ธรณีสูบยักษ์สูบ มหันตภัยล้างโลก–พยากรณ์โลก-กับหลักฐานสำคัญ-พระจักรพรรดิ 30 กย 53

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ออร์กะ, 2 มิถุนายน 2010.

  1. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ****ในหลวงทรงร้องให้เห็นบ่อย**** หน้า6 ตอบกระทู้ # 114 สารบัญ # 120

    ท้าวสักกะ - โปรดติดตามภัยพิบัติ หน้า 5 - ตอบกระทู้ #80 - ปฏิเสธข่าวลือ “เทวาตรอน” พบ “อนุภาคพระเจ้า”ตอบกระทู้ # 76 - แผ่นดินไหวรุนแรง วันที่ 21 กค. 53 ดูเหตุผลและหลักฐาน หน้า 3 ที่ใต้รูปที่ 6 ของตอบกระทู้ # 59

    ข้อมูลใหม่ อยู่ก่อนรูปหลุมยุบครับ

    วันที่ 18 กค 53 ปรับชื่อกระทู้ให้เข้าเนื้อเรื่องใหม่ 15 มิย 53
    เพิ่ม “หลักฐานชี้ มหันตภัยล้างโลก” ต่อจากชื่อเดิม (
    ธรณีสูบขนาดยักษ์ บ้านเรือน รถยนต์ หนีไม่พ้น) ด้วยเหตุผลที่ออร์กะ จขกท ได้ปรึกษาเพื่อนๆ แล้วเห็นว่า เหตุการณ์ภัยพิบัติในปัจจุบัน ทำให้ผู้คนไม่น้อยทั่วโลก ให้ความสนใจพยากรณ์ของหลายชาติหลายศาสนา ที่บ่งทำนองเดียวกันถึงมหันตภัยล้างโลกที่อาจจะเกิดขึ้นใน 21 ธันวาคม 2555 หรือในปี 2556 แม้วงการภาพยนตร์ได้สร้างวันสิ้นโลก 2012 (พ.ศ. 2555) ฉายไปทั่วโลกมาแล้ว
    <o></o>
    อะไร เมื่อไร ใครรู้อะไร นี่เป็นคำถามที่พวกเราได้ศึกษา และวิเคราะห์ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ มุมมองของนักศาสนาศาสตร์ และพยากรณ์ที่เป็นที่ยอมรับของชาวโลกเช่น นอสตราดามุส ว่ามีอะไรโยงศาสตร์ที่ต่างกันนี้เข้าด้วยกัน และมีผลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือเป็นเรื่องที่ขัดแย้งกัน โดยจะนำมาเสนอท่านได้ทราบ เป็นตอนๆ ไป <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C02%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->สำหรับข้อมูลที่นำหรือจะนำมาลง จะถือว่าเป็นความเห็นเฉพาะส่วนบุคคล แต่จะให้เหตุผล มีที่มาที่ไป โดยท่านไม่ต้องเชื่อตามกาลามสูตรของพระพุทธเจ้า โปรดดูตอบกระทู้ ออร์กะ # 2 ที่บ่งสารบัญว่า แต่ละเรื่องจะอยู่ในตอบกระทู้ # ที่เท่าไร<o></o>
    <o></o>
    เรื่องเดิม<o></o>

    Reuters May 29, 2010<o></o>


    พายุโซนร้อน"อากาธ่า"ของฤดูเฮอร์ริเคนในมหาสมุทรแปซิฟิกปีนี้ ลูกแรกเริ่มต้นแล้ว โดยพัดถล่มชายฝั่งของกัวเตมาลาเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2553
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    แถมยังถูกซ้ำเติมจากปัญหาการปะทุของภูเขาไฟที่มีอยู่เดิม เจ้าหน้าที่บรรเทาภัยเปิดเผยว่า อิทธิพลของพายุ"อากาธ่า"ที่พัดขึ้นฝั่งด้วยความเร็วลม 75 กม./ชม.ได้ทำให้เกิดฝนตกหนักจนเกิดน้ำท่วมและดินถล่ม

    ทำให้มี ผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 13 คน

    ไม่ต้องอธิฺบายมาก ดูรูปแล้วกันครับ ว่าน่ากลัวแค่ไหน

    เพิมเติมข้อมูล 01-06-10


    1. สิ่งก่อสร้าง 3 ชั้น และบ้านในบริเวณนั้น พังลงไปในหลุมยักษ์
    2. ทางการกล่าวว่า 150 ตาย หายไป 53

    ผู้สนใจเรื่อง <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->ธรณีสูบ (Sinkhole การทรุดตัวของแผ่นดินเป็นหลุมลงไป เรียกหลุมยุบ) ดูได้ที่
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> หลุมยุบ Sinkhole | Geographical Technology : เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    <o></o>Geographical Technology : เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    National Geographic บันทึกหลุมยุบ (Sinkhole) ที่กัวเตมาลา เมื่อ กพ. 26, 2007 และครั้งนี้เมื่อ พค. 29, 2010
    สำหรับ Sinkhole เกิดได้ในหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับสถานที่ สภาวะแวดล้อมและเวลา ผู้ต้องการหาข้อมูลโดยละเอียดควรศึกษา เช่นที่ กรมทรัพยากรธรณี และ USGS เป็นต้น

    เพิ่มข้อมูล 02-06-10


    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} p {mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS";} span.longtext {mso-style-name:long_text;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> หลุมยุบที่เกิดจากฝีมือมนุษย์
    <o></o>
    หลุมยุบใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากความไม่สัมพันธ์การใช้ที่ดิน โดยเฉพาะจากการสูบน้ำใต้ดิน และจากการก่อสร้าง หลุมยุบสามารถเกิดขึ้นได้ เมื่อระบบการระบายน้ำธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงไป และระบบผันน้ำใหม่ที่เข้ามาแทนที่ หลุมยุบบางชนิดเกิดขึ้นเมื่อชั้นผิวดินมีการเปลี่ยนแปลง เช่น เมื่อมีการก่อสร้างแหล่งอุตสาหกรรมและบ่อเก็บน้ำในแหล่งอุตสาหกรรม มีการสร้างสถานที่รองรับน้ำหนักมาก ก็อาจเกิดการยุบตัวใต้พื้นดินก่อให้เกิดหลุมยุบได้ นอกจากนี้การไม่มีความสมดุลของน้ำหนักที่อยู่เหนือชั้นแรงดันของน้ำใต้ดิน ซึ่งพยุงพื้นผิวดินไว้ให้เกาะกันอยู่ก็เกิดปัญหาหลุมยุบ

    น้ำบาดาลสูบน้ำประปาในเมืองและชลประทานสามารถทำให้เกิดหลุมยุบใหม่ได้ง่าย โดยผลอันเนื่องมาจากการสูบน้ำใต้ดิน การลดระดับพื้นน้ำแล้วเกิดปัญหากับโครงสร้างใต้ดินหลุมยุบก็สามารถเกิดขึ้น

    Sinkholes, from USGS's Water Science Basics website
    http://ga.water.usgs.gov/edu/earthgwsinkholes.html<o></o>

    สิ่งก่อสร้างอยู่บนหลุมยุบ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> 11 มิ.ย. 44 เวลา 07:20
    เมื่อเวลา 02.30 น. วันที่ 11 มิ.ย. สภ.กิ่ง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ รับแจ้งเกิดเหตุอาคารทรุดจมลึกลงใต้ดินหลายเมตร ริมถนนเทพารักษ์ ต.บางเสาธง จึงรุดไปที่เกิดเหตุ พบชาวบ้านหลายสิบคนกำลังยืนเรียงรายรอบอาคารพร้อมส่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น บางคนตะโกนเรียกหาสมาชิกในครอบครัวที่ยังหากันไม่พบ เสียงดังโหวกเหวก เนื่องจากวิ่งหนีออกจากตัวอาคารกันไปคนละทิศละทาง ตัวอาคารซึ่งเคยตั้งตรงกลับเอียง ทรุดฮวบลงไปใต้ดินลึกหายไปทั้งชั้น ทั้ง 5 คูหา

    ข้อเตือนใจผู้บริหาร

    ฉะนั้นการเข้าใจในเรื่องหลุมยุบ อาจจะทำให้ท่านมองเห็นภาพว่า การที่กรุงเทพฯ และบริเวณใกล้เคียงนั้น ที่กำลังทรุดตัวลงอย่างต่อเนื่องน่าจะมีสาเหตุใดบ้าง อย่าลืมว่า ยังมีสาเหตุอื่นๆ มากกว่าที่กล่าวมาแล้ว เช่นการสั่นสะเทือนจากการวิ่งของรถโดยเฉพาะที่มีน้ำหนักมาก สถาบันการศึกษาเช่น AIT ได้ทำการวิจัยถึงการทรุดตัวของกรุงเทพฯ มาช้านานแล้ว และเสนอไปยังผู้บริหาร แต่สิ่งที่ทำได้ดีที่สุดคือเป็นข้อสังหรณ์ใจและเตือนสติผู้บริหาร ถึงความเจริญที่ขาดความสมดุลกับธรรมชาติจะสร้างปัญหาอะไรบ้างตามมา

    พวกเราล่ะ จะช่วยกันอย่างไรได้บ้างที่จะพยุงไม่ให่กรุงเทพฯ ต้องจมลงไปเร็วกว่าที่ควรจะเป็น
    เราช่วยกันจับตาดู เช่น "กรุงเทพฯ : การสูบน้ำใต้ดินที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมากนี้ ทำให้เกิดผลกระทบ ต่อสภาพแวดล้อม เช่น การรุกล้ำของน้ำเค็ม การลดลงของปริมาณน้ำใต้ดิน"
    ขอบคุณครับ

    คำถาม ตอบกระทู้ # 16 เกิดอะไรขึ้นมันถึงเป็นวงกลมแบบนั้น
    คำตอบ ตอบกระทู้ ที่ # 17 ครับ
    คำถาม ตอบกระทู้ # 55 มนุษย์ต่างดาวต่างกับคนเราอย่างไร บ้างคะ?
    คำตอบ ตอบกระทู้ ที่ # 57 ครับ (# 57 & 59 วันที่ 4 กรกฎาคม 2553)
    คำตอบ ตอบกระทู้ # 59 วิเคราะห์การเกิดสึนามิในอาดามัน และแ่ผ่นดินไหวที่นักวิทยาศาสตร์ นักข่าวตื่นตัว
    คำตอบ ตอบกระทู้ # ุ62-65 มหันตภัยน้ำท่วมโลก (วันที่ 14 กรกฎาคม 2553)
    คำตอบ ตอบกระทู้ # ุ67-69 ใครแนะลดประชากรโลกลง 90% (วันที่ 18 กรกฎาคม 2553)

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    <o></o>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Slide1.jpg
      Slide1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      79.3 KB
      เปิดดู:
      12,358
    • Slide2.jpg
      Slide2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      75.5 KB
      เปิดดู:
      12,655
    • Slide3.jpg
      Slide3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      68.4 KB
      เปิดดู:
      11,449
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 กันยายน 2010
  2. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ขออนุโมทนา อย่าได้เกิดในบ้านเราเลย สาธุ

    ---------------------------------------------------------

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ธรณีสูบขนาดยักษ์ บ้านเรือน รถยนต์ หนีไม่พ้น <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->หลักฐานชี้ มหันตภัยล้างโลก
    <o></o>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> อบกระทู้ # 36 ~ 37 ของนักข่าวเยอร์มันและอังกฤษ ทำให้คิดถึงมหันตภัยล้างโลกมีโอกาสเป็นไปได้จริงไหม ถ้าเป็นไปไม่ได้ก็ไม่จำเป็นต้องทำการศึกษาวิเคราะห์ แต่ถ้ามีโอกาสเป็นไปได้ ก็จะต้องมีตัวชี้นำถึงเหตุและผล ออร์กะและเพื่อนๆ จึงได้ศึกษาวิเคราะห์กลับไปในอดีตเกี่ยวกับภัยพิบัติ และมาลงเอยที่ภัยพิบัติเมื่อประมาณ 20 ปีมาแล้ว ที่เป็นจุดน่าสนใจเกี่ยวกับการเริ่มต้นของภัยพิบัติมาถึงทุกวันนี้<o></o>
    <o></o>
    จากการศึกษาวิเคราะห์ต่อมาตามหลักการของสมมุติฐานพบว่า มหันตภัยล้างโลกอาจเกิดเป็นจริงได้ ซึ่งเรื่องนี้เกี่ยวข้องกับการที่มนุษย์เป็นผู้บ่อนทำลายโลก และยังเกี่ยวข้องกับพยากรณ์ มนุษย์ต่างดาว พระเจ้าผู้สร้างโลกสร้างจักรวาล (พระพุทธเจ้าตรัสสอนเรื่องของจอมเทพ "ท้าวสักกะ" พระพุทธองค์ไม่ปฏิเสขเรื่องของเทพ เทวดา) เรื่องต่างๆ เล่านี้ไม่ได้ยกขึ้นมากล่าวลอยๆ แต่เป็นไปตามหลักการและหลักฐาน เป็นไปตามกาลามสูตร เรื่องทั้งหมดจะนำมาแสดงเป็นตอนๆ <o></o>ซึ่งอาจเกี่ยวโยงชี้ไปถึงการเกิดมหันตภัยโลกในอนาคตอันใกล้ได้ ดังหัวข้อต่อไปนี้

    1. สรุปภัยพิบัติในช่วงละ 9 ปี จาก 1930-1939 (พ.ศ.2473-2482) เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน<o></o>
    2. มนุษย์ต่างดาว ที่เขาอยู่ในสุริยจักรวาลเดียวกับเรา<o></o>
    3. เส้นแรงแม่เหล็กโลกอ่อนกำลังและทิศทางเปลี่ยนไป
    4. แผ่นดินไหวใหญ่
    5. น้ำท่วมใหญ่
    6. คำพยากรณ์โลกต่างๆ กับข้อเท็จจริง<o></o><o></o>
    7. มหันตภัยเกี่ยวข้องกับพระจักพรรดิหรือไม่อย่างไร ถ้าเกี่ยวข้อง จะต้องทำการศึกษาเรื่องดังต่อไปนี้
    7.1 หลักฐานมหันตภัยเกี่ยวข้องกับพระจักรพรรดิ<o></o>
    7.2 พระจักรพรรดิคือใคร มีพระองค์จริงหรือไม่<o></o>
    7.3 หลักฐาน พยากรณ์อะไรที่สามารถนำมาแสดงได้ <o></o>
    7.4 ทำไมถึงต้องมีพระจักรพรรดิ ในปัจจุบัน<o></o>
    8. เหตุแห่งการเกิดมหันตภัยล้างโลก <o></o>
    9. ผล แห่งมหันตภัยล้างโลก<o></o>
    10. และเรื่องทั้งหมดจบลงได้อย่างไร<o></o>

    หมายเหตุ: อาจมีบางท่านสงสัยว่า เรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าเป็นมนุษย์ต่างดาวหรือเรื่องใดๆ นักวิทยาศาสตร์ทุกๆ คนจะยอมรับเหมือนกันหรือไม่ คำตอบคือ “ไม่” ทั้งนี้เราต้องยึดหลักความจริงสองประการคือ<o></o>
    1. แม้เราเองยังไม่ยอมรับอะไรที่มันผิดไปจากความนึกคิดของเรา ถึงแม้จะมีหลักฐานวางไว้ตรงหน้า ทั้งนี้เพราะความนึกคิดอื่นๆ จะผุดขึ้นมาหาข้อขัดแย้ง<o></o>
    2. การยอมรับสิ่งใดๆั นั้น จะเป็นการตัดหนทางทำมาหากินของเราเองหรือไม่
    <o></o>
    ด้วยสิ่งที่เข้าใจได้ง่ายๆ นี้เองที่เป็นเรื่องธรรมดาไม่เฉพาะงานทางวิทยาศาสตร์ แต่เป็นไปทุกศาสตร์ทุกแขนง ฉะนั้นการใช้กาลามสูตรของพระพุทธเจ้า จึงเป็นสิ่งดีงามที่พิจารณาเรื่องใดเป็นกุศลธรรม เกิดประโยชน์ไม่เป็นโทษ ก็ควรพึงพอใจในสิ่งนั้นๆ ครับ จะไปคิดว่าต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ถึงจะยอมรับเรื่องนั้นๆ มันเป็นเรื่องไม่มีที่สิ้นสุดครับ เพราะทุกอย่าง เป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา หาอะไรเป็นตัวตนก็ไม่ได้ครับ<o></o>

    ทำไมเราควรให้ความสนใจมหันตภัยล้างโลก ก็เพราะปัจจุบันนี้มีอะไรๆ ที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน ได้เกิดขึ้นมาก จนจะกลายเป็นความเคยชินแล้ว แต่นี่อาจเป็นการนำไปสู่มัจจุราชที่จะได้พบเห็น<o></o>ครั้งสุดท้าย ในช่วงชีวิตของเรานี่เอง

    ออร์กะขอเชิญทุกท่านร่วมลงข้อมูลกับพวกเราครับ เพื่อให้ท่านผู้ชมผู้อ่านได้ทราบเรื่องราวที่มีประโยชน์เพิ่มขึ้น
    ด้วย ศีล สมาธิ และปัญญา
    <o></o>
    ขอขอบคุณครับ<o></o>
    <o></o>
    สารบัญ<o></o> (เรื่องการคาดการสมมุติฐาน)

    ตอบกระทู้ # หน้า 1 ~ 2 แสดงเรื่องหลุมยุบ ดินถล่ม บางสิ่งที่เกิดขึ้นไม่น่าจะเป็นไปตามธรมชาติ หรือคนทำขึ้น
    ตอบกระทู้ # หน้า 3 มนุษย์ต่างดาว <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->(จำเป็นต้องศึกษา เพราะอาจชี้ให้เข้าใจถึง มหันภัยล้างโลกอาจเกิดขึ้นอย่างไร)
    ตอบกระทู้ # หน้า 3 ภัยพิบัติรุนแรงในช่วงละ 9 ปี (เริ่มจาก พ.ศ. 2473 ถึงปัจจุบัน เพื่อหาความเ็ป็นไปได้ถึงมหันตภัยล้างโลก)
    ตอบกระทู้ # หน้า 3 เส้นแรงแม่เหล็กโลกและทิศทางเปลี่ยนแปลงไปเร็วในปัจจุบัน เกี่ยวโยงกับมหันตภัยล้างโลกได้อย่างไร
    ตอบกระทู้ # หน้า 3 แผ่นดินไหวพื้นดินถล่มเป็นทะเล (พุทธทำนาย)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2010
  3. manganiss

    manganiss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2009
    โพสต์:
    256
    ค่าพลัง:
    +636
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=15 align=middle>[​IMG]</TD><TD background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ความคิดเห็นที่ 89</TD><TD class=body4 vAlign=baseline background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=100 align=right>+117 </TD><TD vAlign=baseline background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=5 align=middle>

    </TD><TD vAlign=baseline background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=25 align=middle></TD><TD vAlign=baseline background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=25 align=middle></TD><TD vAlign=baseline background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=55 align=middle></TD><TD vAlign=baseline background=http://palungjit.org/images/bg_comment.gif width=62 align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width=15 align=middle>[​IMG]</TD><TD class=body vAlign=top align=left>ฝรั่งเขาเรียก Sinkhole เกิดขึ้นบ่อยมาก โดยเฉพาะ กัวเตมาลา
    หลุมยุบ หรือ Sinkhole เป็นธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่งเกิดตามธรรมชาติ แต่กิจกรรมของมนุษย์ก็สามารถเร่งให้เกิดเร็วขึ้นได้ทั่วไปในภูมิประเทศที่ ใต้ผิวดินเป็นหินปูน หินโดโลไมต์และหินอ่อน ซึ่งหินเหล่านี้ละลายได้ในน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดโพรงหรือถ้ำใต้ดินขึ้น และเมื่อเพดานต้านทานน้ำหนักของดินและสิ่งก่อสร้างที่กดทับด้านบนไม่ไหวจึง พังกลายเป็นหลุมยุบ

    กระบวนการเกิดหลุมยุบ

    หลุมยุบ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างหนึ่งที่ดินยุบตัวลงเป็นหลุมลึก และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 – 200 เมตร ลึกตั้งแต่ 1 ถึงมากกว่า 20 เมตร เมื่อแรกเกิดปากหลุมมีลักษณะเกือบกลมและมีน้ำขังอยู่ก้นหลุม ภายหลังน้ำจะกัดเซาะดินก้นหลุมกว้างมากขึ้น ลักษณะคล้ายลูกน้ำเต้า ทำให้ปากหลุมพังลงมาจนเหมือนกับว่าขนาดของหลุมยุบกว้างขึ้น

    โดยปรกติ หลุมยุบจะเกิดในบริเวณที่ราบใกล้กับภูเขาที่เป็นหินปูนเนื่องจากหินปูนมี คุณสมบัติละลายน้ำที่มีสภาพเป็นกรดอ่อนได้ประกอบกับภูเขาหินปูนมีรอยเลื่อน และรอยแตกมากมายดังจะสังเกตเห็นได้ว่าภูเขาหินปูนมีหน้าผาชัน หน้าผาเป็นรอยเลื่อนและรอยแตกในหินปูนนั่นเอง บริเวณใดที่รอยแตกของหินปูนตัดกันจะเป็นบริเวณที่ทำให้เกิดโพรงได้ง่าย

    โพรง หินปูนถ้าอยู่พ้นผิวดินก็คือถ้ำ ถ้าไม่โผล่เรียกว่าโพรงหินปูนใต้ดิน ซึ่งจำแนกเป็น 2 ระดับคือ โพรงหินปูนใต้ดินระดับลึก ( ลึกจากผิวดินมากกว่า 50 เมตร ) และโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น ( ลึกจากผิวดินไม่เกิน 50 เมตร ) ส่วนใหญ่หลุมยุบจะเกิดบริเวณที่มีโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น

    หลุมยุบ Sinkhole | Geographical Technology : เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

    ประเทศ ไทยก็มีโอกาสเกิดหลุมยุบ ได้ ลองเอาไป อ่านศึกษากัน
    นักธรณีวิทยา

    Manager Online

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. manganiss

    manganiss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2009
    โพสต์:
    256
    ค่าพลัง:
    +636
    หลุมยุบ Sinkhole

    February 15th, 2010

    หลุมยุบคืออะไร
    [​IMG]
    หลุมยุบ หรือ Sinkhole เป็นธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่งเกิดตามธรรมชาติ แต่กิจกรรมของมนุษย์ก็สามารถเร่งให้เกิดเร็วขึ้นได้ทั่วไปในภูมิประเทศที่ ใต้ผิวดินเป็นหินปูน หินโดโลไมต์และหินอ่อน ซึ่งหินเหล่านี้ละลายได้ในน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดโพรงหรือถ้ำใต้ดินขึ้น และเมื่อเพดานต้านทานน้ำหนักของดินและสิ่งก่อสร้างที่กดทับด้านบนไม่ไหวจึง พังกลายเป็นหลุมยุบ

    กระบวนการเกิดหลุมยุบ
    หลุมยุบ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างหนึ่งที่ดินยุบตัวลงเป็นหลุมลึก และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 – 200 เมตร ลึกตั้งแต่ 1 ถึงมากกว่า 20 เมตร เมื่อแรกเกิดปากหลุมมีลักษณะเกือบกลมและมีน้ำขังอยู่ก้นหลุม ภายหลังน้ำจะกัดเซาะดินก้นหลุมกว้างมากขึ้น ลักษณะคล้ายลูกน้ำเต้า ทำให้ปากหลุมพังลงมาจนเหมือนกับว่าขนาดของหลุมยุบกว้างขึ้น
    โดยปรกติหลุมยุบจะเกิดในบริเวณที่ราบใกล้กับภูเขาที่เป็นหินปูนเนื่องจาก หินปูนมีคุณสมบัติละลายน้ำที่มีสภาพเป็นกรดอ่อนได้ประกอบกับภูเขาหินปูนมี รอยเลื่อนและรอยแตกมากมายดังจะสังเกตเห็นได้ว่าภูเขาหินปูนมีหน้าผาชัน หน้าผาเป็นรอยเลื่อนและรอยแตกในหินปูนนั่นเอง บริเวณใดที่รอยแตกของหินปูนตัดกันจะเป็นบริเวณที่ทำให้เกิดโพรงได้ง่าย
    โพรงหินปูนถ้าอยู่พ้นผิวดินก็คือถ้ำ ถ้าไม่โผล่เรียกว่าโพรงหินปูนใต้ดิน ซึ่งจำแนกเป็น 2 ระดับคือ โพรงหินปูนใต้ดินระดับลึก ( ลึกจากผิวดินมากกว่า 50 เมตร ) และโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น ( ลึกจากผิวดินไม่เกิน 50 เมตร ) ส่วนใหญ่หลุมยุบจะเกิดบริเวณที่มีโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น
    สาเหตุของการเกิดหลุบยุบ
    [​IMG]
    ลักษณะของหลุมยุบ
    [​IMG]
    รูปร่างของหลุมยุบแตกต่างกันไปตามลักษณะการเกิดส่วนใหญ่มีรูปร่างวงกลม หรือวงรี หลุมยุบที่เกิดจากการพังถล่มของเพดานโพรงหรือถ้ำใต้ดิน จะมีขอบหลุมชัน แต่หลุมยุบที่เกิดเนื่องจากการละลายของหินเป็นหลัก จะมีขอหลุมเอียงลาด ขนาดของหลุมขึ้นอยู่กับขนาดของโพรงหรือถ้ำใต้ดิน มีตั้งแต่ไม่กี่เมตรถึงหลายร้อยเมตรและลึกหลายสิบเมตร
    หลุมยุบในประเทศไทย
    หลุมยุบเกิดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กรทรัพยากรธรณีได้รับแจ้งและเข้าไปตรวจสอบในพื้นที่มากกว่า 45 แห่ง โดยพบว่าพื้นที่ที่เกิดหลุบยุบอยู่ในพื้นที่ราบใกล้ภูเขาหินปูนภายหลังการ เกิดธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 พบว่ามีหลุมยุบเกิดขึ้นมากกว่า 19 ครั้ง โดยเกิดใน 4 จังหวัดที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากธรณีพิบัติภัยครั้งนี้คือ จังหวัดสตูล พังงา กระบี่ และตรัง ถึง 14 ครั้ง เกิดในภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย 4 ครั้ง และเกิดในภูมิภาคอื่นคือ จังหวัดเลย 1 ครั้ง
    แผนที่แสดงโอกาสเกิดหลุมยุบในประเทศไทย
    [​IMG]
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดหลุมยุบ
    [​IMG]

    1. เป็นบริเวณที่มีหินปูนรองรับอยู่ในระดับน้ำตื้น
    2. มีโพรงหรือถ้ำใต้ดิน
    3. มีตะกอนดินปิดทับทาง ( ไม่เกิน 50 เมตร )
    4. มีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดิน
    5. มีรอยแตกที่เพดานโพรงใต้ดิน
    6. ตะกอนดินที่อยู่เหนือโพรงไม่สามารถคงตัวอยู่ได้
    7. มีการก่อสร้างอาคารที่ที่มีโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น
    8. มีการเจาะบ่อบาดาลผ่านเพดานโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น ทำให้แรงดันน้ำและอากาศภายในโพรงถ้ำเปลี่ยนแปลง
    9. มีผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเกิน 7 ริกเตอร์
    สาเหตุที่ทำให้เกิดหลุมยุบหลังเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่น ยักษ์
    แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรง 9 ริกเตอร์ ทำให้หินปูนที่มีคุณสมบัติแข็งแต่เปราะได้รับการกระทบกระเทือนเป็นบริเวณ กว้าง เพดานโพรงหรือถ้ำใต้ดินที่อยู่ในระดับตื้นและมีความไม่แข็งแรงอยู่เดิมมี โอกาสยุบตัวและถล่มลงมาได้ง่าย
    นอกจากนี้คลื่นยักษ์ (สึนามิ) ที่กระหน่ำเข้ามามีแรงกระแทกมหาศาลทำให้ระดับน้ำใต้ดินและบนดินมีการเปลี่ยน แปลงอย่างรวดเร็ว จากปัจจัยที่กล่าวมาบวกกับปัจจัยที่มีอยู่เดิมทำให้เกิดหลุมยุบขึ้นอย่างต่อ เนื่องทั้งในบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์โดยตรง และในบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวเพียงอย่างเดียว
    สรุปสาเหตุที่ทำให้เกิดหลุมยุบหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่น ยักษ์ คือ
    1. เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดินอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการเกิดคลื่นยักษ์ทำให้แรงดันของน้ำและอากาศภายในโพรงเสียสมดุล
    2. เกิดการขยับตัวของพื้นที่ซึ่งอาจทำให้เกิดรอยร้าวของเพดานโพรง สืบเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง






    ข้อสังเกตก่อนเกิดหลุมยุบ
    1. ดินทรุดตัวทำให้กำแพง รั้ว เสาบ้าน ต้นไม้โผล่สูงขึ้น
    2. มีการเคลื่อนตัว / ทรุดตัวของกำแพง รั้ว เสาบ้าน ต้นไม้ ประตู / หน้าต่างบิดเบี้ยว ทำให้เปิดยากขึ้น
    3. เกิดแอ่งน้ำขนาดเล็กในบริเวณที่ไม่เคยเกิดแหล่งน้ำมาก่อน
    4. มีต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้ และพืชผัก เหี่ยวเฉาเป็นบริเวณแคบๆ หรือเป็นวงกลม เนื่องจากการสูญเสียความชื้นของชั้นดินลงไปในโพรงใต้ดิน
    5. น้ำในบ่อ สระ เกิดการขุ่นข้น หรือเป็นโคลน โดยไม่มีสาเหตุ
    6. อาคาร บ้านเรือนทรุด มีรอยปริแตกบนกำแพง พื้น ทางเดินเท้า และบนพื้นดิน
    หลุมยุบในต่างประเทศ
    หลุมยุบที่ประเทศ Guatemala ลึก 330 ฟุต
    [​IMG]
    หลุมยุบที่ Winter Park, Florida (1981)
    [​IMG]
    หลุมยุบที่ Daisetta, Texas, 2008
    [​IMG]
    หลุมยุบที่ Winkler, Texas
    [​IMG]
    [​IMG]
    หลุมยุบ Devil’s Sinkhole, Texas
    [​IMG]

    [​IMG]

    ที่มา : หลุมยุบ Sinkhole | Geographical Technology : เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
     
  5. สร้อยฟ้ามาลา

    สร้อยฟ้ามาลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    19,158
    ค่าพลัง:
    +43,837
    รู้สึกว่าหลุมยุบก็มีในประเทศไทยเหมือนกันนะ.....
     
  6. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ข้อมูลจากกรมทรัพยากรธรณี
    กกหรมทรัพยากรทะเลใน หมู่เกาะอ่างทอง อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    ธรณีวิทยา
    ลักษณะธรณีสัณฐาน (Geomorphology) ของทะเลใน ถือเป็นส่วนหนึ่งของภูมิประเทศแบบคาสต์ (Karst topography) เช่นเดียวกับลักษณะภูมิประเทศทั้งหมดของหมู่เกาะอ่างทอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มภูเขาหินปูนที่เกิดรวมกันเป็นหมู่เกาะอยู่กลางทะเล ด้านอ่าวไทย เป็นลักษณะของเขาหินปูนที่มียอดเขาตะปุ่มตะป่ำ เพราะน้ำฝนและน้ำท่าสามารถชะละลายเนื้อหินปูนออกไปได้ง่าย พื้นที่โดยทั่วไปจึงมีแนวโน้มที่จะประกอบไปด้วยหลุม บ่อ ถ้ำ และทางน้ำใต้ดินที่เป็นช่องทางนำพาเอาเนื้อหินปูนแทรกซึมหายไปได้ แอ่งที่ขังน้ำทะเลของทะเลใน ในปัจจุบัน ก็เป็นผลพวงจากการชะละลายของหินปูนโดยน้ำฝนและน้ำท่าในอดีต ที่ได้ละลายเนื้อหินออกไปเรื่อยๆ จนผนังถ้ำบางส่วนพังลงกลายเป็นบ่อหรือหลุมที่เรียกว่า หลุมยุบ (Sinkhole)


     
  7. ~:*พนมวัน*:~

    ~:*พนมวัน*:~ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    274
    ค่าพลัง:
    +1,214
    สถิติพื้นที่เคยเกิดหลุมยุบในประเทศไทยค่ะ


    ตารางสรุปเหตุการณ์หลุมยุบในประเทศไทยระหว่างวันที่ 26 ธ.ค.2547 ถึง 28 ก.พ. 2550


    http://www.dmr.go.th/main.php?filename=sinkhole_s

    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=1 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle></TD><TD bgColor=#ffffff vAlign=top width="100%"><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านห้วยน้ำนัก ต.พบพระ อ.พบพระ จ.ตาก</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ถนนสายเขาทะลุ-เขาค่าย อ.สวี จ.ชุมพร</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านน้ำปูน หมู่ที่ 1 ต.น้ำพาง อ.แม่จริม จ.น่าน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ถนนสาย สปก. บ้านในหุบ ต.เขาค่าย อ.สวี จ.ชุมพร</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเด่นธารา หมู่ที่ 9</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านปางไฮ หมู่ที่ 7 ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว จ.น่าน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ดอยหลวง ต.บ้านตุ่น อ.เมือง จ.พะเยา</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านห้วยน้ำแก้ว ต.หน้าเขา อ.เขาพนม จ.กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเลขที่ 6 หมู่ 1 บ้านหนองแบก ต.หนองทะเล อ.เมือง จ.กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 1 บ้านหนองแบก ต.หนองทะเล อ.เมือง จ.กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเลขที่ 143 หมู่ที่ 1</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเลขที่ 330 หมู่ที่ 6 (บ้านหัวทาง) ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเลขที่ 43 หมู่ 7 บ. จะแลเกาะ ต.มะนังตายอ อ.เมือง จ.นราธิวาส</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ถนนลูกรัง หมู่ 4 ต.สโสะ อ.ปะเหลียน จ.ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านใกล้สระกะทังสุรินทร์ อ.เมือง จ.ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 3 ต.ทุ่งหลวง อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ตรงข้ามบ้านพักรองผู้ว่า จ.ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ่อน้ำใช้ที่บ้านเลขที่ 163 หมู่ 4 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านวังเตา ต.เขาโร อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่บ้านโชคทิพย์ ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต.จอมพระ และ ต.ท่าวังผา</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านจำชมภู หมู่ที่ 10 ต.น้ำดิบ อ.ป่าซาง จ.ลำพูน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต.นบพิตำ และ ต.กรุงชิงกิ่ง อ.นบพิตำ จ.นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเขาหลัก หมู่7 ต.น้ำผุด อ.เมือง จ.ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อ.เวียงสา จ.น่าน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อ.เมือง จ.น่าน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ.กันใหญ่ ต.คูหาใต้ อ.รัตภูมิ จ.สงขลา</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ.ถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 3 อ.กันตัง จ.ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 1 ต.คลองหิน อ.อ่าวลึก จ.กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านพะเยา ต.อ่ายนาไล อ.เวียงสา จ.น่าน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต.สวก อ.เมือง จ.น่าน</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านพะละใหม่ หมู่ 3 ต.ขะเนจื้อ อ.แม่ระมาด จ.ตาก</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อ.ลำทับจ.กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 6 ต.ทะเลทรัพย์ อ.ปะทิว จ.ชุมพร</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านนาคำ อ.เมือง จังหวัดอุบลราชธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านหัวทาง อ. ละงู จ. สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่7 เทศบาลวังไผ่ อ. เมือง จ. ชุมพร</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">โรงเรียนเด็กอนุบาลวัดจันทาราม หมู่2 ต.น้ำจืด อ.กระบุรี จ.ระนอง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านบางเหลียว ต. คีรีวงค์ อ. ปลายพระยา จ. กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านหนองคล้า ต.อ่าวลึก จ.กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 3 ต.โพธิ์นางคำตก อ.สรรพยา จ. ชัยนาท</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต.เขาวิเศษ อ. วังวิเศษ จ. ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">โรงเรียนบ้านกองม่องทะ อ.สังขละบุรี จ. กาญจนบุรี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อ. ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต. ย่านซื่อ อ.ควนโดน จ. สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต. เขาสก อ. พนม จ. สุราษฎ์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านทุ่งนาง แก้ว หมู่ 5 ต. น้ำผุด อ. ละงู จ. สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านห้วยสีเสียด ต. ดอนสัก</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านหมาก หมู่ 6 ต. ยางสวรรค์ อ. พระแสง จ. สุราษฎร์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต. บางเหลียง อ. ปลายพระยา จ. กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านแม่ยางโทน ต. แม่ยางตาล อ. ร้องกวาง จ. แพร่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ม. 1 ต. สำนักทอง อ. เมือง จ. ระยอง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ม. 5 ต. ตากแดด อ. เมือง จ. ชุมพร</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ม .6 ต . หน้าเขา อ . เขาพนม จ . กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านทุ่งคางิ้ว ม. 3 ต. ถ้ำพรรณา อ. ถ้ำพรรณา จ. นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านสันสลี ม. 5 ต. ปากอ้อดอนชัย อ. เวียงชัย จ. เชียงราย</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ม. 7 ต. ลิพัง อ. ปะเหลียน จ. ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">อ. นาโยง จ. ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 3 บ้านต้นพงษ์ ต. หน้าเขา อ. เขาพนม จ. กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ 10 ต. พ่วงพรหมคร อ. เคียนซา จ. สุราษฏร์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต. ขวา อ. กาญจนดิษฐ์ จ. สุราษฏร์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ต. กรูด อ. กาญจนดิษฐ์ จ. สุราษฏร์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านคอกควาย อ. บ้านไร่ จ. อุทัยธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ที่ 2 ต. ขุนทะเล อ. ลานสะกา จ. นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ที่ 2 ต. ขอนหาด อ. ชะอวด จ. นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ที่ 4 ต. ลำสินธุ์ กิ่ง อ. ศรีนครินทร์ จ. พัทลุง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">เขาถ้ำทะลุ หมู่ 3 ต. ควนโดน อ. ควนโดน จ. สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านโพนค่าย ม .7 ต. นาอ้อ อ. เมือง จ. เลย</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">หมู่ที่ 7 ต. ช้างขวา อ. กาญจนดิษฐ์ จ. สุราษฏร์ธานี</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ่อแสนวิลล่า ต. บ่อแสน อ. ทับปุด จ. พังงา</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านควนโหนด หมู่ 3 ต. ท่ายาง อ. ทุ่งใหญ่ จ. นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">ทิศตะวันออกจากบริษัทกระบี่น้ำมันพืชประมาณ 200 เมตร ต. อ่าวลึกเหนือ อ. อ่าวลึก จ. กระบี่</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านหัวทาง หมู่ 6 ต. ละงู จ. สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านปากแจ่ม หมู่ 7 ต. ปากแจ่ม อ. ห้วยยอด จ. ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเขาหลัก หมู่ 7 ต. น้ำผุด อ. เมือง จ. ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านปากคอก หมู่ 6 ต. สวนปาล์มพัฒนากิ่ง อ. มะนัง จ. สตูล</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บ้านเขาหลัก หมู่ 7 ต. น้ำผุด อ. เมือง จ. ตรัง</TD></TR><TR><TD vAlign=top><NOBR>[​IMG] </NOBR></TD><TD vAlign=top width="100%">บริษัทกระบี่น้ำมันพืช ต. อ่าวลึกเหนือ อ. อ่าวลึก จ. กระบี่</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 มิถุนายน 2010
  8. ~:*พนมวัน*:~

    ~:*พนมวัน*:~ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    274
    ค่าพลัง:
    +1,214
    หลุมยุบ ภัยใต้ดิน


    <TABLE border=1 cellSpacing=0 borderColor=#a6d73f cellPadding=5 width="98%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#fbfbff height=100 vAlign=top>
    [​IMG]

    ขอขอบคุณภาพการ์ตูนความรู้ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมทรัพยากรธรณี กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและวิชาการดอทคอม
    http://www.dmr.go.th/

    <HR>



    หลุมยุบ
    เป็น
    ธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่งที่เกิดในพื้นที่ที่เป็นหินปูน และที่ราบที่มีหินปูนรองรับอยุ่ข้างใต้ ซึ่งก่อให้เกิดการสูญเสียทางทรัพย์สิน ถึงแม้ว่ายังไม่มีรายงานถึงการเสียชีวิตของประชาชน อันเนื่องมาจากธรณีพิบัติภัยชนิดนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ภายหลังการเกิดแผ่นดินไหว พร้อมกับการเกิดคลื่นยักษ์ตามมา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ซึ่งทำความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนตามบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน


    รวมทั้งก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางด้านธรณีวิทยา และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากมายในพื้นที่ภาคใต้ เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นสิ่งเร้าและก่อให้เกิดหลุมยุบแผ่ขยายตัวมากกว่าเดิมหลายเท่าตัว

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ มีความรุนแรงมาก ทั้งความถี่การเกิดและขนาดของหลุมยุบ ซึ่งกรมทรัพยากรธรณีได้เฝ้าติดตามและระมัดระวังเป็นพิเศษ อันได้แก่ จังหวัดสตูล กระบี่ ตรัง และพังงา ตามลำดับ ส่วนพื้นที่ติดกับฝั่งด้านอ่าวไทย ที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก่ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช แม้ได้รับผลกระทบช้า แต่มีความรุนแรง ใกล้เคียงกับพื้นที่ชายฝั่งอันดามัน

    จุดประสงค์การจัดทำเป็นการ์ตูน
    กรมทรัพยากรธรณีจัดทำเป็นการ์ตูน เพื่อสื่อถึงพี่น้องประชาชนและเยาวชนให้เข้าใจถึงสาเหตุ ลักษณะการเกิด การสังเกตเบื้องต้นของหลุมยุบ พร้อมทั้งการระมัดระวังภัยอันเนื่องมาจากหลุมยุบ เพื่อเป็นการบรรเทาและเตรียมการป้องกันและแก้ไข เมื่อมีเหตุอันเกิดขึ้นที่คาดการณ์ไม่ถึงและเพื่อให้เกิดความรู้เท่าทันธรรมชาติ จะได้ไม่เกิดการตระหนก หรือหวาดผวาจนเกินเหตุ และมีความรู้ที่จะสามารถดำเนินชีวิตอยู่กับธรรมชาติได้อย่างมีความสุข

    หากมีข้อสงสัยและต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อได้ที่ กรมทรัพยากรธรณี กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม โทร. 02 202 3918, 02 202 3926

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  9. ~:*พนมวัน*:~

    ~:*พนมวัน*:~ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    274
    ค่าพลัง:
    +1,214
  10. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ระกาจันทร์ # 7 สถิติพื้นที่เคยเกิดหลุมยุบในประเทศไทยค่ะ


    ตารางสรุปเหตุการณ์หลุมยุบในประเทศไทยระหว่างวันที่ 26 ธ.ค.2547 ถึง 28 ก.พ. 2550





    ขอบคุณมากครับ ที่ช่วยหาข้อมูลมาจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มิถุนายน 2010
  11. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    จากผู้จัดการออนไลท์ 2 มิถุนายน 2553<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr style=""> <td style="padding: 0cm;" valign="top">
    </td> <td style="width: 75pt; padding: 0cm;" valign="top" width="100">
    </td> <td style="width: 7.2pt; padding: 0cm;" valign="top" width="10">
    </td> <td style="width: 18.75pt; padding: 0cm;" valign="top" width="25">
    </td> <td style="width: 18.75pt; padding: 0cm;" valign="top" width="25">
    </td> <td style="width: 41.25pt; padding: 0cm;" valign="top" width="55">
    </td> <td style="width: 46.5pt; padding: 0cm;" valign="top" width="62">
    </td></tr></tbody></table> <!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1029" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:3.75pt;height:3.75pt'> <v:imagedata src="file:///C:\WINDOWS\TEMP\msohtml1\01\clip_image005.gif" o:href="http://manager.co.th/images/blank.gif"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->ฝรั่งเขาเรียก Sinkhole เกิดขึ้นบ่อยมาก โดยเฉพาะ กัวเตมาลา
    <o></o>
    <o>ใครมีหลักฐานช่วยยืนยัน </o>"เกิดขึ้น บ่อยมาก โดยเฉพาะ กัวเตมาลา"

    ขอบคุณครับ
     
  12. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    Manganiss #4
    <o></o>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> February 15th, 2010 หลุมยุบ Sinkhole
    หลุมยุบคืออะไร

    <o></o>

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขอบคุณมากครับ ที่ช่วยหาข้อมูลมาจากสถาบันการศึกษา
    <o></o>
     
  13. ชัยธนันท์

    ชัยธนันท์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    859
    ค่าพลัง:
    +1,488
    ได้ความรู้ใหม่ขอบคุณครับ
     
  14. น้ำดี1

    น้ำดี1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    13,402
    ค่าพลัง:
    +43,432
    ข้อมูลแน่นเอียด
     
  15. new_mansum

    new_mansum เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2010
    โพสต์:
    3,793
    ค่าพลัง:
    +5,396
    ได้ความรู้เยอะมากๆเลยครับ ขอบคุณมากๆครับ
     
  16. mib8gdviNz

    mib8gdviNz เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    1,009
    ค่าพลัง:
    +1,524
    รูปหลุมยุบที่เกิดในกัวเตมาลา.. มันเหมือนโดนขุดไว้เลยนะครับ
    แบบว่า..อะไรมันจะกลม และเป็นระเบียบขนาดน๊าน~
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2010
  17. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;** @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;** @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;** /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;** p {mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS";** span.longtext {mso-style-name:long_text;** @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;** div.Section1 {page:Section1;** --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;** </style> <![endif]--> เป็นคำถามที่ดีมากครับ แต่คำตอบอาจไม่ดีเท่าคำถาม

    และเมื่อมีคำถามว่า เกิดอะไรขึ้นมันถึงเป็นวงกลมแบบนั้น
    What Caused the Guatemala Sinkhole, and Why Is it so Round?
    by Haley Cohen June 2, 2010, 10:12 AM

    โดยมีคำตอบจากอาจารย์สองท่านที่คณะธรณีวิทยา มหาวิทยาลัยเยล USA ว่า

    หลุมมักจะเกิดขึ้น เมื่อภาวะของการยึดตัวของหินใต้ดินได้รับการกระทบจากจำนวนน้ำำที่รวมตัวบนพื้นผิวและมีแรงกดเพิ่มขึ้น ประกอบกับมีการไหลผ่านลงมาของน้ำทำให้การยึดตัวของหินใต้ดินูถูกทำลายไป จำนวนการไหลผ่านของน้ำเป็นตัวเร่ง โดยเฉพาะที่ลักษะของการไหลของน้ำลงหลุมเป็นไปตามแนวดิ่งตามแรงดึงดูดโลก (ตั้งฉากกับผิวโลก) ทำให้เกิดรูปแบบของวงกลมขึ้น
    <o></o>
    แต่สำหรับผมคิดว่าเหตุผลเพียงนี้ยังไม่พอที่จะอธิิบายการเกิดทรงกลมขึ้นได้ เพราะมันอาจเป็นรูปอื่นได้ด้วย ขึ้นอยู่กับจำนวนการรวมตัวของน้ำและทิศทางของน้ำ ลักษณะการระบายของน้ำ ตลอดจนการไหลของจำนวนน้ำในแต่ละวินาที ดังนั้น ผมขอตั้งสมมุติฐาน (สิ่งที่ไม่รู้จริง) ว่า<o></o>
    <o></o>
    ในส่วนที่อาจารย์สองท่านกล่าวมา น่าจะถูกในรูปของน้ำท่วมฉับพลัน ซึ่งสามารถตัดถนนให้ขาด หรือตัดคอสะพานพังตามรูปที่ จขกท นำมาแสดงไว้ได้

    แต่ในกรณีหลุมรูปทรงกลมผมจะพิจารณาว่า
    <o></o>
    <o></o>
    น้ำที่มากัดเซาะ เกิดขึ้นทั้งบนพื้นผิวถนน และที่กัดเซาะมาทางใต้พื้นผิวถนน (สังเกตจากลูกศรสีเขียวที่อยู่โดดเดี่ยว) ที่เป็นโพรงเพราะน้ำกัดเซาะใต้ผิวถนน ประจวบกับใต้ผิวถนนที่ลึกลงไป (ในรูปนี้กะประมาณตึก 30 ชั้นตามข่าว) มีโพรงใต้ดิน ที่น้ำสามารถไหลไปสู่ที่ต่ำกว่าได้ แต่โพรงนี้คงไม่ใหญ่มาก โดยจะต้องให้ปริมาณน้ำมีโอกาสท่วมพ้นปากหลุม ซึ่งก็ควรเป็นเช่นนั้น มิฉะนั้นการเกิดรูปทรงกลมจะไม่เกิดขึ้น
    <o></o>
    การเกิดทรงกลม (รูปทรงกระบอก) น่าจะเกิดจากการหมุนของน้ำ ( Whirlpool = น้ำวน ) ด้วยความเร็ว หลังจากที่มีการพังทลายของหินดินตามแนวโน้มถ่วงของโลก หินดินเหล่านี้ถูกน้ำเซาะพัดพาไหลไปตามโพรงใต้พื้นดิน และเมื่อน้ำภายใต้หลุมลึกมีสิ่งกีดขวางการไหลของน้ำ จนทำให้เกิดการหมุนตัวของน้ำขึ้นมาสู่เบื้องบน ที่จำนวนน้ำและความเร็วของน้ำนี้ เป็นน้ำวนที่แรงและเร็ว ที่มีพลังในการกัดเซาะทำลายถึงปากหลุม<o></o> การเกิดน้ำวนนี้ตามลักษณะทางฟิสิกส์จะเป็นไปในรูปทรงกลมหรือทรงกระบอกครับ
    <o></o>
    หลักฐานในการสังเกต <o></o>
    <o></o>
    1. สังเกตใต้พื้นสิ่งก่อสร้าง ที่มีลูกศรสีเขียว 3 ลูกชี้ จะเห็นเป็นโพรงเข้าไปเป็นส่วนของรูปทรงกลม ถ้าเกิดจากการทรุดตัวเฉยๆ ก็ไม่น่าจะเป็นรูปทรงกลมเข้าไปใต้ฐานสิ่งก่อสร้าง ตามที่ลูกศรสีเขียวสามดอกชี้ <o></o>
    2. สังเกตจากลูกศรสีแดง จะเห็นลักษณะของ Whirlpool หลงเหลืออยู่ (สังเกตุรอยกัดเซาะของน้ำ ที่เห็นได้ชัดเจน) <o></o>
    3. ลักษณะเป็นไปตามแนวโน้มถ่วงของโลก คือเมื่อมีการกัดเซาะ ทำให้หินดินถูกน้ำเชาะลงไปใต้พื้นดิน ไหลไปตามทางของน้ำ<o></o>ใต้ดิน
    4. สำหรับลูกศรสีน้ำเงิน เป็นทิศทางการไหลของน้ำในแนวดิ่ง<o></o>
    <o></o>
    แต่เราจะเอาสิ่งที่กล่าวมานี้เป็นคำตอบยังไม่ได้ 100% จำเป็นต้องเอาข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา ว่า จำนวนน้ำฝนมีเ่ท่าไร การสำรวจทางธรณีวิทยาในบริเวณนั้นเป็นอย่างไร การระบายน้ำใต้ดินสามารถให้น้ำไหลไปได้กี่ลูกบาตรเมตรต่อวินาที และยังมีข้อมูลอื่นมาประกอบอีกพอประมาณ เพื่อหาข้อเท็จจริงต่อไป<o></o>ครับ

    ฉะนั้นที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางของสมมุตติฐานเท่านั้น ว่าทรงกลมน่าจะเกิดด้วยเหตุนี้น่ะ

    <o></o>ขออนุโมทนาไปยังท่านผู้ถาม

    โปรดช่วยกันหาข้อเท็จจริง ย่อมเป็นผู้ตามรอยพระบาทของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโคตม

    ขอบคุณครับ

    10 มิถุนายน 2010

    ขอโทษครับที่เอาข้อมูลมาลงทีละนิดๆ เพราะพอดีงานรบกวนครับ

    รูปที่ 2 ท่านจะเห็นความชัดเจนการเกิดน้ำวน (Whirlpool) ที่เป็นตัวการทำให้เกิดทรงกลมตามที่กล่าวมาแล้วครับ

    ผมจะกล่าวถึง Vector แต่อยากให้ท่านที่ไม่แข็งแรงด้านนี้ พอเข้าใจว่า Vector เป็นอย่างไร เราจะได้คุยกับคนอื่นได้ครับ

    รูปถ่าย รูปพิมพ์ที่เห็น เกิดจากจุดเล็กๆ ที่เรียว่า Pixel รูปที่เกิดด้วย Pixel เรียกว่า Raster ครับ ฉะนั้นเวลาเราขยายรูปมากๆ เราจึงเห็นเป็นจุดๆ

    รูปที่เกิดจาก Vector เกิดจากเส้นตรงที่มีขนาดต่างกัน และแสดงทิศทาง รูปพวกนี้จะเป็นพวกกราฟฟิก (Graphic) ใช้ประโยชน์กันมากในทุกๆ ด้านครับไม่ว่าจะเป็นด้านวิศวกรรม ทางการแพทย์ การก่อสร้าง การสร้างรูปกราฟฟิกเคลื่อนไหว สำหรับการสร้างรูปที่เป็น Vector ค่อนข้างยุ่งยากต้องใช้ Software ช่วย ไม่เหมือนรูป Raster เห็นภาพไหนสวยก็ยกกล้องถ่ายภาพ เราก็ได้ภาพ Raster แล้วครับ

    สำหรับ Vector ที่เห็นในรูป 2 นี้ เป็นเพียงจุดเริ่มต้น โดยใช้เส้นตรงแทนขนาดแทนระยะทาง และทิศทาง ที่ออกจากแนวเส้นดิ่ง สีเขียววัดจากกลางหลุมโดยประมาณ

    Vector จะบอกขนาดของแรงกระทำของน้ำวน เพื่อจะนำมาวิเราะห์หาหลักฐานการเกิดน้ำวน (Whirlpool) ถ้าเราสร้างเส้น Vector มากขึ้น มีทิศทางที่แตกต่างกัน จากรูปภาพที่เ็ห็น ก็สามารถทำเป็นรูป 3 มิติได้ และจะแสดงว่าลักษณะ น้ำวนเป็นอย่างไร ตรงไหนแรงมากแรงน้อย อะไรทำนองนั้นครับ (จากภาพรูปแรกและรูปที่ 2 จะเห็นว่าการกัดเซาะของน้ำ เป็นไปอย่างมีระเบียบ ถ้าไม่เป็นระเบียบล่ะ ก็คงตั้งสมมุติฐานใหม่ครับว่า เกิดจากอะไรเป็นเหตุครับ) แต่จะต้องไม่ลืมว่าขณะนี้ยังเป็นสมมุติฐาน ต้องนำข้อมูลประกอบและการสำรวจพื้นที่จริงตามที่กล่าวไว้ก่อน แล้วมาร่วมการวิเคาะห์หาข้อเท็จครับ

    ท่านคงเห็นแล้วว่างานทางวิทยาศาสตร์นั้นมันวุ่นวายน่ะครับ แต่ทำให้เรารู้จักคิด ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้วถึงกาลามสูตร สามารถนำมาใช้ได้แม้กับเหตุการณ์ภัยพิบัติเช่นนี้ เราไม่เชื่อฝรั่ง เรามีศรัทธาในกาลามสูตรของพระพุทธองค์ นำกาลามสูตรมาใช้ว่าเหตุการณ์แปลกนี้ไม่น่าจะเป็นอย่างนี้น่ะ เมื่อไม่น่าจะเป็นอย่างนี้แล้วจะเป็นอย่างไรล่ะ ทำให้เราคิดๆ ด้วยจิตที่มี ศึล (ศีลช่วยทำให้้จิตใจบริษุทธิ์โปร่งใสด้วย) มีสมาธิ (จิตใจแน่วแน่) แล้วทั้งศึล ทั้งสมาธิ ร่วมด้วยช่วยกันทำให้เกิดปัญญาขึ้นได้ครับ

    ข้อคิดครับ เราคนไทยไม่จำเป็นต้องตามฝรั่งเสมอไป ฝรั่งตามคนไทย ตามคนต่างชาติก็มีไม่น้อยครับ แต่ที่เขาเจริญรุดหน้าไปเร็ว เพราะเขามีคนมาก มีเงินมาก และเขาเปิดใจ รับฟังความคิดเห็น การทำอะไรๆ จะเห็นว่านักวิทยาศาสตร์ฝรั่งเขาจะใช้กาลามสูตรโดยที่เขาไม่เคยรู้ว่ากาลามสูตรคืออะไรครับ

    ท่านคงจะเห็นแล้วว่า สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน ทำให้เราไม่หลงเชื่อ ไม่งมงาย เกิดความมงคลแก่ตนเอง และยังเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาโดยไม่รู้ตน เป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ คือคำตรัสสอนของพระพุทธองค์นั้นเป็นอัศจรรย์ยิ่งนัก สามารถนำมาใช้ประพฤติปฏิบัติตามได้ เกิดเป็นปัญญาความรู้จริงตามทีพระพุทธองค์ตรัสไว้ดีแล้วครับ


    พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้วในเรื่องกาลามสูตร เราพุทธศาสนิกชนพยายามบอกต่อๆกันไปครับ ใช้กาลามสูตรให้มาก ประเทศไทยจะได้เจรฺญรุดหน้ายิ่งขึ้นครับ

    ขอบคุณครับ

    [​IMG]

    [​IMG]


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Slide4.jpg
      Slide4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      61.9 KB
      เปิดดู:
      10,916
    • Slide5.jpg
      Slide5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      105.1 KB
      เปิดดู:
      11,123
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2010
  18. gatsuja

    gatsuja เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    837
    ค่าพลัง:
    +876
    ได้รับความรู้มากเลยครับ
     
  19. Phra Atipan

    Phra Atipan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,301
    กระทู้นี้มีสาระมากเลยครับ เจริญพร
     
  20. หนึ่ง99999

    หนึ่ง99999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,369
    ค่าพลัง:
    +1,922
    พระเทวทัต
    พระเทวทัต ในสมัยพระพุทธกาลเป็นพี่ของพระนางยโสธรา (พิมพา) พระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะราชกุมาร ที่มาเป็นพระพุทธเจ้า และเป็นลูกของลุง พระพุทธเจ้าเองพระเทวทัตนั้นตามจองล้างพระพุทธเจ้ามานานหลายชาติ อดีตชาตินานมาแล้วนั้นพระเทวทัตเป็นพ่อค้าวานิช มีจิตละโมบทุจริตและในชาตินั้น พระพุทธองค์ได้เสวยพระชาติเป็นพ่อค้าวานิชด้วยเช่นกันแต่เป็นฝ่ายสุจริต
    วันหนึ่ง หญิงชราซึ่งเป็นผู้ดีตกยาก มีถาดทองคำของต้นตระกูลเหลืออยู่ จึงนำออกมาขาย พระเทวทัตเห็นเช่นนั้นจึงลวงด้วยเล่ห์ต่อหญิงชรานั้นว่า ถาดนั้นมิใช่ทองคำแท้เป็นทองปลอม จึงเสนอขอซื้อราคาถูกแต่หญิงชรานั้นรู้ดีว่าถาดที่แกนำออกมาขายนั้นทำด้วยทองคำแท้จึงมิยอมขายให้ ในเวลาเดียวกันนั้น พระพุทธองค์ซึ่งเสวยพระชาติเป็นพ่อค้ามาพบเข้า เห็นเป็นถาดทำด้วยทองคำแท้ก็ให้ราคาตามความเป็นจริง สร้างความโกรธแค้นให้แก่พระเทวทัตเป็นยิ่งนัก ถ้าไม่มีพระพุทธองค์มาซื้อถาดทองคำนั้น ในมิช้าหญิงชราก็จักต้องนำถาดทองคำมาขายแก่ตนเพราะความยากจน ด้วยเหตุนี้พระเทวทัตจึงผูกพยาบาทด้วยการกอบเม็ดทรายขึ้นมา ๑ กำมือหว่านลงกับพื้นดินประกาศว่า .. เราจะจองล้างจองผลาญท่านต่อไปเท่าเม็ดทรายในกำมือ ๑ เม็ด เท่ากับ ๑ ชาติ จึงตามเบียดเบียนพยาบาทจองเวรกันมานับภพชาติไม่ถ้วน
    เรื่อยมาจนกระทั่งพระชาติสุดท้ายก่อนจะที่จะมาตรัสรู้ที่เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จนกระทั่งมาถึงพระชาติที่ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระเทวทัตมีจิตริษยาพระพุทธเจ้านับตั้งแต่เยาว์วัย ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าทรงบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ เจ้าชายเทวทัตได้ออกบวชด้วยเช่นกัน เมื่อบวชแล้วได้โลกีย์ญาณ มีความชำนาญในอภิญญา สามารถนิรมิตกายเหาะเหินเดินอากาศได้ จึงเกิดความกำเริบใจเพราะอกุศลกรรมเข้าสนับสนุน ใช้ฤทธิ์แปลงกายเป็นพระศาสดา กล่าวให้ร้ายในพรหมจรรย์ของพระพุทธองค์ ว่ายังอนุญาตให้สงฆ์สาวกฉันเนื้อสัตว์ที่ถูกนำมาถวายเป็นพระกระยาหาร และก็เริ่มต้นสร้างความเลื่อมใสด้วยการฉันมังสวิรัติ ให้เห็นว่าสิ่งที่พระพุทธองค์ยินยอมให้พุทธสาวกปฏิบัตินั้นคือความเสื่อม
    มิเพียงเท่านั้น ยังลวงเจ้าชายอชาติศัตรูให้กบฏต่อพระราชบิดาแล้วตั้งตัวเองเป็นพระราชา พระเจ้าอชาติศัตรูนั้นเคยเลื่อมใสพระพุทธองค์ แต่เมื่อถูกพระเทวทัตลวงก็ตัด อุปนิสัยแห่งมรรคผลเบื้องต้นเสีย ทำตัวเองไปสู่ความพินาศอย่างใหญ่หลวงถึงขั้นทำกรรมหนักปลงพระชนม์พระราชบิดา พระเทวทัตเองก็คิดปลงพระชนม์พระพุทธองค์แล้วจะตั้งตนเป็นพระศาสดาเสียเอง อกุศลกรรมที่พระเทวทัตก่อขึ้นตั้งแต่ต้น คือส่งนายขมังธนูเพื่อปลงพระชนม์พระพุทธองค์ ยุยงให้พระเจ้าอชาติศัตรูมอมเหล้าช้าง “ นาฬาคีรี ” จนมึนเมาดุร้ายแล้วปล่อยออกไปทำร้ายพระพุทธองค์ ตลอดจนกระทั่งยุยงหมู่พระสงฆ์ให้เห็นความมัวหมองในพรหมจรรย์ ของพระพุทธองค์ ขณะเดียวกันพระเทวทัต ได้หันมาฉันมังสวิรัติเป็นการโอ้อวดพรหมจรรย์ที่สูงกว่า ความเลวร้ายของพระเทวทัตนั้นหนักหนา จนแผ่นดินที่รองรับอยู่นั้นทนมิได้ แยกตัวออก และสูบเอาพระเทวทัตตกสู่ขุมนรกอเวจี ยืนเสวยอกุศลวิบากอีกนานเท่านาน จนแทบจะนับกาลเวลาไม่ได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มิถุนายน 2010

แชร์หน้านี้

Loading...