่ จิตจะไม่สำคัญ ไม่มีความเอนเอียง ลำเอียงว่า อันนี้ดี อันนี้เสีย มีความรู้สึกเสมอกันหมด

    ทีนี้แม้ว่าจะไปรู้กฏของบุญของบาป อะไรต่างๆ ก็ดี คล้ายๆ ว่าความดี...ความดีไม่ปรากฎ ความชั่วไม่ปรากฎ เพราะในขณะนั้นจิตเป็นกลาง ในเมื่อจิตเป็นกลางแล้ว จิตจึงไม่สำคัญมั่นหมายในสิ่งดีสิ่งชั่ว แต่จิตจะยอมรับกฏของธรรมชาติ กฏธรรมชาติที่เราสมมติว่า บุญนี้ เป็นสิ่งพยุงดวงจิตของเราให้สูงขึ้น แต่สิ่งที่เราสมมติว่า บาปนี้ เป็นกฏที่จะถ่วงดวงจิตของเราให้ต่ำลง คำว่าบุญบาปนี้หายไปหมด เพราะรู้อย่างไม่มีสมมติบัญญัติ เพราะฉะนั้นความรู้ใน จุดนี้จึงเป็นอันตรายแก่นักปฏิบัติ ในเมื่อไปเห็นทุกอย่างไม่มีตัว ไม่มีตน ไม่มีสมมติบัญญัติในที่สุด นิพพานัง ปรมัง มันก็สูญญังไปหมด ไม่มีใครสำเร็จพระนิพพาน บุญบาปที่ทำลงไป มันก็สูญญังไปหมด ไม่มีอะไร สักแต่ว่าธรรมเท่านั้น นิยตะ มิจฉาทิฏฐิ มันจะเกิดขึ้นที่ตรงนี้ เพราะฉะนั้นนักภาวนาทั้งหลายควรระมัดระวัง[/FONT]


    ( ถอดเสียงเกล็ดธรรม หลวงปู่พุธ ฐานิโย โดย พลูโตจัง )
     
  8. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ( เกล็ดธรรม หลวงปู่พุธ ฐานิโย เรื่อง อย่าติดวิธีการ )


    อีกปัญหาหนึ่ง มีท่านกล่าวไว้ ว่า
    ให้ฝึกหัดทำสมาธิให้มันได้ซะก่อนแล้วจึงค่อยเจริญวิปัสนากรรมฐาน

    เอ ..อันนี้ถ้าสมมุติว่า ใครไม่สามารถ ทำสมาธิขั้นสมถะได้เนี๊ยะ
    จะไปรอ จนกระทั่ง จิตมันสงบ เป็นสมาธิขั้นสมถะเป็นอัปนาสมาธิ
    เผื่อมันทำไม่ได้ล่ะ มันจะไม่ตายก่อนหรือ
    เพราะฉะนั้นจึงขอทำความเข้าใจกับท่านนักปฏิบัติ ทั้งหลายไว้ว่า

    คำว่า สมถะกรรมฐานก็ดี
    วิปัสนากรรมฐานก็ดี
    ขอให้ท่านทั้งหลายพึงทำความเข้าใจว่า

    เป็นชื่อของ วิธีการ
    การบริกรรมภาวนา พุทโธ พุทโธ พุทโธ
    หรือการบริกรรมภาวนาอย่างอื่น
    หรือการปฏิบัติ ด้วยการเพ่งกสิณ อันนั่น ปฏิบัติตามของ สมถะ

    แต่ถ้าเราปฏิบัติด้วยการใช้ความคิด
    หรือกำหนดจิต รู้ตามความคิด ของตัวเอง
    หรือจะหาเรื่องราวอันใดเช่น เรื่องของธาตุขันธ์ อายตนะ
    มาพิจารณา
    เช่น พิจารณา ว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อะไรทำนองนี่
    อันนี้ การพิจารณาน้อมจิต น้อมใจ น้อมภูมิความรู้ เข้าไปสู่ กฎแห่งพระไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
    ท่านเรียกว่า
    ปฏิบัติ ตามวิธีการแห่ง วิปัสนา

    แต่ทั้งสองอย่างนี้ เราจะปฏิบัติ ด้วยวิธีใด วิธีหนึ่งก็ได้

    ถ้าท่านผู้ ที่บริกรรมภาวนา จิตมันไม่เคยสงบ เป็นสมาธิ ซักที
    จะไปรอให้มันสงบ มันไม่เคยสงบซักที ก็มาพิจารณาซิ

    ยกเรื่องอะไรยกขึ้นมาพิจารณาก็ได้ ซึ่งมันเกี่ยวกับเรื่องธรรมะ
    พิจารณาไป จนกระทั่ง จิตมันเกิด ความคล่องตัว
    พิจารณาอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
    อันนั้นก็ไม่เที่ยง อันนี้ก็เป็นทุกข์ อันนั้นก็เป็นอนัตตา
    คิดเอา ตามสติปัญญา ที่เราจะคิดได้
    คิดย้อนกลับไปกลับมา กลับไปกลับมา กลับไปกลับมาอยู่อย่างนั้น

    คิดจนกระทั่งมันคล่องตัว

    จนกระทั่ง

    เราไม่ได้ตั้งใจคิด จิตมันคิดของมันเอง
    ซึ่งมันอาจจะเอาเรื่องอื่นมาคิดอยู่ไม่หยุดก็ได้
    เมื่อเป็นเช่นนั้นมันก็เข้าลักษณะเหมือนกันกับ บริกรรมภาวนา

    ถ้าจิตมันคิดของมันเอง สติรู้พร้อมอยู่เอง
    มันก็ได้ วิตก วิจาร
    ในเมื่อจิต มี วิตก วิจารเพราะความคิดอ่านอันนี้
    มันก็เกิด มีปีติ มีความสุข มีเอกคัคตา
    มันจะสงบลงไปเป็น อุปจาระสมาธิ อัปนาสมาธิ
    หรือ บางทีมันอาจจะไม่สงบถึงอัปนาสมาธิ

    พอถึงอุปจาระสมาธิ มี วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกคัคตา
    มันก็จะทำหน้าที่พิจารณา
    วิปัสนาของมันอยู่ตลอดวันย่างค่ำตลอดคืนย่างรุ่ง

    เพราะฉนั้น อย่าไปติดวิธีการ

    ถ้าใครไม่เหมาะกับการ บริกรรมภาวนา
    ก็อย่า ก็ไม่ต้องไปบริกรรมภาวนา

    ถ้าจิตของท่านผู้ใดไปเหมาะสมกับ การกำหนดรู้จิตเฉยอยู่
    โดยไม่ต้องนึกคิดอะไร เป็นแต่เพียงตั้งหน้าตั้งตา
    คอยจ้องดูความคิดว่าอะไรมันจะเกิดขึ้นแค่นั้น
    อะไรเกิดขึ้นรู้ อะไรเกิดขึ้นรู้ รู้ รู้ รู้ เอาตัวรู้อย่างเดียว

    หรือ
    บางทีบางท่าน อาจจะใช้ความคิดอยู่ไม่หยุด
    หรือบางท่าน อาจจะฝึกหัดสมาธิ

    โดยวิธีการ
    ทำสติตามรู้ การ ยืน เดิน นั่ง นอน รัปทาน ดื่ม ทำ พูด คิด

    ทุกลมหายใจ ก็สามารถที่จะทำจิตเป็น สมาธิได้เหมือนกัน

    เพราะฉะนั้น

    ถ้าเราจะเป็น นักปฏิบัติเพื่อความรู้ยิ่ง เห็นจริง กันจริงๆแล้ว
    อย่าไปติดวิธีการ ให้กำหนดหมาย ว่า

    สมถะก็ดี

    วิปัสนาก็ดี

    เป็น วิธีการปฏิบัติ

    ถ้า บริกรรมภาวนา หรือเพ่งกสิณ เป็นวิธีปฏิบัติ ตามวิธีของ สมถะ

    ถ้า ปฏิบัติ ตามแบบที่ใช้ความคิดพิจารณาเรื่อยไป
    หรือกำหนด ทำสติตามรู้ความคิดเรื่อยไป
    เป็นการปฏิบัติ ตามแบบ ของวิปัสนากรรมฐาน



    ทั้งสองอย่าง
    เพื่อมุ่งประสงค์ให้จิตสงบ ตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    ประกอบด้วยองค์ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกคัคตา ด้วยกัน เหมือนกัน

    เพราะฉะนั้น
    อย่าไปสงสัยข้องใจ ใครถนัดในทางไหน ปฏิบัติลงไป
    และ
    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

    วิธีการปฏิบัติมันมีหลายแบบ หลายอย่าง อย่าไปติดวิธีการ

    ยุบหนอ พองหนอ ก็ปฏิบัติ แบบสมถะ
    สัมมาอะระหังก็ แบบสมถะ
    หรือการใช้พิจารณาอะไรต่างๆ ก็เพื่อสมถะ
    เพื่อความสงบ จิตนั่นเอง
    เมื่อจิตไม่มีความสงบ สมาธิก็ไม่มี สมาธิไม่มี ฌานไม่มี
    ในเมื่อไม่มีฌานก็ไม่มีญาณ
    ไม่มีญาณก็ไม่มีปัญญา

    ไม่มีปัญญาก็ไม่มีวิชชา
    นี่ กฎธรรมชาติมันเป็นอยู่อย่างนี้
     
  9. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    เกล็ดธรรม หลวงปู่พุธ ฐานิโย
    จุดสังเกตุ วิปัสนาเริ่มเดิน สืบต่อ จากอัปนาสมาธิ


    <LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@font-face { font-family: Tahoma;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}H2 { FONT-SIZE: 18pt; MARGIN-LEFT: 0cm; MARGIN-RIGHT: 0cm; FONT-FAMILY: Tahoma; mso-pagination: widow-orphan; mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-outline-level: 2}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE>[FONT=&quot]ในเมื่อท่านบริกรรมภาวนาบาง ครั้ง ซึ่งจิตมีอาการสงบฟูบลงไปแล้ว ก็สงบฮวบๆๆๆ ลงไป ไปถึงระดับที่นิ่งๆ
    เป็นอัปปนาสมาธิ แต่ท่านไม่สามารถที่จะกำหนดตามองค์ฌาน วิตก วิจาร ปิติสุข เอกคัคตาได้ [/FONT]


    [FONT=&quot]ถ้าหากท่านผู้ใดภาวนาเป็นได้อย่างนี้ ก็ปล่อยให้มันเป็นไปเถอะ อย่าไปกลัวว่าจิตมันจะติดสมถะ ในเมื่อจิตสงบเป็นสมาธิ
    ขั้นสมถะบ่อยเข้า..บ่อยเข้า มันก็เป็นเหตุ เป็นปัจจัยให้ท่านได้เกิดมีสติ ทีนี้ในเมื่อท่านมีสติ มีกำลังแก่กล้าขึ้น สมาธิมีกำลังแก่กล้าขึ้น
    จริงอยู่ในขณะที่จิตอยู่ในอัปปนาสมาธินั้น มันติดสมถะจริงๆ เพราะมันนิ่งรู้อยู่ในจุดเดียว มันไม่รู้สิ่งอื่น
    เมื่อเป็นเช่นนั้นมันก็ไม่มีปัญญาจริงๆ นั่นแหล่ะ [/FONT]


    [FONT=&quot]เอ้า....ถ้าใครภาวนาเป็นอย่างนี้จริงๆ ขอให้ดูให้มันชัด อย่ามัวแต่เถียงกันให้ปวดศีรษะ เมื่อมันสงบนิ่งลงไปจริงๆ แล้วผลมันจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่
    ...มันจะเกิดขึ้นต่อเมื่อจิตถอนออกจากอัปปนาสมาธิแล้ว พอเกิดความคิดขึ้นมาปั๊บเดียวเท่านั้น จิตของท่านจะมีสติจดจ้อง
    ตามรู้ความคิดไปเป็นลำดับๆ จะไม่พรากจากความคิดที่เกิดขึ้นนั้น [/FONT]


    [FONT=&quot]ความคิดที่เกิดขึ้นนั้นมันเป็นธรรมารมณ์ เป็นอารมณ์ของจิต เมื่อจิตมีสติสัมปชัญญะ สามารถรู้เท่าทันอารมณ์ คือความคิดของตัวเองได้ตลอด ความรู้ความคิดอันนั้นมันก็กลายเป็นภูมิปัญญา เพราะมันเป็นเครื่องรู้ของจิต เป็นเครื่องระลึกของสติ
    ...และเมื่อจิตของท่านมีสติสัมปชัญญะ ประคับประคอง ในเมื่อจิตสัมผัสรับรู้อารมณ์ทั้งปวงแล้ว ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่ในสภาวะปกติ สติประคับประคองจิตอยู่ตลอดเวลา
    เมื่อรับรู้อารมณ์สิ่งใด เป็นแต่เพียงว่าสัมผัส สัมผัสรู้แล้วก็ปล่อยวางไป...สัมผัสรู้แล้วก็ปล่อยวางไป สภาวะจิตที่สงบ
    ในลักษณะที่เรียกว่า สงบ..สงบ..สงบ เป็นตัวของตัวเองอยู่ตลอดเวลานั้น จะปรากฏอยู่ตลอด 24 ชั่วโมง
    นี่ขอให้ท่านพึงสังเกตุอย่างนี้ นี่แหล่ะคือจุดที่วิปัสสนาจะเกิดขึ้นจากสมถะ [/FONT]


    [FONT=&quot]แต่เมื่อจิตของท่านอยู่ในสมถะ นิ่ง..โดยไม่รับรู้อะไร แม้แต่ตัวของตัวเองก็ไม่รับรู้ มีแต่จิตรู้อยู่ดวงเดียวเท่านั้น
    ในขณะนั้นวิปัสสนาไม่เกิดจริงๆ แต่เมื่อวิปัสสนาจะเกิดก็ต่อเมื่อจิตออกจากสมถะมาแล้ว แล้วก็มาเกิดความคิด
    จิตเอาความคิดเป็นเครื่องรู้ เป็นเครื่องระลึกของสติ ตามรู้ตามเห็นไป มันก็สามารถเป็นวิปัสสนาได้...[/FONT]



    ( ถอดเสียงเกล็ดธรรมหลวงปู่พุธ ฐานิโย โดย พลูโตจัง )<!-- google_ad_section_end --> ​
     
  10. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    <TABLE class=tborder id=post4221758 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Tawee gibb<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4221758", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Jun 2007
    ข้อความ: 760
    Groans: 34
    Groaned at 21 Times in 18 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,248
    ได้รับอนุโมทนา 1,435 ครั้ง ใน 595 โพส
    พลังการให้คะแนน: 179 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_4221758 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ขออนุญาตส่งข่าวถึงนายปราบ ต้องรบกวนสักนิดนะครับ เพราะเค้าจะลบกระทู้เหล่าฮูทิ้งแล้วอ่า หาว่าไปปรามาสอาจารย์ อุตส่าห์เล่าเป็นนิทานแล้วเชียว

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ปราบเทวดา [​IMG]
    อ่าน นิยายเฮียกิ๊บแล้ว สนุกดีครับ
    สำหรับเรื่องนอกตัว ​

    อยากฟังเรื่องในตัวมั่งอ่า
    เล่าให้ฟังเป็นทัศนะเหมือนเรื่องนอกตัวบ้างซิครับเฮียกิ๊บ ​

    กว่างานผมจะเพลาๆก็อาทิตย์หน้า ​

    เพราะดูแล้ว​

    นิ้ววาทะนี่ต้อง ยาวเหยียดเลยกะเฮียกิ๊บนี่ ​

    แหะ แหะ ... ​

    สองสามวันนี่ มาอ่านเก็บนิ้วในใจเฮียกิ๊บ
    ช่วงหลังนี่ คงโล่งไม่เบาละเน๊าะ
    ยังกะอัดอั้นมานาน.. หุหุ​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ได้เลยนายปราบฯ แต่เค้ากำลังจะลบกระทู้ทิ้งแย๊ว คงต้องไปหาที่คุยใหม่น่ะ เลยขอมาแปะที่นี่ก่อน เพราะเหล่าฮูไม่มีกระทู้อื่น
    และขอบใจที่อุตส่าห์ติดตามอ่านนิยายของเหล่าฮู จะเชื่อหรือไม่เชื่ออย่างไร ไม่มีปัญหา แม้เหล่าฮูเองก็ไม่ใส่ใจว่าใครจะคิดยังไง เพราะทำด้วยใจกลางๆ และเห็นว่าควรต้องอธิบายความเท่านั้น ผู้รู้ท่านจะพูดแต่สิ่งที่เห็นว่าเป็นประโยชน์เท่านั้น แต่ที่มันขัดข้องและอาจทำให้ขัดแย้ง เขามักจะงดเสีย เหล่าฮูเลยคิดว่ามันเป็นช่องว่าง เลยอาสาแปะช่องว่างเท่านั้น แต่หาคนมาแจมยากเต็มทน หึๆๆ
    เอาไว้ถ้าเค้ายังให้พูดต่อได้ จะเล่านิยายเกี่ยวกะภายในตัวให้ฟังแล้วกันโน๊ะ ตอนนี้ลั๊ลลาก่อน เดี๋ยวหากเค้ายังไม่แจกใบแดง จะออกซิงเกิ้ลใหม่ซักหนึ่งเพลง 555<!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ร่วมสนับสนุนพระธรรมจาริก<!-- google_ad_section_end -->

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    เริ่ม จะฟูลงแระ ขอฟัง นิยายในภายใน เฮียกิ๊บ ที่นี่ละกันครับ ขอแต่ภายในนะครับ

    รอเฮียกิ๊บ อยู่ ที่ตรงนี่ นะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 12 มกราคม 2011
  11. Ahimsa

    Ahimsa Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +38
    สวัสดีคับ ผมขออนุญาตถามคำถามพี่ๆหน่อยคับ
    ึืคือผมเป็นคนสมาธิไม่ค่อยดี เวลาผมจะแทนค่าตัวเลขในวิชาคณิตศาสตร์ คิดอย่างแต่พอเขียนจริงๆเป็นอีกอย่าง เป็นแบบนี้ค่อนข้างบ่อยเหมือนกันอ่ะคับ คิดเลขก้พลาดตรงที่มันไม่ควรพลาดอะคับ ตอนนี้ผมก้ใกล้สอบเข้ามหาลัยแล้วก้อยากมีสมาธิมากขึ้นก้เลยอยากจะมาถามพี่ๆอะคับ คือผมเปนคนจิตอ่อน เวลานั่งสมาธิก้จะพยายามบริกรรมพุทโธๆๆ ผมก้ลองเอาจิตไล่ตามลมหายใจและความรู้สึกดูแล้วจิตมันก้ไม่ค่อยยอมจดจ่อ สักพักก้คิดไปโดยไม่รู้ตัวอีกแล้ว ผมเลยอยากถามว่า สำหรับคนที่จิตไม่ค่อยมั่นคงแบบผมนี่ควรเริ่มยังไงดีอ่ะคับ
    ปล.ปกติผมนั่งสมาธิตอนเช้าก่อนไปรร. กับตอนก่อนนอน ครั้งละประมาณ 20 นาที มีสวดมนต์แผ่เมตตานิดหน่อยอะคับ ผมทำอย่างงี้มาได้หลายเดือนแล้วเหมือนกันคับ

    ขอบคุณมากๆครับบ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  12. ปุณบพิธ

    ปุณบพิธ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,102
    ค่าพลัง:
    +2,134
    ปรับอาหาร ปรับเวลานอน เสียก่อน
    ลองหาน้ำมันปลา (ย้ำ ว่า น้ำมันปลา ไม่ใช่น้ำมันตับปลา) กินเสริมอาหารดู
    กินอาหารประเภทโปรตีนที่มีประโยชน์เยอะขึ้น (ปลา ไข่ นม) ลดแป้งและน้ำตาลลง โดยเฉพาะน้ำอัดลม ไขมันจากวัว หมู ไก่ ลดลงให้มากด้วยเช่นกัน

    เวลานอน พยายามนอนให้ได้ 8 ชั่วโมง หรือถ้าปกตินอนไม่ถึง ก็ให้นอนให้เต็มที่ที่สุด
    ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอด้วย แต่ไม่ต้องหนัก เอาแค่ให้ร่างกายมันตื่นตัว

    การปฏิบัติสมาธิปัจจุบันนั้น ดีแล้ว ให้เพียรทำต่อไปเรื่อยๆ แล้วจะค่อยๆ เห็นผลเอง และให้เสริมการเจริญสติควบคู่ไปด้วย จะช่วยให้ความจำแม่นยำขึ้นมาก อ่านหนังสือเข้าใจเร็วกว่าคนอื่นๆ
    ตัวอย่างวิธีเจริญสติ
    http://www.ruendham.com/book_detail...%E3%B9%AA%D5%C7%D4%B5%BB%C3%D0%A8%D3%C7%D1%B9
     
  13. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    จะลองดูไหม

    ให้ทำแบบนี้นะ


    ให้คัด บท กรณียะเมตตราสูตร ก่อนนั่งสมาธิ

    คัดด้วยลายมือตัวเองนะ ลงกระดาษเอ4 หรือ สมุดอะไรก็ได้

    คัดวันละ 3 รอบ ทำไปเรื่อยๆนะ ให้ได้ทุกวัน โขคดีนะ
     
  14. Ahimsa

    Ahimsa Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +38
    ครับ ผมจะลองดูคับ ว่าแต่ผมคัดแบบย่อนี่ได้เหมือนกันมั้ยคับ
     
  15. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ต้องคัดงามๆ เต็ม บทของกรณียเมตตราสูตรนะ จึงจะเป็นผล

    ลองดู

    คัดแล้วเก็บไว้นะอย่าไปทิ้ง เดี๋ยวจะบอกวิธีนำไปใช้ภายหลัง
     

แชร์หน้านี้

Loading...