วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 17 กรกฎาคม 2006.

  1. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2523319 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->bank8<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2523319", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Mar 2009
    ข้อความ: 452
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 3,226
    ได้รับอนุโมทนา 1,804 ครั้ง ใน 256 โพส
    พลังการให้คะแนน: 102 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2523319 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->จิตหมอง ภาพนิพพานก็หมอง<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1262921052&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff14%2F%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87-209761.html&dt=1262921052937&correlator=1262921052937&frm=0&ga_vid=1645874145.1262602692&ga_sid=1262920784&ga_hid=1188697239&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=0&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=622&bih=395&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D-%E2%80%9C%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C-%E2%80%9D%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2-%E0%B8%9E%E0%B8%A5-%E0%B8%95-%E0%B8%97-%E0%B8%99%E0%B8%9E-%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%99-201273.html&fu=0&ifi=1&dtd=63&xpc=gYwBRfljTY&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]
    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
  3. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2480926 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nuttadet<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2480926", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Mar 2007
    ข้อความ: 1,339
    Groans: 2
    Groaned at 10 Times in 7 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 8,454
    ได้รับอนุโมทนา 15,998 ครั้ง ใน 1,232 โพส
    พลังการให้คะแนน: 534 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2480926 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ธัมมวิจัย จากคำสั่งสอนของพระองค์ หลวงปู่ หลวงพ่อ โดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1263206041&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%98%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%91%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%88%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%91%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%82-%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%88%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%92%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%81%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%84%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%93%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8A%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%91%E0%B9%80%E0%B8%99%C2%88%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8A%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%99%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%82%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%9E%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%83%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%90%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%84%E0%B9%80%E0%B8%99%C2%8C-%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%85%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%9B%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%99%C2%88-%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%85%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%9E%E0%B9%80%E0%B8%99%C2%88%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8D-%E0%B9%80%E0%B8%99%C2%82%E0%B9%80%E0%B8%98%E2%80%9D%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%82%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%85%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%9E%E0%B9%80%E0%B8%99%C2%88%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%92%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%89%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%85%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%98%C2%87%E0%B9%80%E0%B8%98%E2%80%9D%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%93-207635.html&dt=1263206041203&correlator=1263206041203&frm=0&ga_vid=1645874145.1262602692&ga_sid=1263205842&ga_hid=1408431752&ga_fc=1&ga_&dtd=31&xpc=VSst0ZCx6g&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    ธรรม
    ที่นำไปสู่ความหลุดพ้น
    เล่มที่ ๖
    พระราชพรหมยานมหาเถระ หลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุง

    รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    สามารถดูสารบัญหัวข้อธรรมะจากในเล่มได้ที่ลิ้งค์นี้นะครับ

    รวบรวมโดย : พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน


    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]


    </FIELDSET>
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แจก cd สอนสมาธิเบื้องต้น ไปจนถึง มโนมยิทธิ และกสิณ ตามแนวทางหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    ท่านใดสนใจ pm มาครับ จัดส่งฟรีถึงบ้าน หรือจะดาวโหลดตามลิ้งได้เลยจ้า
    ไฟล์เสียงแนะนำสมาธิ โดย กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติ - Buddhism Audio

    ... เพื่อประโยชน์และความสุข ของทุกๆ ชึวิต และทุกๆ ดวงจิต ...
    <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2523371 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->bank8<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2523371", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Mar 2009
    ข้อความ: 452
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 3,263
    ได้รับอนุโมทนา 1,838 ครั้ง ใน 256 โพส
    พลังการให้คะแนน: 103 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2523371 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->หาดีใส่ตัวนั้นสมควร แต่อย่าเอาชั่วใส่คนอื่น<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1263206351&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff14%2F%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3-%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99-209770.html&dt=1263206351781&correlator=1263206351796&frm=0&ga_vid=1645874145.1262602692&ga_sid=1263205842&ga_hid=1893841422&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=0&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=622&bih=395&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D-%E2%80%9C%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C-%E2%80%9D%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2-%E0%B8%9E%E0%B8%A5-%E0%B8%95-%E0%B8%97-%E0%B8%99%E0%B8%9E-%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%99-201273.html&fu=0&ifi=1&dtd=94&xpc=zwaawofOGF&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]
    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2587457 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->bank8<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2587457", true); </SCRIPT>
    ทีมผู้ดูแลแกลเลอรี่

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Mar 2009
    ข้อความ: 452
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 3,263
    ได้รับอนุโมทนา 1,840 ครั้ง ใน 256 โพส
    พลังการให้คะแนน: 103 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2587457 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->เบียดเบียนผู้อื่นเห็นง่าย เบียดเบียนตนเองเห็นยาก<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1263206817&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff14%2F%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81-212519.html&dt=1263206817468&correlator=1263206817484&frm=0&ga_vid=1645874145.1262602692&ga_sid=1263205842&ga_hid=1186770912&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=0&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D-%E2%80%9C%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C-%E2%80%9D%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2-%E0%B8%9E%E0%B8%A5-%E0%B8%95-%E0%B8%97-%E0%B8%99%E0%B8%9E-%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%99-201273.html&fu=0&ifi=1&dtd=47&xpc=1exlWKNmyH&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]
    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
  7. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ตอบคำถามที่คาดว่าจะเกิดประโยชน์ต่อท่านอื่นด้วยครับ

    --------------------------------------

    สวัสดีครับ อ.คณานันท์
    ตามที่ อ.คณานันท์ บอกว่า คุณแม่รัมภา ประธานแม่ชีไทย ท่านได้สอน เคล็ดวิชชาธรรมกาย ขั้นสูง
    ดับ
    ระเบิด
    ละเอียด
    ใส
    ผมมีความรู้สึกว่า จะมีอาการเป็นอย่างนั้นนะครับ
    คือว่า หลังจากที่ผม จับลมหายใจในอานาปานสติ จนถึงฌานสี่ แล้วถอยหลังกลับออกมาอยู่ที่ อุปจารสมาธิ
    แล้วจับ อาโลกสิณ จนถึงฌานสี่ แล้วถอยหลังกลับออกมาอยู่ที่ อุปจารสมาธิ อีกครั้ง จากนั้นดวงแก้วที่อยู่ในจิตของผม
    จะเริ่มเป็นประกาย มองเห็นชัดเจนแจ่มใสขึ้น แล้วก็ใสสว่างเป็นระยะๆ แสงสว่างจากดวงแก้ว แสงสีฟ้าขาว ส่องประกายในจิต คล้ายเป็นแสงทิพย์
    ภาพที่ปรากฏในจิตคล้ายๆภาพทิพย์ แต่ยังมองไม่ออกว่าเป็นภาพอะไร จากนั้นผมจึงใช้อารมณ์ของ อุปจารสมาธิ เพ่งมองดวงแก้วไปเรื่อย
    แล้วก็กำหนดรู้จับลมหายใจ ไปตลอดเรื่อยๆ จนเกิดอาการดังนี้ คือ
    เกิดธรรมะปีติอย่างมากมาย แล้ว สมาธิจิตรวมตัวอย่างรวดเร็ว เข้าสู่ความว่างเปล่า การไม่มีตัวตน เข้าสู่อาการดับ คล้ายๆกับอารมณ์ของฌานสี่
    และผมรู้สึกว่า มีตัวตนอีก อีกตัวตนหนึ่ง ในร่ายกายของผมนี้ ร่ายกายเป็นแค่กายเนื้อ แต่เราอยู่ข้างใน แต่ออกไปใหนไม่ได้
    ได้เพียงแค่ร้บรู้เท่านั้น สภาพของผมในตอนนั้น มีลมหายใจ มีความคิด และตัวเย็นชาไปหมด ไม่มีตัวตน ไม่มีความรู้สึก วางเฉยไม่สนใจอะไรทั้งนั้น
    และสมาธิลึกมาก จิตรวมเป็นหนึ่งอยู่ที่ดวงแก้ว และมีอาการคล้ายครึ่งหลับครึ่งตื่น ผมจึงจับภาพดวงแก้ว ไปเรื่อยๆ
    จนมองเห็นความเวิ้งว้างว่างเปล่า เมื่อจับภาพดวงแก้วต่อไป กำลังสมาธิรวมตัวขึ้นอีก ดวงแก้วเปล่งประกาส่องแสง เป็นลูกไฟ พุ่งขึ้นข้างบน
    จนเกิดธรรมปีติมากมายมหาศาล จากนั้นอารมณ์จิตจึงเริ่มมีความ รู้สึกนุ่มนวล สว่างใส ไม่มีความอยาก ไม่มีความโกรธ ไม่ต้องการอะไรทั้งสิ้น
    คล้ายๆจะเข้าสู่อารมณ์พระนิพพาน จากนั้นสมาธิจึงคล้ายตัวออกมา รู้สึกตัวเบา เย็นสบาย มีความสุขมากๆ หลับตามองดวงแก้ว ใสสว่าง อยู่ตลอดเวลา
    ไม่หายไปจากจิต แม้ว่าจะลืมตา หลับตา กระพิบตา ก็ไม่หายไป ทรงอารมณ์อย่างนี้ได้ไปจนถึงเข้านอน พอตื่นขึ้นมาอีกที อารมณ์นี้ก็หายไป
    อาการที่เกิดขึ้นกับผมแบบนี้ ผมจึงรู้สึกกว่าคล้ายๆกับที่ อ.คณานันท์ บอก ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นกับผมเหล่านี้ ที่ผ่านๆมา ผมก็เคยส่งข้อความ
    มาถาม อ.คณานันท์ มาก่อนแล้ว เพียงแต่ว่าคราวนี้ผมเริ่มจับจุดตัวเองได้ เพราะอาการเหล่านี้เกิดขึ้นกับผมบ่อยๆ
    ทั้งหมดนี้ผมปฏิบัติ ผิด -ถูกยังไง ขอ อ.คณานันท์ ช่วยแนะนำด้วยนะครับ ขอบคุณครับ


    --------------------------------------------------------------------------------------------------



    ขอโมทนาบุญด้วยครับ

    ทุกสายการปฏิบัติล้วนรวมสู่จุดเดียวกัน คือ มุ่งตัดกิเลสความยึดมั่นถือมั่น ในกาย ในภพภูมิให้หมดไปจากจิต จากอนุสัยจิต

    จุดสำคัญคืออย่าได้ยึดถือ ว่า เราบรรลุธรรมขั้นนั้นขั้นนี้แล้ว มุ่งที่จิตเป็นสุข มีความปิติอิ่มใจหล่อเลี้ยง

    พิจารณาจิตเราว่า

    -มีความอ่อนน้อมอ่อนโยนเคารพในพระรัตนไตรเพิ่มขึ้นจนถึงขั้นสุดจิตสุดใจไหม

    -ความโกรธ ความเกลียดชัง ความคิดในอกุศล เบาลง คลายลงไปจากใจไหม

    -จิตสงบ นิ่งเย็นเป็นปกติ ไหม

    -เห็นความเป็นธรรมดา ในทุกสรรพสิ่งมากขึ้น เร็วขึ้นไหม รู้เท่าทันอารมณ์จิตเรามากขึ้นเร็วขึ้้นไหม

    -ทรงภาพพระพุทธเจ้าได้ติดในจิตในใจเป็นปกติไหม

    -สิ้นสงสัยในธรรม ในหลักสัมมาทิฐิทั้งปวงไหม

    -พรหมวิหารสี่ เต็มบริบูรณ์ จนสิ้นจิตอิจฉา จิตริษยา จิตอาฆาต จิตถือดีไหม

    -รู้เท่าทันภาวะร่างกาย ในความไม่เที่ยง ในความเสื่อม ในความตาย ในความเป็นรังของโรค ในความเป็นปฏิกูล ไหม

    -จิตแนบในพระพุทธเจ้า แนบในพระนิพพานไหม

    -ความอาลัยใน วัตถุ ในทรัพย์ ในบุคคล ในโลก ในสวรรค์ ในพรหม มีไหม

    ค่อยๆขยับเข้าสู่การพิจารณาเป็นวิปัสนาญาณในฌานครับ

    ขอโมทนาในความก้าวหน้าของสมาธิจิตครับ
     
  8. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    [​IMG]

    พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
     
  9. Natthakorn

    Natthakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,003
    ค่าพลัง:
    +7,078
    ผมขอลงบ้างนะครับ


    [​IMG]
    "ในหลวงพระองค์นี้ ท่านเป็นพระโพธิสัตว์น๊ะ..!!!!"
    พระภิกษุพระยานรรัตนราชมานิต(ธมฺมวิตกฺโกภิกขุ)วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร

    [​IMG]

    สำหรับปฐมเหตุที่ทำให้ท่านเจ้าคุณนรรัตน์ฯกล่าวความเช่นนี้ ก็เกิดมาจากการที่ท่านได้กล่าวเตือนญาติโยมบางรายที่ไปนมัสการว่า
    "การที่คุณเอาธนบัตรที่มีรูป ในหลวงไปใส่ไว้ในกระเป๋ากางเกงนั้น ไม่ดีเลย เพราะในหลวงท่านเป็นพระโพธิสัตว์ การเอาพระรูปของท่านไปไว้ในที่ต่ำอย่างนั้น ย่อมบังเกิดโทษเป็นอันมาก ทีหลังอย่าพากันทำ..!!?!"


    นอกจากนั้นแล้ว ตามความคิดของข้าพเจ้า ไม่เฉพาะธนบัตร รวมถึงเหรียญด้วย ในเหรียญ ยังมีรูปวัดวาอาราม รวมถึงพระเจดีย์ต่างๆด้วยครับ

    http://palungjit.org/threads/ในหลวงจักได้ตรัสเป็นพระพุทธเจ้า-ในอนาคตกาล.223616/

     
  10. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2442928 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->teporrarit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2442928", true); </SCRIPT>
    ทีมงานเว็บพลังจิต (บลู)

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2008
    สถานที่: เทพออรฤทธิ์ พลังจิต-พุทธศาสนา สำหรับผู้เริ่มต้น
    อายุ: 22
    ข้อความ: 3,645
    พลังการให้คะแนน: 589 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2442928 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->เรื่องจริงอิงนิทาน (พิเศษ)...ตอนที่5การคุยกันหลังเจริญพระกรรมฐานที่ศาลานวราช<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264153435&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99-%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%885%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A-205741.html&dt=1264153435750&correlator=1264153435765&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264151389&ga_hid=248756241&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=22&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B3%2Findex14.html&fu=0&ifi=1&dtd=46&xpc=yUuFYztKqE&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    เรื่องจริงอิงนิทาน [FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT]พิเศษ[FONT=Cordia New,Cordia New]) [/FONT]
    พระมหาวีระ ถาวโร [FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT]ฤาษีลิงดำ[FONT=Cordia New,Cordia New]) [/FONT]

    วัดจันทาราม [FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT]ท่าซุง อ[FONT=Cordia New,Cordia New].[/FONT]เมือง จ[FONT=Cordia New,Cordia New].[/FONT]อุทัยธานี[FONT=Cordia New,Cordia New]) [/FONT]

    …คืนวันนั้นหลังเจริญพระกรรมฐานแล้ว หลวงพ่อเมตตาลูก ๆ โดยอยู่นั่งคุยท่านเล่าให้ลูกๆ ฟังว่า วันนี้ร่างกายหลวงพ่อไม่ดีมาก ยิ่งร่างกายไม่ดีมากเพียงใด จิตใจก็จะดีมากเท่านั้น เพราะ
    ไม่แน่ว่าร่างกายมันจะพังขณะนี้หรือไม่ อารมณ์พระนิพพานเป็นยังไง ใครตอบได้ ท่านที่เข้าพระนิพพานแล้วนั่นแหละตอบได้
    ท่านแม่ศรี ของลูก ๆ เป็นผู้ตอบคำถามนี้…ท่านบอกว่า “มันไม่มีอารมณ์อะไรนี่ อารมณ์อย่างเทวดาก็ไม่มี อารมณ์อย่างพรหมก็ไม่มี จะมานั่งห่วงคนนั้นจะแก่ก็ไม่มี ห่วงว่าคนนั้นจะป่วยมันก็ไม่มี ห่วงว่าคนนั้นจะหิวมันก็ไม่มี ห่วงว่าคนนี้จะเหนื่อยมันก็ไม่มี มันไม่มีอะไรจะห่วงทั้งหมด อารมณ์มันเฉย ๆ ถึงจะเป็นลูก เป็นพี่ เป็นน้อง เป็นสามี เป็นภรรยา อารมณ์เดิมมันก็ไม่มี แต่ความเนื่องถึงกันในอดีตนั่นเป็นเรื่องธรรมดา แต่ขึ้นมาบนนี้อารมณ์มันปล่อยหมด แต่ทว่า คำว่า พันธะยังมีอยู่นิดหนึ่งคือ ห่วงพวกที่ยังไม่เป็นพระอรหันต์ แต่ห่วงแล้วจิตมันก็ไม่เป็นทุกข์หรอก มีกังวลอยู่นิดเดียวว่า ทำอย่างไรเขาจึงจะเป็นพระอรหันต์ จะหาวิธีใดที่จะให้เขามานิพพานได้”
    หลวงพ่อถามท่านแม่ว่า “สมมติว่า ถ้าเขามีกำลังที่จะมานิพพานไม่ได้ล่ะ จะมีกังวลไหม ท่านแม่ตอบว่า ไม่มีกังวลเพราะรู้ว่ากำลังเขาไม่พอ เราก็ไม่มีกังวล เราก็จะมีทางอย่างเดียวว่า ชี้แนว แนะแนว เพื่อความเข้าใจ เวลาที่จิตเขาเป็นทิพย์จะสร้างความเข้าใจให้เกิด ว่าการจะเป็นพระอริยเจ้าเบื้องสูงน่ะจะทำยังไง ให้เขาเกิดอารมณ์ความรู้สึกเอง”
    ท่านแม่ถามหลวงพ่อว่า “ขึ้นมาบนนี้มีกังวลไหม” หลวงพ่อตอบว่า “ฉันจะไปกังวลอะไรกะฉัน ฉันอยู่เมืองมนุษย์ฉันยังไม่กังวลเลย” ท่านแม่ถามอีกว่า “ห่วงใครบ้าง” หลวงพ่อตอบว่า “ตัวฉัน ฉันยังไม่ห่วงเลย แล้วฉันจะห่วงใครล่ะ”
    คราวนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งประทับเป็นประธานอยู่ด้วยตรัสว่า “ถูก ตัวคุณก็ไม่ห่วง และคำว่าห่วงจริง ๆ มันก็ไม่มี แต่ทว่าพระหรือคนก็ตาม ถ้าทำอารมณ์จิตถึงที่สุดได้ ก็อย่าลืมว่า ถ้าขันธ์ ๕ มันยังมีอยู่ ภาระก็ยังมี นี่เราไม่ห่วงจริงแต่เราก็ต้องทำงานตามหน้าที่ ฉะนั้น ความหนักในขณะที่ยังทรงขันธ์ ๕ มันจึงยังมีอยู่ แต่ทว่าจิตที่ยังทรงขันธ์ ๕ อยู่ควรจะทำอารมณ์ให้เบา เหมือนกับที่มาอยู่ที่นิพพาน”
    ทำยังไงรึ ก็ว่าคาถาไว้ว่า ช่างมัน ช่างมัน ช่างมัน ชั่งจนกระทั่งน้ำหนักที่ชั่งเหมือนชั่งอากาศ พระองค์อธิบายว่า ขณะที่ทรงขันธ์ ๕ อยู่ให้ทำจิตเหมือนกับอยู่ที่นิพพาน แต่ทว่ากิจที่จะต้องทำก็คือภาระเกี่ยวกับขันธ์ ๕ ถือว่าเราทำเพื่อมันทรงอยู่เพราะมันยังไม่ดับ แต่อย่ามีอารมณ์กังวล มันอยากกินก็ให้มันกิน มันอยากขี้ก็ให้มันขี้ มันอยากนอนก็ให้มันนอน ทำสภาวะเหมือนกับว่า ร่างกายเป็นเสือตัวร้ายที่เราเลี้ยงไว้ แต่เรากำลังจะกระโดดหนีเสือ แต่มันยังไปไม่ได้ เมื่อเราอยู่กับเสือก็มีความรังเกียจเสือ เราให้มันกินเพราะความจำใจ เราเอาใจมันเพราะความจำใจ แต่เนื้อแท้จริง ๆ เราไม่ต้องการมันเลย แล้วพระพุทธองค์ทรงสรุปอีกว่า
    [FONT=AngsanaUPC,AngsanaUPC]ให้พยายามรักษากําลังใจว่า ที่เราทรงขันธ์ ๕ อยู่ ให้เหมือนกับว่าเราละขันธ์ ๕ ไปอยู่ที่นิพพาน คืออย่าให้มีอารมณ์ยุ่ง หน้าที่ก็ให้มันเป็นหน้าที่ จิตจงอย่ายุ่งทำทุกอย่างเพื่อเราละโลกนี้
    เทวโลก พรหมโลก ซึ่งเหมือนพยัคฆ์ร้ายที่คอยทำอันตรายเรา เราต้องการอย่างเดียวคือพระนิพพาน[FONT=Cordia New,Cordia New]
    [/FONT]
    [/FONT]

    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->อดีตที่พลาดไปแล้วกลับไปแก้ไขอะไรไม่ได้ ให้เราอยู่กับปัจจุบัน แล้วทำปัจจุบันให้ดี บันทึกบุญกับteporraritและปฏิทินโรงทาน2553<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2391266 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->VANCO<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2391266", true); </SCRIPT>
    ทีมงานเว็บพลังจิต (เต้)

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2007
    ข้อความ: 24,790
    พลังการให้คะแนน: 7847 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2391266 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ระลึกตามบทพระพุทธคุณ ๙ อย่าง : พระราชพรหมยาน<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264154937&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93-%E0%B9%99-%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99-203143.html&dt=1264154937468&correlator=1264154937468&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264151389&ga_hid=1988048204&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=22&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B3%2Findex14.html&fu=0&ifi=1&dtd=110&xpc=iPilDYEbv1&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]

    การระลึกตามแบบพระพุทธคุณ ๙ อย่างนี้ เป็นการระลึกถึงผลที่พระองค์ทรงบรรลุ จะไม่นำมาเขียนไว้เห็นท่าจะไม่เหมาะ ขอนำมาเขียนไว้เพื่อทราบดังต่อไปนี้

    ๑. อรหัง คำว่า อรหังนี้ แปลว่า ท่านผู้ไกลจากกิเลส หมายความว่า พระพุทธองค์ ไม่มีกิเลสเครื่องเศร้าหมองอยู่ในพระหฤทัยเลย เป็นผู้มีจิตบริสุทธิ์ผุดผ่องจริง ๆ อารมณ์กิเลส ที่พระอรหังหรือที่เรียกว่าพระอรหันต์ละได้นั้น มี ๑๐ อย่าง คือ

    ก. สักกายทิฎฐิ เห็นว่าร่างกายนี้ ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในกาย กายไม่มีในเรา ท่านละ ความเห็นว่าเป็นตัวเป็นตน เป็นสัตว์บุคคล เราเขาเสียได้ " โดยเห็นว่า ร่างกายนี้เป็นเพียงแต่ธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ประชุมกันชั่วคราว เป็นที่อาศัยของนามธรรม คือ เวทนา ความรู้สึกสุขทุกข์ และ ไม่สุข ไม่ทุกข์ คืออารมณ์วางเฉยจากอารมณ์สุขทุกข์ สัญญา มีความจดจำเรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว สังขาร อารมณ์ชั่วร้ายและอารมณ์เมตตาปรานีสดชื่น อันเกิดต่ออารมณ์ที่เป็นกุศล คือความดีและ อารมณ์ที่เป็นอกุศล คือความชั่วที่เรียกกันว่า อารมณ์เป็นบุญ และอารมณ์เป็นบาปที่คอยเข้าควบคุมใจ วิญญาณ คือ ความรู้ หนาว ร้อน หิวกระหาย เผ็ดเปรี้ยวหวานมันเค็ม และการสัมผัสถูกต้องเป็นต้น วิญญาณนี้ไม่ใช่ตัวนึกคิด ตัวนึกคิดนั้นคือจิต วิญญาณกับจิตนี้คนละอันแต่นักแต่งหนังสือมักจะเอาไป เขียนเป็นอันเดียวกัน ทำให้เข้าใจเขว ควรจะแยกกันเสีย เพื่อความเข้าใจง่าย อีกสิ่งหนึ่งที่เข้ามา อาศัยกายและไม่ตายร่วมกับร่างกาย สิ่งนั้นก็คือจิต เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนี้ ตายร่วมกับ ร่างกาย คือกายตายก็ตายด้วย แต่จิตที่เข้ามาอาศัยกายนี้ เข้ามาอาศัยชั่วคราว เมื่อกายตั้งอยู่ คือ ดำรงอยู่ร่วมพร้อมกับ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จิตก็อาศัยอยู่ แต่ถ้าขันธ์ ๕ มีร่างกายเป็น ประธานตายแล้วจิตก็ท่องเที่ยวไปแสวงหาที่อาศัยใหม่ คำว่าเราในที่นี้ ท่านหมายเอาจิตที่เข้ามาอาศัยกาย เมื่อท่านทราบอย่างนี้ท่านจึงไม่หนักใจ และผูกใจว่า ขันธ์ ๕ คือร่างกายนี้เป็นเราเป็น ของเรา เราไม่มีในกายกายไม่มีในเรา เราคือจิตที่เข้ามาอาศัยในกาย คือ ขันธ์ ๕ นี้ ขันธ์ ๕ ถ้าทรงอยู่ได้รักษาได้ก็อาศัยต่อไปถ้าผุพังแล้วท่านก็ไม่หนักใจ ไม่ตกใจ ไม่เสียดายห่วงใยใน ขันธ์ ๕ ท่านปล่อยไปตามกฎของธรรมดาเสมือนกับคนอาศัยรถหรือเรือโดยสาร เมื่อยังไม่ถึง เวลาลงก็นั่งไป แต่ถึงจุดหมายปลายทางเมื่อไร ก็ลงจากรถจากเรือ โดยไม่คิดห่วงใยเสียดายรถ หรือเรือโดยสารนั้น เพราะทราบแล้วว่ามันไม่ใช่ของเราเขาก็ไม่ใช่เรา เราก็ไปตามทางของเรา ส่วนรถเรือโดยสารก็ไปตามทางของเขา ต่างคนต่างไม่มีห่วงใย พระอรหันต์ทั้งหลายท่าน มีความรู้สึกอย่างนี้ พระพุทธเจ้าผู้เป็นจอมอรหันต์ พระองค์มีความรู้สึกอย่างนี้ ท่านนักปฏิบัติ ที่ระลึกถึงพระคุณข้อนี้ ก็ควรทำความพอใจตามที่พระองค์ทรงบรรลุเป็นพระอรหันต์อย่างนี้ จะเป็นเครื่องบั่นทอนกิเลสลงได้มาก จนเข้าถึงความเป็นพระอรหันต์อย่างพระองค์ "

    ข. วิจิกิจฉา พระอรหันต์ท่านเชื่อมั่นในธรรมปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนแล้ว โดยไม่เคลือบแคลงสงสัยและปฏิบัติตามด้วยศรัทธายิ่ง

    ค. สีลัพพตปรามาส ท่านรักษาศีลเป็นอธิศีล คือ ไม่ละเมิดศีลด้วยตนเองไม่แนะให้ใคร ละเมิดศีล ไม่ยินดีเมื่อผู้อื่นละเมิดศีล

    ฆ. ละกามฉันทะ คือความยินดีในกามารมณ์ ท่านหมดความรู้สึกทางเพศเด็ดขาดมีอสุจิเหือดแห้ง ความรู้สึกพอใจในกามารมณ์ไม่มีในความรู้สึกของท่านเลย

    ง. พยาบาท ท่านตัดความโกรธความพยาบาทได้สิ้นเชิง มีแต่ความเมตตาปรานีเป็นปกติ

    จ. รูปราคะ ท่านตัดความสำคัญในรูปฌานว่าเลิศเสียได้ โดยเห็นว่ารูปฌานนี้เป็นกำลังส่งให้ เข้าถึงวิปัสสนาญาณ ไม่ใช่ตัวมรรคผลนิพพาน

    ฉ.ท่านตัดความเห็นว่าเลิศในอรูปฌานเสียได้ โดยเห็นว่าอรูปฌานนี้ก็เป็นเพียงกำลังส่งให้ เข้าถึงวิปัสสนาญาณเช่นเดียวกับรูปฌาน

    ช. มานะ ท่านตัดความถือตัวถือตนว่า เราเลวกว่าเขา เราเสมอเขา เราดีกว่าเขาเสียได้ โดยวางอารมณ์เป็นอุเบกขา คือเฉย ๆ ต่อยศฐาบรรดาศักดิ์และฐานะความเป็นอยู่เพราะทราบแล้ว ว่าไม่มีอะไรยั่งยืนตลอดกาล

    ซ. อุทธัจจะ ท่านตัดอารมณ์ฟุ้งซ่าน ที่คิดนอกลู่นอกทางเสียได้ มีอารมณ์ผ่องใสพอใจ ในพระนิพพานเป็นปกติ

    ฌ. ท่านตัดอวิชชา คือความโง่ออกเสียได้สิ้นเชิง ท่านหมดความพอใจในสิ่งที่มีชีวิต และ ไม่มีชีวิต โดยที่คิดว่าเป็นสมบัติยั่งยืนได้สิ้นเชิงท่านเห็นว่า ไม่ว่าอะไรทั้งสิ้นมีเกิดแล้วก็เสื่อมในที่สุด ก็ต้องทำลาย ฉะนั้น อารมณ์ของท่านจึงไม่ยึดถืออะไรมั่นคง มีก็ใช้ เมื่อสลายตัวไปก็ไม่มีทุกข์

    ท่านตัดความกำหนัดยินดีในสมบัติของโลกเสียทั้งหมด ไม่มีเยื่อใยรักใคร่หวงแหนอะไร ทั้งหมด แม้แต่สังขารของท่าน

    พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทุกองค์มีความรู้สึกอย่างนี้ ท่านที่เจริญอนุสสติข้อนี้ เมื่อ ใคร่ครวญตามความดีทั้งสิบประการนี้เสมอ ๆ ทำให้อารมณ์ผ่องใสในพระพุทธคุณมากขึ้น เป็น เหตุให้เข้าถึงความเป็นพระอริยเจ้าได้อย่างไม่ยากนัก

    (จบข้อว่าด้วยอรหัง)​


    ๒. สัมมาสัมพุทโธ แปลว่า ตรัสรู้เองโดยชอบ ความหมายนี้ หมายความว่า พระองค์ ทรงรู้อริยสัจ ทั้ง ๔ คือ รู้ทุกข์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ รู้สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา ๓ ประการ คือ

    ๑. กามตัณหา ทะยานอยากได้ในสิ่งที่ยังไม่เคยมี อยากให้มีขึ้น

    ๒. ภวตัณหา สิ่งใดที่มีอยู่แล้ว อยากให้คงสภาพอยู่อย่างนั้น ไม่อยากให้เก่า ไม่อยากให้ เปลี่ยนแปลง

    ๓.วิภวตัณหา อยากให้สิ่งที่จะต้องสลายตัวนั้น ที่เป็นไปตามกฎธรรมดา มีความปรารถนา ไม่ให้กฎธรรมดาเกิดขึ้น คือ ไม่อยากให้สลายและไม่อยากเสื่อม ไม่อยากตายนั่นเอง ความรู้สึกอย่างนี้ เป็นความรู้สึกที่ฝืนกฎธรรมดา เป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์

    ทรงนิโรธะ คือความดับสูญไปแห่งความทุกข์ และทรงทราบมรรค คือปฏิปทาที่ปฏิบัติให้ เข้าถึงความทุกข์ คือทุกข์นั้นสูญสิ้นไป ได้แก่ทรงทราบมรรคคือข้อปฏิบัติ ๘ ประการดังต่อไปนี้

    ๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ
    ๒. สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ
    ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ
    ๔. สัมมากัมมันโต มีการงานชอบ
    ๕. สัมมาอาชีโว เลี้ยงชีพชอบ
    ๖. สัมมาวายาโม ความพยายามชอบ
    ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ
    ๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ

    ในมรรคคือข้อปฏิบัติที่จะให้เข้าถึงความดับสูญไปแห่งทุกข์นี้ ย่อลงเหลือสาม คือได้แก่ ศีล การรักษากายวาจาใจให้เรียบร้อย ตามขอบเขตของสิกขาบท สมาธิ การดำรงความตั้งมั่นของจิต ที่ไม่เป็นเวรเป็นภัยต่อสังคม คือดำรงฌานไว้ด้วยดี เพื่อเป็นบาทของวิปัสสนาญาณ ปัญญา ได้แก่การ เจริญวิปัสสนาญาณจนรู้แจ้งเห็นจริงตามกฎธรรมดา ไม่มีอารมณ์คิดที่จะฝืนกฎธรรมดานั้น

    ๓. วิชชาจรณสัมปันโน แปลว่า พระองค์ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ คือ ทรงมี ความรู้รอบและความประพฤติครบถ้วน

    วิชชา แปลว่าความรู้ หมายถึงรู้ในวิชชาสาม ที่สามัญชนไม่สามารถจะรู้ได้ คือ

    ๑. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทรงมีความรู้ในการระลึกชาติที่ล่วงแล้วมาได้อย่างไม่จำกัด ไม่มีผู้อื่นใดจะระลึกชาติได้มากเท่าพระองค์ และพระองค์ทรงมีความชำนาญในการระลึกชาติได้ อย่างเยี่ยม

    ๒. จุตูปปาตญาณ พระองค์ทรงมีความรู้ ความเกิด และความตายของสัตว์ โดยทรงรู้ว่า สัตว์ที่ตายไปแล้วนี้ไปเกิด ณ ที่ใด มีความสุขความทุกข์เป็นประการใด เพราะผลกรรมอะไรเป็น เหตุ และทรงทราบว่า สัตว์ที่ตายไปแล้วนี้มาจากไหน ที่มีความสุขความทุกข์อยู่นี้ เพราะอาศัยกรรม อะไรเป็นเหตุ

    ๓. อาสวักขยญาณ ทรงรู้วิชชาที่ทำอาสวกิเลสให้หมดสิ้นไป
    จรณะ หมายถึงความประพฤติ พระองค์มีความประพฤติครบถ้วนยอดเยี่ยม ท่านประมวล ความประพฤติที่พอจะนำมากล่าวไว้ได้โดยประมวลมี ๑๕ ข้อด้วยกัน คือ

    ๑. สีลสัมปทา พระองค์ทรงถึงพร้อมด้วยศีล คือ ทรงปฏิบัติในศีลไม่บกพร่อง
    ๒. อินทรียสังวร ทรงระมัดระวังในการเคลื่อนไหวทุกอิริยาบถ
    ๓. โภชเนมัตตัญญุตา ทรงรู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร
    ๔. ชาคริยานุโยค ทรงประกอบความเพียรของผู้ตื่นอยู่ คือ มีสติสัมปชัญญะครบถ้วน บริบูรณ์
    ๕. สัทธา ทรงมีความเชื่อมั่นในผลการปฏิบัติ ไม่มีความเคลือบแคลงสงสัย
    ๖. หิริ ทรงมีความละอายต่อผลของความชั่วทั้งมวล
    ๗. โอตตัปปะ ทรงเกรงกลัวต่อผลของความชั่วทั้งมวล
    ๘. พาหุสัจจะ ทรงสั่งสมวิชาการต่าง ๆ ด้วยการศึกษามาแล้วด้วยดี
    ๙. วิริยะ ทรงมีความเพียรไม่ท้อถอย โดยเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
    ๑๐. สติ ทรงมีสติสมบูรณ์
    ๑๑. ปัญญา มีปัญญารอบรู้ในวิทยาการทุกแขนง และทรงรู้แจ้งในอริยสัจ โดยที่มิได้ศึกษา จากผู้ใดมาในกาลก่อน ทรงค้นคว้าพบด้วยพระองค์เอง
    ๑๒. ปฐมฌาน ทรงฝึกฌาน จนได้ปฐมฌาน
    ๑๓. ทุติยฌาน ทรงฝึกจนได้ฌานที่สอง
    ๑๔. ตติยฌาน ทรงฝึกสมาธิ จนได้ฌานที่สาม
    ๑๕. จตุตถฌาน ทรงฝึกสมาธิ จนทรงฌานที่ ๔ ไว้ได้ด้วยดีเป็นพิเศษ

    ทั้งหมดนี้ จัดเป็นจริยา คือความประพฤติของพระองค์ อันเป็นแบบอย่างที่บรรดาพุทธสาวก จะพึงปฏิบัติตามให้ครบถ้วนบริบูรณ์ เพื่อผลไพบูลย์ในการปฏิบัติเพื่อมรรคผล เพราะพระองค์ทรงมี ความประพฤติอย่างนี้ จึงทรงบรรลุมรรคผล หากพุทธศาสนิกชนที่นับถือพระองค์ปฏิบัติตาม ก็มีหวัง ได้บรรลุมรรคผลในชาติปัจจุบัน

    ๔. สุคโต แปลว่า เสด็จไปดีแล้ว หมายความว่า พระองค์เสด็จไป ณ ที่ใด พระองค์ นำแต่ความสุขไปให้เจ้าของถิ่น คือนำความรู้อันเป็นเหตุของความสุขไปให้ ไม่เคยสร้างความ เดือดร้อนให้แก่ผู้ใด ใครก็ตาม บูชาพระองค์แล้ว ไม่เคยผิดหวังที่จะได้รับความสุขในทางปฏิบัติ

    ๕. โลกวิทู แปลว่า รู้แจ้งโลก หมายความว่า โลกทุกโลกมียมโลก คือโลกแห่งการ ทรมาน ได้แก่นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก และพระนิพพาน อันเป็น ดินแดนพ้นโลก พระองค์ทรงทราบตลอดหมดสิ้น แม้แต่ปฏิปทาที่จะให้ไปเกิดในโลกนั้น ๆ

    ๖. อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ แปลว่า เป็นนายสารถีผู้ฝึก ไม่มีนายสารถีใดมีความ สามารถฝึกได้เสมอเหมือนพระองค์ ทั้งนี้หมายความถึงการฝึกธรรมปฏิบัติ พระองค์ทรงมีญาณพิเศษ ที่เรียกว่า เจโตปริยญาณ ทรงรู้ใจคนว่า ผู้นี้ควรสอนอย่างไรจึงได้ผล พระองค์ทรงฝึกสอนตามที่รู้ด้วย พระญาณนั้น จึงมีความสามารถฝึกได้ดีเป็นพิเศษ

    ๗. สัตถา เทวมนุสสานัง แปลว่า พระองค์ทรงเป็นครูของเทวดาและมนุษย์ ทั้งนี้ หมายความว่า การสั่งสอนเพื่อมรรคผลนั้น พระองค์มิได้ทรงสั่งสอนแต่มนุษย์เท่านั้น แม้เทวดาและ พรหม พระองค์ทรงสั่งสอน การสอนมนุษย์ท่านอาจไม่สงสัย แต่การสอนเทวดานั้นท่านอาจจะแปลกใจ ข้อนี้ขอให้อ่านพุทธประวัติจะทราบ ว่าพระองค์ทรงสั่งสอนเทวดาและพรหมเป็นปกติเกือบทุกวัน เช่นเดียวกับสอนมนุษย์เหมือนกัน

    ๘. พุทโธ แปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่นแล้ว ผู้เบิกบานแล้ว ได้เหมือนกัน ความหมายถึงคำว่า พุทโธก็มีอย่างนี้ คือ หมายถึงพระองค์ทรงรู้พระองค์ ด้วยความเป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสติสัมปชัญญะอยู่ ตลอดเวลานั่นเอง

    ๙. ภควา แปลว่า ผู้มีโชค หมายถึงพระองค์เป็นผู้มีโชคก่อนใคร ๆ ที่พระองค์เป็นผู้รู้เท่าทัน อวิชชา คือความโง่เขลาเบาปัญญา ความโง่ไม่สามารถครอบงำพระองค์ได้ โดยอาศัยที่พระองค์ทรง ค้นพบอริยสัจ ๔ จึงสามารถทำลายอำนาจอวิชชาคือความโง่ให้สลายตัวไปเสียได้ เหลือไว้แต่ความฉลาด หลักแหลม ความโง่ไม่สามารถจะบังคับบัญชาพระองค์ให้หลงใหลไปในอำนาจกิเลสและตัณหาได้ต่อไป พระองค์ทรงพบความสุขที่ยอดเยี่ยม ไม่มีความสุขอื่นยิ่งกว่า ความสุขที่ว่านี้ คือ พระนิพพาน

    พระพุทธคุณทั้ง ๙ ประการนี้ พระอาจารย์รุ่นเก่าท่านประพันธ์ไว้ให้บรรดาพุทธศาสนิกชน ระลึกนึกถึง จัดเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน คือตั้งอารมณ์ข่มนิวรณ์ปรารภถึงความดีของพระพุทธเจ้า เมื่อพระโยคาวจร คือท่านนักปฏิบัติพระกรรมฐานได้คำนึงถึงความดีของพระพุทธเจ้า ตามที่เขียนมานี้ ทั้งหมด หรือข้อใดข้อหนึ่ง หรือจะนึกถึงความดีของพระพุทธเจ้าในลักษณะอื่น แต่เป็นไปตามแบบพระพุทธจริยาแล้ว จนจิตมีความเคยชิน ระงับนิวรณธรรมห้าประการเสียได้ จิตตั้งอยู่ในอุปจารสมาธิแล้ว เจริญวิปัสสนาญาณ ท่านว่าท่านผู้นั้นสามารถจะชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใสได้ เพราะอาศัยความ เลื่อมใสในพระพุทธจริยา จัดว่าเป็นผู้มีโชคอย่างยิ่ง คือจะได้สำเร็จมรรคผลได้โดยฉับพลัน



    จาก หนังสือ คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน

    [​IMG] คำสอน พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)

    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) --><!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2438235 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->unzizu<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2438235", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 115
    พลังการให้คะแนน: 47 [​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2438235 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->เมื่อหลวงปู่ปานให้หลวงพ่อฤาษีลิงดำไปเรียนธรรมกาย<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264155155&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2-205477.html&dt=1264155155843&correlator=1264155155843&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264151389&ga_hid=1509752042&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=22&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B3%2Findex14.html&fu=0&ifi=1&dtd=94&xpc=qZC28JhrLp&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]

    อาตมาเองก็เป็นคนงมงายมาก่อน ในกาลก่อนใครพูดเรื่องนิพพานไม่เชื่อ นิพพานมีสภาพสูญ เขาว่าอย่างนั้น ต่อมา หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ซึ่งเป็นอาจารย์ ท่านเห็นว่า เรามีสันดานชั่วละมั้ง ก็ส่งให้ไปหา หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ไปเรียนกับหลวงพ่อสดประมาณ ๑ เดือน ก็ทำได้ตามสมควร เรียกว่าพื้นฐานมีอยู่แล้ว ต่อมาวันหนึ่งประมาณ เวลา ๖ ทุ่มเศษ หลังจากทำวัตร สวดมนต์ เจริญกรรมฐานกันแล้ว หลวงพ่อสดท่านก็คุยชวนคุย คนอื่นเขากลับหมด ก็อยู่ด้วยกันประมาณ ๑๐ องค์ วันนั้น ท่านก็บอกว่าฉันมีอะไรจะเล่าให้พวกคุณฟัง คือ พระที่ไปถึงนิพพานแล้ว มีรูปร่างเหมือนแก้วหมด ตัวเป็นแก้ว เราก็นึกในใจว่าหลวงพ่อนี่ไปมากแล้ว นิพพานเขาบอกว่ามีสภาพสูญ แล้วทำไมจะมีตัวมีตน

    แล้วท่านก็ยังคุยต่อไปว่า นิพพานนี้เป็นเมือง แต่ว่าเป็นทิพย์พิเศษ เป็นทิพย์ที่ไม่ต้องกลับมาเกิดอีก มีพระอรหันต์มากมาย คนที่ไปนิพพานได้ เขาเรียกว่า พระอรหันต์ จะตายเมื่อเป็นฆราวาสจะตายเมื่อเป็นพระก็ตาม ต้องถึงอรหันต์ก่อน เมื่อถึงอรหันต์ก่อนแล้วก็ตาย ตายแล้วก็ไปอยู่ที่นั่น ร่างกายเป็นแก้วหมด เมืองเป็นแก้ว สถานที่อยู่แพรวพราวเป็นระยับ อาตมาก็นึกในใจว่าหลวงพ่อนี่ไปเยอะ ตอนก่อนก็ดี สอนดี มาตอนนี้ชักจะไปมากเสียแล้ว

    แต่ก็ไม่ค้าน ฟังแล้วก็ยิ้ม ๆ ท่านก็คุยต่อไปว่า เมื่อคืนนั้น ขี่ม้าแก้วไปเมืองนิพพาน (เอาเข้าแล้ว) แล้วต่อมาคุยไปคุยมาท่านก็บอกว่า (ท่านคงจะทราบ ท่านไม่โง่เท่าเด็ก เพราะพระขนาดรู้นิพพานไปแล้ว อย่างอื่นก็ต้องรู้หมด แต่ความจริงคำว่า รู้หมด ในที่นี้ บรรดาท่านพุทธบริษัท ไม่ใช่รู้เท่าพระพุทธเจ้า แต่ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่ควรจะรู้ ก็สามารถรู้หมด)

    ท่านก็เลยบอกว่า เธอดูดาวงดวงนี้นะ ดาวดวงนี้สุกสว่างมาก ประเดี๋ยวฉันจะทำให้ดาวดวงนี้ริบหรี่ลง จะค่อย ๆ หรี่ลงจนกระทั่งไม่เห็นแสงดาว ท่านชี้ให้ดู แล้วก็มองต่อไป ตอนนี้เริ่มหรี่ ละ ๆ แสงดาวก็หรี่ไปตามเสียงของท่าน ในที่สุด หรี่ที่สุด ไม่เห็นแสงดาว ท่านถามว่า เวลานี้ทุกคนเห็นแสงดาวไหม ก็กราบเรียนท่านว่า ไม่เห็นแสงขอรับ ท่านบอกว่า ต่อนี้ไป ดาวจะเริ่มค่อย ๆ สว่าง ขึ้นทีละน้อย ๆ จนกระทั่งถึงที่สุด แล้วก็เป็นไปตามนั้น

    พอท่านทำถึงตอนนี้ก็เกิดความเข้าใจว่า ความดีหรือวิชาความรู้ที่เรามีอยู่ มันไม่ได้ ๑ ในล้านที่ท่านมีแล้ว ฉะนั้นคำว่านิพพานจะต้องมีแน่ ท่านมีความสามารถอย่างนี้เกินที่เราจะพึงคิด ครูบาอาจารย์ต่าง ๆ ที่ศึกษามาในด้านกรรมฐานก็ดีหรือที่คุยกันมาก็ดี นี่ท่านรู้จริง ท่านก็ไม่ปฏิเสธเรื่องนิพพาน คำว่านิพพานสูญท่านไม่ยอมพูด ไปถามท่านเข้าว่านิพพานสูญรึ ท่านนิ่ง ในที่สุดก็ไปถาม ๒ องค์ คือ หลวงพ่อปาน กับหลวงพ่อโหน่ง ถามว่านิพพานสูญรึ ท่านตอบว่า ถ้าคนใดสูญจากนิพพาน คนนั้นก็เรียกว่านิพพานสูญ แต่คนไหนไม่สูญจากนิพพาน คนนั้นก็เรียกนิพพานไม่สูญ ก็รวมความว่า นิพพานไม่สูญแน่

    ทีนี้ต่อมา หลวงพ่อสดท่านก็ยืนยันเอาจริงเอาจัง ต่อมาท่านก็สงเคราะห์คืนนั้นเอง ท่านก็สงเคราะห์บอกว่า เรื่องต้องการทราบนิพพาน เขาทำกันอย่างนี้ ท่านก็แนะนำวิธีการของท่าน รู้สึกไม่ยาก เพราะเราเรียนกันมาเดือนหนึ่งแล้ว ตามพื้นฐานต่าง ๆ ท่านบอกว่าใช้กำลังใจอย่างนี้ เวลาผ่านไปประมาณสัก ๑๐ นาที รู้สึกว่านานมากหน่อย ทุกคนก็ไม่ปฏิเสธเรื่องนิพพานมีจริง เห็นนิพพานเป็นแก้ว แพรวพราวเป็นระยับ พระที่นิพพานทั้งหมด เป็นแก้วหมด แต่ไม่ใช่แก้วปั้น เป็นแก้วเดินได้ คือแพรวพราวเหมือนแก้ว สวยงามระยับทุกอย่างที่พูดนี้ยังนึกถึงบุญคุณหลวงพ่อ สดท่านยังไม่หาย ท่านมีบุญคุณมาก

    รวมความว่า เวลานั้นเรายังเป็นคนโง่ อาจจะมีจิตทึมทึก แต่ความจริงขอพูดตามความเป็นจริงเวลานั้นจิตไม่ดำ จิตใสเป็นแก้ว แต่ความแพรวพราวของจิตไม่มีการใสเป็นแก้วนั้น เวลานั้นเป็นฌานโลกีย์ ฌานสูงสุด ใช้กำลังเฉพาะเวลานะ ฌานโลกีย์นี้เอาจริงเอาจังกันไม่ได้ จะเอาตลอดเวลานี้ไม่ได้ เพราะอยู่ต่อหน้าครูบาอาจารย์ แล้วท่านก็สั่งว่า หลังจากนี้ต่อไป ทุก ๆ องค์ จงทำอย่างนี้จิตต่อให้ถึงนิพพานทุกวัน ตามที่จะพึงทำได้ อย่างน้อยที่สุด จงพบนิพพาน ๒ ครั้ง คือ ๑. เช้ามืด และประการที่ ๒. ก่อนหลับ หลังจากนี้ไป เธอกลับไปแล้ว ทีหลังกลับมาหาฉันใหม่ ฉันจะสอบ

    เมื่อได้ลีลามาอย่างนั้นแล้วก็กลับ มาหาครูบาอาจารย์เดิม คือ หลวงพ่อปาน พอขึ้นจากเรือก็ปรากฏว่าพบหลวงพ่อปานอยู่หน้าท่า ท่านเห็นหน้าแล้วท่านก็ยิ้ม ว่าอย่างไรท่านนักปราชญ์ทั้งหลาย เห็นนิพพานแล้วใช่ไหม ตกใจ ก็ถามว่า หลวงพ่อทราบหรือครับ บอก เออ ข้าไม่ทราบหรอก วะ เทวดาเขามาบอก บอกว่าเมื่อคืนที่แล้วมานี่ หลวงพ่อสดฝึกพวกเอ็งไปนิพพานใช่ไหม ก็กราบเรียนท่านบอกว่า ใช่ขอรับ ท่านบอกว่า นั่นแหละ เป็นของจริง ของจริงมีตามนั้น หลวงพ่อสดท่านมีความสามารถพิเศษในเรื่องนี้
    ก็ถามว่า ถ้าหลวงพ่อสอนเองจะได้ไหม ท่านก็ตอบว่า ฉันสอนเองก็ได้ แต่ปากพวกเธอมันมาก มันพูดมาก ดีไม่ดีพูดไปพูดมา งานของฉันก็มาก งานก่อสร้างก็เยอะ งานรักษาคนเป็นโรคก็เป็นประจำวัน ไม่มีเวลาว่าง ถ้าเธอไปพูดเรื่องนิพพาน ฉันสอนเข้าฉันก็ไม่มีเวลาหยุด เวลาจะรักษาคนก็จะไม่มี เวลาที่จะก่อสร้างวัดต่าง ๆ ก็ไม่มี ฉันหวังจะสงเคราะห์ในด้านนี้ จึงได้ส่งเธอไปหาหลวงพ่อสด ก็ถามว่า หลวงพ่อสดกับหลวงพ่อรู้จักกันดีรึ ท่านก็ตอบว่า รู้จักกันดีมาก เคยไปสอบซ้อมกรรมฐานด้วยกัน สอบกันไปสอบกันมาแล้ว ต่างคนต่างต้นเสมอกัน ก็รวมความว่ากำลังไล่เรื่อยกัน บรรดาท่านพุทธบริษัท นี่เป็นจุดหนึ่งที่อาตมาแสดงถึงความโง่กับครูบาอาจารย์์.........

    <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    ที่มา : จากบันทึกของท่านพ่อฤาษีลิงดำ ..........

    ข้อความจาก

    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2369376 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->teporrarit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2369376", true); </SCRIPT>
    ทีมงานเว็บพลังจิต (บลู)

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Feb 2008
    สถานที่: เทพออรฤทธิ์ พลังจิต-พุทธศาสนา สำหรับผู้เริ่มต้น
    อายุ: 22
    ข้อความ: 3,645
    พลังการให้คะแนน: 589 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2369376 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->อนุสสติสุดท้าย คือมรณานุสสติควบอุปมานุสสติ<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264155304&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4-202111.html&dt=1264155304281&correlator=1264155304296&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264151389&ga_hid=1050773495&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=22&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B3%2Findex14.html&fu=0&ifi=1&dtd=94&xpc=XG8OK4HCT8&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->อดีตที่พลาดไปแล้วกลับไปแก้ไขอะไรไม่ได้ ให้เราอยู่กับปัจจุบัน แล้วทำปัจจุบันให้ดี บันทึกบุญกับteporraritและปฏิทินโรงทาน2553<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2881520 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->tamsak<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2881520", true); </SCRIPT>
    ทีม พระไตรปิฏก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Sep 2004
    สถานที่: Bangkhen, Bangkok
    อายุ: 46
    ข้อความ: 5,673
    พลังการให้คะแนน: 6325 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2881520 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ความเบื่อ<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264299815&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff61%2F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD-223805.html&dt=1264299815343&correlator=1264299815375&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264297150&ga_hid=1681814945&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=30&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Findex.php&fu=0&ifi=1&dtd=141&xpc=t8CjtdWef0&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]


    ถาม : เมื่อปฏิบัติไประยะหนึ่ง เกิดความเบื่อขึ้นมา ความเบื่อนี่เป็นกิเลสหรือเปล่าครับ ?

    ตอบ : เป็นนิวรณ์ จัดอยู่ในส่วนของถีนมิทธนิวรณ์ ชวนให้เบื่อ ชวนให้ง่วงเหงาหาวนอน ชวนให้ขี้เกียจ ก็จัดเป็นกิเลส กิเลสหยาบมากด้วย เห็นหน้าตาชัดเจนที่สุดด้วย

    ถาม : แรกๆ ก็พยายามเปลี่ยนอิริยาบถแล้ว ทั้ง นั่ง ยืน เดิน นอน แต่ว่าก็เบื่อบรรยากาศในห้อง บางทีเก็บตัวอยู่ในห้องหลายๆ วัน ตรงนั้นเราจะต้องแก้ไขอย่างไร ?

    ตอบ : ไม่ต้องแก้ไข เลิกสนใจความเบื่อ แล้วอยู่กับการภาวนาอย่างเดียว อารมณ์เบื่อเกิดขึ้น แสดงว่าคุณหลุดจากการภาวนา

    ถ้าไม่หลุด..ก็จะสดชื่น เบาสบายอยู่อย่างนั้น กี่ปีกี่ชาติก็อยู่อย่างนั้น แสดงว่าเราประคองรักษาอารมณ์ไม่อยู่ ประเภทเลิกแล้วก็เลิกเลย ไม่เคยรักษาอารมณ์นั้นไว้ ทำให้กิเลส รัก โลภ โกรธ หลง ต่างๆ แทรกเข้ามาสิงได้ง่ายๆ นี่เป็นข้อบกพร่องใหญ่ของเราเลย ฉะนั้น...ต้องกลับไปแก้ไขตรงจุดนี้ให้ได้ ว่าทำอย่างไรแล้วจะทำให้เรารักษาอารมณ์นั้นอยู่ได้ด้วย


    [​IMG]


    ถาม : บางทีสังเกตดู บางทีเกิดอารมณ์เบื่อจากความอยากด้วย พอตั้งท่าจะทำ

    ตอบ : ก็เพราะไม่ได้อย่างที่อยาก

    ถาม : ก็เลยเบื่อ

    ตอบ : นั่นมันหลอกเราสองชั้นเลย

    ถาม : แต่ถ้าเบื่อแบบนิพพิทาญาณจะไม่ท้อถอยในการปฏิบัติ ?

    ตอบ : ไม่ท้อถอยหรอก แต่จะเซ็งในอารมณ์ จนทำอะไรไม่ถูกไปเลย จนกว่าปัญญาจะมาทัน ถ้าหากปัญญามาทันคราวนี้ก็จะเห็นว่า แม้บุคคลที่ตั้งใจปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นก็ยังทุกข์เห็นปานนี้ ขึ้นชื่อว่าบุคคลอื่นที่ไม่ทุกข์ จะหาที่ไหนได้เล่า ?


    พระครูธรรมธรเล็ก สุธมฺมปญฺโญ
    ถาม-ตอบ ช่วงเย็น ณ บ้านอนุสาวรีย์
    วันเสาร์ที่ ๒ มกราคม ๒๕๕๓


    ที่มา : http://www.watthakhanun.com/webboard...ead.php?t=1503



    .

    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->สร้างสมเด็จองค์ปฐมหน้าตัก 10 วา
    สร้างสมเด็จองค์ปฐม หน้าตัก ๑๐ วา วัดหนองหญ้าปล้อง - PaLungJit.com


    ร่วมสร้างพระชำระหนี้สงฆ์ "สมเด็จองค์ปฐม" ก้บวัดธรรมยาน

    http://palungjit.org/threads/ร่วมสร้างพระชำระหนี้สงฆ์-สมเด็จองค์ปฐม-ก้บวัดธรรมญาณ.119095/<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post2881520 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->tamsak<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2881520", true); </SCRIPT>
    ทีม พระไตรปิฏก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Sep 2004
    สถานที่: Bangkhen, Bangkok
    อายุ: 46
    ข้อความ: 5,673
    พลังการให้คะแนน: 6325 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2881520 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ความเบื่อ<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264299815&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff61%2F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD-223805.html&dt=1264299815343&correlator=1264299815375&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264297150&ga_hid=1681814945&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=30&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Findex.php&fu=0&ifi=1&dtd=141&xpc=t8CjtdWef0&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]


    ถาม : เมื่อปฏิบัติไประยะหนึ่ง เกิดความเบื่อขึ้นมา ความเบื่อนี่เป็นกิเลสหรือเปล่าครับ ?

    ตอบ : เป็นนิวรณ์ จัดอยู่ในส่วนของถีนมิทธนิวรณ์ ชวนให้เบื่อ ชวนให้ง่วงเหงาหาวนอน ชวนให้ขี้เกียจ ก็จัดเป็นกิเลส กิเลสหยาบมากด้วย เห็นหน้าตาชัดเจนที่สุดด้วย

    ถาม : แรกๆ ก็พยายามเปลี่ยนอิริยาบถแล้ว ทั้ง นั่ง ยืน เดิน นอน แต่ว่าก็เบื่อบรรยากาศในห้อง บางทีเก็บตัวอยู่ในห้องหลายๆ วัน ตรงนั้นเราจะต้องแก้ไขอย่างไร ?

    ตอบ : ไม่ต้องแก้ไข เลิกสนใจความเบื่อ แล้วอยู่กับการภาวนาอย่างเดียว อารมณ์เบื่อเกิดขึ้น แสดงว่าคุณหลุดจากการภาวนา

    ถ้าไม่หลุด..ก็จะสดชื่น เบาสบายอยู่อย่างนั้น กี่ปีกี่ชาติก็อยู่อย่างนั้น แสดงว่าเราประคองรักษาอารมณ์ไม่อยู่ ประเภทเลิกแล้วก็เลิกเลย ไม่เคยรักษาอารมณ์นั้นไว้ ทำให้กิเลส รัก โลภ โกรธ หลง ต่างๆ แทรกเข้ามาสิงได้ง่ายๆ นี่เป็นข้อบกพร่องใหญ่ของเราเลย ฉะนั้น...ต้องกลับไปแก้ไขตรงจุดนี้ให้ได้ ว่าทำอย่างไรแล้วจะทำให้เรารักษาอารมณ์นั้นอยู่ได้ด้วย


    [​IMG]


    ถาม : บางทีสังเกตดู บางทีเกิดอารมณ์เบื่อจากความอยากด้วย พอตั้งท่าจะทำ

    ตอบ : ก็เพราะไม่ได้อย่างที่อยาก

    ถาม : ก็เลยเบื่อ

    ตอบ : นั่นมันหลอกเราสองชั้นเลย

    ถาม : แต่ถ้าเบื่อแบบนิพพิทาญาณจะไม่ท้อถอยในการปฏิบัติ ?

    ตอบ : ไม่ท้อถอยหรอก แต่จะเซ็งในอารมณ์ จนทำอะไรไม่ถูกไปเลย จนกว่าปัญญาจะมาทัน ถ้าหากปัญญามาทันคราวนี้ก็จะเห็นว่า แม้บุคคลที่ตั้งใจปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นก็ยังทุกข์เห็นปานนี้ ขึ้นชื่อว่าบุคคลอื่นที่ไม่ทุกข์ จะหาที่ไหนได้เล่า ?


    พระครูธรรมธรเล็ก สุธมฺมปญฺโญ
    ถาม-ตอบ ช่วงเย็น ณ บ้านอนุสาวรีย์
    วันเสาร์ที่ ๒ มกราคม ๒๕๕๓


    ที่มา : http://www.watthakhanun.com/webboard...ead.php?t=1503



    .

    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->สร้างสมเด็จองค์ปฐมหน้าตัก 10 วา
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=65729


    ร่วมสร้างพระชำระหนี้สงฆ์ "สมเด็จองค์ปฐม" ก้บวัดธรรมยาน

    http://palungjit.org/threads/ร่วมสร้างพระชำระหนี้สงฆ์-สมเด็จองค์ปฐม-ก้บวัดธรรมญาณ.119095/<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. takamura15

    takamura15 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +34
    พี่ nan ครับผมฝึกมาได้ระยะหนึ่งแต่ยังคงมีตัวสงสัยอยู่นะครับ เคยไปฝึกเต็มกำลังที่ท่าซุง (ธค ที่ผ่านมา)ก็สั่นอยู่ แต่ไม่รู้ว่าจิตมันออกมาเต็มตัวหรือยัง ประมาณว่า พอถึงจังหวะสุดท้ายที่ลมมันกระตุกๆ แล้วก็ล้มลง แล้วหลังจากนั้น เท่าที่เขาเล่ากันว่า เสียงดับ ลมดับ มันไม่เห็นดับเลย ยังมีประสาทรู้ตัวสมบูรณ์ทุกอย่าง แล้วทำไมบางท่านบอกว่าฌาน 4 ละเอียด มันจะดับหมด หรือว่า ผมยังไม่ได้เต็มกำลังกันแน่ แล้วที่แปลกคือ ผมเข้าซ้ำครั้งที่ 2 3 4 ได้ แต่มันก็เหมือนเดิม สั่นรุนแรง แล้วก็ลมขาดเป็นช่วงๆ (เหมือนคนขาดอากาศหายใจ)แล้วก็ล้มลง ตกลงที่ได้มันเต็มกำลัง หรือ 3/4 หรือ 1/2 กำลัง งง ครับ

    ตอนนี้เ่ล่นกสินแสงสว่างอยู่ แนะนำหน่อยครับ
     
  17. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
  18. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ยังไม่ได้เป็นมโนมยิทธิเต็มกำลังครับ

    และยังไม่ได้ ฌานสี่ด้วย

    เอาแบบนี้ ปูพื้นฐาน สมถะให้แน่นและชำนาญเป็นวสีก่อน

    เริ่มจากทรงอานาปานสติ จับลมหายใจเข้าออกจนลมหายใจดับให้ได้ก่อนครับ ทำจน คล่อง หลับตา ลืมตา ทำอะไรอยู่ อิริยาบทใดก็ได้คล่อง สำคัญเน้น ตรงอารมณ์ใจสบาย สงบ เย็น ได้ทั้งวัน

    พอได้แล้วค่อยเริ่มการทรงภาพพระ โดยใช้กำลังจากฌานสี่ในอาณาปาน ร่วม จนจิตตั้งมั่น ภาพพระที่สว่างนั้น ลืมตาเห็นหลับตาเห็น

    แล้วค่อยไปต่อครับ
     
  19. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    <TABLE class=tborder id=post608132 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->joni_buddhist<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_608132", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Sep 2005
    สถานที่: 35 ถนนเจริญกรุง55 ยานนาวา สาทร กทม.10120
    อายุ: 28
    ข้อความ: 8,114
    พลังการให้คะแนน: 5494 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_608132 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->กรรมบถ10<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-2576485761337625";/* 250x250, created 31/01/09 */google_ad_slot = "7252767143";google_ad_width = 250;google_ad_height = 250;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><INS style="PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 250px; BORDER-TOP-STYLE: none; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-STYLE: none; BORDER-LEFT-STYLE: none; POSITION: relative; HEIGHT: 250px; BORDER-BOTTOM-STYLE: none"><IFRAME id=google_ads_frame1 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=250&slotname=7252767143&w=250&lmt=1264440121&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff23%2F%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%9610-83028.html%23post608132&dt=1264440121796&correlator=1264440121796&frm=0&ga_vid=167775879.1263389903&ga_sid=1264439386&ga_hid=505439899&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=20&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=800&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1260&bih=621&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Findex.php&fu=0&ifi=1&dtd=79&xpc=bHaHdYfkPC&p=http%3A//palungjit.org" frameBorder=0 width=250 scrolling=no height=250 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    [​IMG]

    กรรมบท ๑๐

    ๑.ทางกาย ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม และไม่ดื่มสุราเมรัย
    นี่ร่วมกันทั้ง ๒ อย่างนะ ทั้งศีล ๕ และกรรมบถ ๑๐ ศีล ๕ กรรมบถ ๑๐ นี่เหมือนกัน
    แต่ว่าต่างกันอยู่บ้างบางตอน นี่เราเอามาร่วมกันเข้าก็
    ๑. ไม่ฆ่าสัตว์
    ๒. ไม่ลักทรัพย์
    ๓. ไม่ประพฤติผิดในกาม
    ๔. ไม่ดื่มสุราเมรัย เราจะงดเว้นไม่ปฏิบัติอย่างนี้ต่อไป มันอาจเผลอได้บ้างเป็น
    ของธรรมดาใหม่ ๆ
    ๒. ทางวาจา กรรมบถ ๑๐ มี ๔
    ศีล ๕ มี ๑
    วาจาของกรรมบถ ๑๐ ก็คือ
    ๑. ไม่พูดปด เหมือนกับศีล ๕
    ๒. ไม่พูดหยาบ
    ๓. ไม่ส่อเสียดยุยงส่งเสริมให้เขาแตกร้าวกัน หรือนินทาชาวบ้าน
    ๔. ไม่พูดวาจาเพ้อเจ้อเหลวไหลไร้ประโยชน์เป็น ๔ อย่าง ท่านบอกว่าเราจะเว้น
    ไม่พูดปด ไม่พูดคำหยาบ ไม่ส่อเสียด ไม่เพ้อเจ้อเหลวไหล วาจาใดที่ไม่เป็น
    ประโยชน์เราไม่พูด นี่วาจา
    ศีลไม่ห้ามใจ แต่กรรมบถห้ามใจ ทางด้านจิตใจ มี ๓ คือ
    ๑. ไม่คิดอยากได้ทรัพย์สมบัติของใครโดยไม่ชอบธรรม ขึ้นชื่อว่าทรัพย์สมบัติของ
    ชาวบ้านนี่เราไม่ต้องการ ไม่เอา เขาไม่ให้ เราไม่ต้องการ ไม่คิดอยากได้ด้วยทางใจ
    ๒. ความโกรธ ยังมี แต่โกรธแล้วก็หายไป ไม่จองล้างจองผลาญ จองเวรจองกรรม
    กับใคร
    ๓. ยอมรับนับถือคำสอนของพระพุทธเจ้าด้วยความดี หมายความว่ายอมปฏิบัติตาม
    คำสอนของพระพุทธเจ้าที่เรียกว่า สัมมาทิฎฐิ
    ถ้าทุกคนมีกรรมบถ ๑๐ ประการ ด้วย มีพระไตรสรณคมน์ด้วย นึกถึงความตาย
    ไว้ด้วยทั้ง ๓ อย่างนี้ เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน และสกิทาคามี แต่ว่า ถ้าท่านปฏิบัติ
    แล้วจะเป็นพระโสดาบันหรือสกิทาคามีหรือไม่นี่ ขอได้โปรดอย่าคิด เราไม่คิด ไม่ต้อง
    คิดว่าเราจะเป็นพระอริยเจ้าหรือเปล่า เอาแต่เพียงว่าพระอริยเจ้าท่านคิดแบบไหน
    ท่านทำแบบไหน เราทำตามท่าน คือ
    ๑. พระโสดาบัน หรือ พระสกิทาคามี ท่านคิดว่าร่างกายนี้ต้องตายยังมีความรัก
    สวยรักงามแต่ไม่เมาในชีวิตเกินไป คิดว่าสักวันหนึ่งข้างหน้าต้องตาย อย่าลืมนะว่า
    พระโสดาบันหรือพระสกิทาคามียังแต่งงานได้นะ คนไม่แต่งงานก็แต่งงานได้ คน
    แต่งงานแล้วก็ไม่ต้องเลิกรากัน ยังอยู่ด้วยกันได้ เพราะรักษาแค่ศีล ๕ หรือกรรมบถ
    ๑๐ เขาไม่ได้ห้าม ไม่ใช่ศีล ๘
    ๒. พระโสดาบัน มีความเคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ด้วยความ
    จริงใจ เราก็ทำตามท่าน
    ๓. พระโสดาบัน มีศีล ๕ หรือกรรมบถ ๑๐ บริสุทธิ์ เราก็ทำตามท่าน
    เมื่อเราทำตามท่านแล้ว จะเป็นพระโสดาบันหรือไม่อย่าสนใจ ถ้าไป
    สนใจเข้าดีไม่ดี คิดว่าเราเป็นพระโสดาบัน แต่เผอิญมันยังไม่ได้ อย่างนี้จะกลาย
    เป็นมานะทิฏฐิ อารมณ์หยาบจะเกิด ดีไม่ดีเผลอตัวลงนรกไป ก็รวมคิดว่าท่านทำ
    อย่างไร เราทำอย่างนั้นจะเป็นหรือไม่เป็นไม่สำคัญ

    <TABLE width="50%" align=center border=1 hspace="100"><TBODY><TR bgColor=#ffff99><TD>[SIZE=+1]อานิสงส์กรรมบถ ๑๐ [/SIZE]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    ท่านที่ปฏิบัติในกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ ท่านเรียกชื่อเป็นกรรมฐานกองหนึ่งเหมือนกัน
    คือ ท่านเรียกว่า สีลานุสสติกรรมฐาน หมายความว่าเป็นผู้ทรงสมาธิในศีล

    ท่านที่ปฏิบัติในกรรมบถ ๑๐ ประการได้นั้น มีอานิสงส์ดังนี้
    ๑. อานิสงส์ข้อที่หนึ่ง จะเกิดเป็นคนรูปสวย ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีอายุยืนยาว ไม่อายุ
    สั้นพลันตาย
    ๒. อานิสงส์ข้อที่สอง เกิดเป็นคนมีทรัพย์มาก ทรัพย์ไม่ถูกทำลายเพราะโจร , ไฟไหม้ ,
    น้ำท่วม , ลมพัด จะมีทรัพย์สมบัติสมบูรณ์บริบูรณ์ขั้นมหาเศรษฐี
    ๓. อานิสงส์ข้อที่สาม เมื่อเกิดเป็นคนจะมีคนที่อยู่ในบังคับบัญชาเป็นคนดี , ไม่ดื้อด้าน
    อยู่ภายในคำสั่งอย่างเคร่งครัด มีความสุขเพราะบริวาร
    และการไม่ดื่มสุราเมรัยเมื่อเกิด เป็นคนจะไม่มีโรคปวดศีรษะที่ร้ายแรง, ไม่เป็นโรค
    เส้นประสาท, ไม่เป็นคนบ้าคลั่ง จะเป็นคนที่มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์, มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด

    เรื่องของวาจา
    ๔. อานิสงส์ข้อที่สี่, ข้อห้า, ข้อหก และข้อเจ็ด เมื่อเกิดเป็นคน จะเป็นคนปากหอม
    หรือมีเสียงทิพย์ คนที่ได้ยินเสียงท่านพูด เขาจะไม่อิ่มไม่เบื่อในเสียงของท่าน ถ้าเรียกตามสมัย
    ปัจจุบัน จะเรียกว่าคนมีเสียงเป็นเสน่ห์ก็คงไม่ผิด จะมีความเป็นอยู่ที่เป็นสุข และทรัพย์สินมหา-
    ศาลเพราะเสียง

    เรื่องของใจ
    ๕. อานิสงส์ข้อที่แปด ,ข้อเก้า และข้อสิบ เป็นเรื่องของใจ คืออารมณ์คิด ถ้าเว้นจาก
    การคิดลักขโมย เป็นต้น ไม่คิดจองล้างจองผลาญใคร, เชื่อพระพุทธเจ้า และปฏิบัติตามคำสอน
    ของท่านด้วยความเคารพ, ถ้าเกิดเป็นมนุษย์ จะเป็นคนมีอารมณ์สงบ, มีความสุขสบายทางใจ
    ความเดือดเนื้อร้อนใจในกรณีใดๆ ทุกประการจะไม่มีเลย มีแต่ความสุขใจอย่างเดียว

    <TABLE width="42%" align=center border=1 hspace="100"><TBODY><TR bgColor=#ffff99><TD>[SIZE=+1]อานิสงส์รวม[/SIZE]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    เมื่อกล่าวถึงอานิสงส์รวมแล้ว ผู้ที่ปฏิบัติกรรมฐานในขั้นนี้ ถึงแม้ว่าจะทรงสมาธิไม่ได้
    นาน ตามที่เรียกว่า ขณิกสมาธิ นั้น ถ้าสามารถทรงกรรมบถ ๑๐ ประการได้ครบถ้วน ท่านกล่าวว่า
    เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว ไม่ต้องไปเกิดในอบายภูมิอีกต่อไป บาปที่ทำไว้ตั้งแต่สมัยใดก็ตาม ไม่มี
    โอกาส นำไปลงโทษในอบายภูมิ มีนรกเป็นต้น อีกต่อไป
    ถ้าบุญบารมีไม่มากกว่านี้ ตายจากคนไปเป็นเทวดาหรือพรหม เมื่อหมดบุญแล้วลงมา
    เกิดเป็นมนุษย์ จะบรรลุเป็นพระอรหันต์ในชาตินั้น แต่ถ้าเร่งรัดการบำเพ็ญเพียรดี , รู้จักใช้ปัญญา
    อย่างมีเหตุผล ก็สามารถบรรลุมรรคผลเข้าถึงพระนิพพานได้ในชาตินี้

    <TABLE width="64%" align=center border=1 hspace="100"><TBODY><TR bgColor=#ffff99><TD>[SIZE=+1]แนะวิธีรักษากรรมบถ ๑๐ ประการ[/SIZE]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    การที่จะทรงความดีเต็มระดับตามที่กล่าวมาให้ครบถ้วน ให้ปฏิบัติดังนี้
    ๑. คิดถึงความตาย ไว้ในขณะที่สมควร คือไม่ใช่ทุกลมหายใจเข้าออก เมื่อตื่นขึ้นใหม่ ๆ
    อารมณ์ใจยังเป็นสุข ก่อนที่จะเจริญภาวนาอย่างอื่น ให้คิดถึงความตายก่อน คิดว่าความตายอาจ
    จะเข้ามาถึงเราในวันนี้ก็ได้ จะตายเมื่อไรก็ตามเราไม่ขอลงอบายภูมิ ที่เราจะไปคือ อย่างต่ำไป
    สวรรค์ , อย่างกลางไปพรหม ถ้าไม่เกินวิสัยแล้วขอไปนิพพานแห่งเดียว คิดว่าไปนิพพานเป็นที่
    พอใจที่สุดของเรา
    ๒. คิดต่อไปว่า เมื่อความตายจะเข้ามาถึงเราจะเป็นเวลาใดก็ตาม เราขอยึดพระพุทธเจ้า
    พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต คือไม่
    สงสัยในความดีของพระพุทธเจ้า ยอมเคารพด้วยความศรัทธา คือความเชื่อถือในพระองค์ ขอ
    ปฏิบัติตามคำสอน คือกรรมบถ ๑๐ ประการโดยเคร่งครัด ถ้าความตายเข้ามาถึงเมื่อไร
    ขอไปนิพพานแห่งเดียว
    เมื่อนึกถึงความตายแล้ว ตั้งใจเคารพ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์สาวกแล้วตั้งใจ
    นึกถึงกรรมบถ ๑๐ ประการว่ามีอะไรบ้าง ตั้งใจจำ และพยายามปฏิบัติตามอย่าให้พลั้งพลาดคิด
    ติดตามข้อปฏิบัติเสมอว่า มีอะไรบ้าง ตั้งใจไว้เลยว่า วันนี้เราจะไม่ยอมละเมิดสิกขาบทใด
    สิกขาบทหนึ่งเป็นอันขาด เป็นธรรมดาอยู่เองการที่ระมัดระวังใหม่ๆ อาจจะมีการพลั้งพลาด
    พลั้งเผลอในระยะต้นๆ บ้างเป็นของธรรมดา แต่ถ้าตั้งใจระมัดระวังทุกๆ วันไม่นานนักอย่าง
    ช้าไม่เกิน ๓ เดือน ก็สามารถรักษาได้ครบ มีอาการชินต่อการรักษาทุกสิกขาบทจะไม่มีการ
    ผิดพลาดโดยที่เจตนาเลย เมื่อท่านใดทรงอารมณ์กรรมบถ ๑๐ ประการได้โดยไม่ต้องระวัง
    ก็ชื่อว่าท่านทรงสมาธิขั้นขณิกสมาธิได้ครบถ้วนเมื่อตาย ท่านไปสวรรค์หรือพรหมโลกได้แน่
    นอนถ้าบารมียังอ่อนเกิดเป็นมนุษย์อีกชาติเดียว ไปนิพพานแน่ ถ้าขยันหมั่นเพียรใช้ปัญญา
    แบบเบา ๆ ไม่เร่งรัดเกินไป รักษาอารมณ์ใจให้เป็นสุขไม่ติดในความโลภ ไม่วุ่นวายในความ
    โกรธ มีการให้อภัยเป็นปกติ ไม่เมาในร่างกายเรา และร่างกายเขาไม่ช้าก็บรรลุพระนิพพาน
    ได้แน่นอน เป็นอันว่าการปฏิบัติขั้นขณิกสมาธิจบเพียงเท่านี้

    ที่มา
    http://www.kanlayanatam.com/Mybookne...uddha_200_.jpg<!-- google_ad_section_end -->​


    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ขอเชิญสร้างพระใหญ่หน้าตัก19เมตรวัดบางจากพระพุทธรูป - วิหารทาน - สิ่งก่อสร้าง - PaLungJit.com<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. takamura15

    takamura15 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +34
    พี่ nan ครับผมอยู่พะเยาถ้าต้องการเหรียญทำน้ำมนต์ไปโยนลงกว๊านพะเยา เพื่อเป็นการช่วยคนหมู่มาก (แหล่งน้ำที่ใหญ่ที่สุดในพะเยา) จะได้ไหมครับ แล้วกว๊านมันกว้างมากมันต้องใช้กี่เหรียญ ผมเพี้ยนเปล่าพี่คิดได้ไงยังงงอยู่ ถ้ามันไร้สาระไม่ต้องตอบก็ได้ครับ ถามไปงั้นแหละ
    สมมติว่าถ้าทำได้แล้วเราจะอธิษฐานจิตยังไง พี่ nan ช่วยเขียนคำอธิษฐานมาด้วยก็ดีนะครับ เรื่องทรงอานาปานจะทำดูครับ แต่ผมเคยไปเล่น 1/2 กำลังที่สายลมมาแล้ว ก็ชัดดีนะครับ (สมเด็จองค์ปฐม) แต่ไม่ถึงกับเห็นทุกรายละเอียด เช่น ลายกนก ขอบของภาพพระ คือความชัด ประมาณ super vcd แต่ยังไม่ถึง dvd นะครับ แต่เคยฝึกแนวของหลวงพ่อจรัญมาบ้าง ครั้งนั้นเห็น พระพุทธเจ้าปางลีลา ชัด ระดับ dvd เหมือนเห็นด้วยตาเนื้อตอนกลางวัน แต่อานาปานนี้ ยังไม่ถึง ฌาน 4 นะครับ ก็ฝึกมานานแล้วเหมือนกัน แต่ยังไม่ค่อย พัฒนาเท่าไหร่ พี่ nan เคยเจอตัวจริงผมแล้ว น่าจะจำได้นะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...