รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    ถึงพี่มารีนครับ

    ผมสงสัยว่า ถ้าไปเขาใหญ่ เราสามารถจุดไฟ ก่อกองไฟ หุงข้าวหม้อสนาม ได้หรือเปล่าครับ เพราะเดี๋ยวนี้ อุทยานแห่งชาติ ไม่ให้ก่อกองไฟ แล้วครับ
     
  2. poh

    poh Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มกราคม 2007
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +59
    ที่เขาใหญ่
    ลองติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวได้ครับ
    ให้เจ้าหน้าที่พาเดินเข้าไปพักแค้มป์ปิ้ง ตามหน่วยพิทักษ์
    ซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่อยู่กลางป่าได้ครับ
    เสียค่าใช้จ่ายไม่มาก
     
  3. poh

    poh Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มกราคม 2007
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +59
    ตัวอย่างเส้นทางเดินป่าครับ
    <table align="center" width="95%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td colspan="3" height="40">[​IMG]
    </td></tr> <tr><td align="center" valign="top" width="125"> <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td>
    </td></tr> <tr><td height="3">
    </td></tr> <tr><td>
    </td></tr> <tr><td height="3">
    </td></tr> <tr><td>
    </td></tr> </tbody></table>
    </td> <td width="20"> </td> <td valign="top"> <!-- ส่วนแสดงของมูลของสถานที่และกิจกรรม --> <table width="98%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2"> เส้นทางเดินป่าประเภทท่องไพร

    เส้น ทางเดินป่าระยะไกล เป็นเส้นทางที่ต้องมีการพักแรมในป่า โดยมากเป็นเส้นทางที่อยู่รอบอุทยานแห่งชาติ ใช้เวลาค้างคืน ผู้สนใจสามารถติดต่อเดินป่าได้ที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติใกล้เคียงและ ที่ทำการอุทยานแห่งชาติ เช่น

    เส้นทางเขาสมอปูน ซึ่งเป็นภูเขาหินปูนที่สูง 805 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง บนสันเขาเป็นที่ราบสลับกับป่าโปร่ง ช่วงปลายฝนต้นหนาว ราวเดือนกันยายน-พฤศจิกายน ดอกไม้ป่า เช่น หงอนไก่ กระดุมเงิน หญ้าข้าวก่ำ จะพร้อมใจกันบานอวดดอกสวยสะพรั่ง เริ่มต้นที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.12 (เนินหอม) เดินไต่ระดับความสูงแล้วลัดเลาไปตามหน้าผา ผ่านลานสุริยัน ทุ่งพรหมจรรย์ น้ำตกหินดาด น้ำตกบังเอิญ น้ำตกเหวอีอ่ำ และสิ้นสุดที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.10 (ประจันตคาม) ใช้เวลาเดินทาง 4 วัน 3 คืน เส้นทางเขาสมอปูน มีกำหนดปิดการท่องเที่ยวประจำปีระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม - 30 กันยายน ของทุกปี

    เส้นทางคลองปลากั้ง-น้ำตกวังเหว-รอยเท้าไดโนเสาร์-แก่งหินเพิง เริ่มต้นที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.4 (คลองปลากั้ง) ไต่ระดับความสูงขึ้นสันกำแพง จะพบพื้นที่ราบบนหลังแปที่มีทุ่งหญ้าขนาดใหญ่แซมด้วยดอกไม้ป่า กล้วยไม้ป่า ต่อจากนี้ก็จะพบน้ำตกวังเหว ไปตามลำธารประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบรอยเท้าไดโนเสาร์พันธุ์กินเนื้อที่ชัดเจนบนโขดหินริมธาร ผ่านป่าดงดิบลัดเลาไปตามสันเขาไปข้ามลำน้ำที่แก่งกลีบสมุทร วันสุดท้ายออกจากป่าดงดิบถึงแก่งหินเพิง ซึ่งสามารถล่องแก่งในระยะ 3 กิโลเมตร มาขึ้นฝั่งที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ. 9 (ใสใหญ่) ใช้เวลา 4 วัน 3 คืน

    เส้นทางคลองสะท้อน-แก่งยาว ระยะทาง 15 กิโลเมตร สามารถใช้เวลาแบบเดินทางแบบเช้าไป-เย็นกลับ หรือพักแรม 1 คืนก็ได้

    เส้นทางโป่งตาลอง-น้ำตกผาด่านช้าง-น้ำตกผามะนาวยักษ์-น้ำตกไทรคู่-น้ำตกผากระชาย ระยะทาง 15 กิโลเมตร ใช้เวลา 2 วัน 1 คืน

    เส้นทางกลุ่มน้ำตกในตำบลบุฝ้าย อำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร ใช้เวลา 3 วัน 2 คืน

    นอกจากนี้ ยังมีเส้นทางเดินป่าระยะไกลที่น่าสนใจ คือ เส้นทางน้ำตกนางรอง-ศูนย์ฝึกอบรมการป่าไม้เขาใหญ่ เส้นทางบ้านคลองเดื่อ-เขาแหลม-เหวสุวัต และเส้นทางซับใต้-เหวกระถิน-เขาสามยอด

    </td></tr> <tr> <td 0="" height="2">
    กิจกรรม :
    เดินป่าระยะไกล
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  4. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    เดินป่าเขาใหญ่กับเจ้าหน้าที่จะไม่ไหวเอาสำหรับคนที่ไม่ได้เดินป่าบ่อยบ่อย
    เพราะเจ้าหน้าที่จะเดินตรวจป่ากันเป็นปกติครับ
    ...
    ช่วงก่อนเพื่อนผมได้ไปออกแบบ walking board ให้ สมัยหัวหน้าคนก่อน
    เลยได้เข้าไปเดินป่าด้วย ให้ไปเดินกันเอง ทางเดินรกด้วยหญ้าท่วมหัว ต้องระวังงู
    ส่วนทากนั้นโดนกันทุกคน
    (ไม่แนะนำครับให้เดินเอง โชคดีที่ไม่หลงป่ากัน)
    ไปเส้นเขาแหลม เขาร่ม
    มีเจ้าหน้าที่มาตรวจสอบในป่าด้วย ว่าเรา มีใบอนุญาตเดินป่าหรือไม่
    พอไปถึงเขาร่ม ก็พบเจ้าหน้าที่อีก1ท่านที่รักษาการณ์ป่าจุดนี้
    ก็พาพวกเราเดินต่อ และให้ความรู้ทั่วไปในป่า
    ระหว่างทางพี่เจ้าหน้าที่ระแวดระวังให้ตลอด ก็มีรอยเท้าเสือโคร่งเดินตามทางพวกเรา
    แล้วสักพักก็ปรากฏ รอยเท้าอยู่ด้านหน้าอีก หายไปในแนวป่าข้างหน้า
    เป็นประสพการณ์ที่ดีครับ
    ...
     
  5. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    จริงๆแล้ว ผมอยากจัด workshop ในค่ายทหารมากกว่าครับ ภายใน 1 วัน ได้ความรู้ไม่มากก็น้อย ยังดีกว่า ไม่ได้อะไร

    อยากจัดให้แก่ผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ หรือ ไม่เคยท่องเที่ยวในกิจกรรม Outdoor เลย

    บางท่าน อาจจะติดภาระกิจต่างๆ นานา หรือ มีครอบครัวเป็นภาระ มีเวลาว่างไม่มากนัก

    การเดินป่า ก็ดีครับ แต่เราก็สามารถ ออกกำลังกายด้วยการเดิน ทุกวัน ก็สามารถทดแทนกันได้

    แต่การเดินป่าที่ดี ต้องจิบน้ำให้น้อยที่สุด ต้องประหยัดน้ำให้น้อยที่สุด

    แต่ทริคหรือเทคนิคบางอย่าง ที่เราอาจจะไม่ทราบ เราน่าจะไปหาความรู้ในค่ายทหาร ได้ เช่น การหุงข้าวด้วยไฟ การหาน้ำ เป็นต้น
     
  6. malee123

    malee123 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2008
    โพสต์:
    484
    ค่าพลัง:
    +2,843
    ไม่บอกไม่รู้เลยนะว่า รพินทร์ ไพรวัลย์ จอมพรานผู้ยิ่งยง มาเองนะเนี่ยะ
     
  7. Saisawan

    Saisawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +296
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=691 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=7 height=1>[​IMG]</TD><TD width=684>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=684>เคยว่ากันไปแล้วถึงการจัดของไปแค้มป์คาร์ ตอนนี้ถึงเวลาปลายฝนต้นหนาวเป็นเวลาที่ป่าสวยที่สุด ต้นไม้ใบหญ้า
    เขียวขจี น้ำในลำห้วยไหลเย็นชุ่มฉ่ำ นับเป็นเวลาเหมาะที่สุดของปีที่จะแบกเป้ออกเดินป่ากัน ประกอบกับเพิ่งจะ
    พาเพื่อนๆนักเที่ยวป่ามือใหม่ไปเดินป่ากันมาหมาดๆ ก็เลยนับเป็นฤกษ์งามยามดีที่จะเขียนเรื่องการจัดของลงเป้
    ไปเดินป่าให้อ่านกันเสียที

    การจัดของลงเป้ไปเดินป่าแน่นอนย่อมแตกต่างจากการจัดของขึ้นรถครับ น้ำหนักและปริมาณเป็นข้อจำกัดเรื่อง
    ใหญ่สำหรับการเดินป่า อย่างที่คนเดินป่ามักจะพูดกันละครับว่าของที่หนักหนึ่งกิโลเมื่อเริ่มเดินจะเหมือนหนักสิบกิโล
    เมื่อเดินไปได้สักสองสามชั่วโมง ดังนั้นของที่จะลงเป้ทุกชิ้นจะต้องเลือกเอาของใช้ที่มีน้ำหนักเบา,ไม่กินที่ และต้อง
    แน่ใจว่าได้ใช้จริงๆ

    ต้องออกตัวก่อนเหมือนเช่นเคยว่าผมไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องการเดินป่าแต่อย่างใด สิ่งที่กำลังจะเอามาบอกเล่า
    กันนี้ก็ก็สะสมมาจากคำบอกเล่าแนะนำของผู้ชำนาญหลายๆคนที่เคยเที่ยวมาด้วยกัน บ้างก็เป็นบทเรียนที่เรียนรู้มา
    จากการลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง เอาเป็นว่าถ้าใครเห็นว่าอะไรบกพร่องไปก็เขียนมาบอกกันก็แล้วกันครับ

    อีกอย่างก็คือผมอาจจะกล่าวถึงสินค้าบางยี่ห้อ ซึ่งอาจจะมีทั้งติทั้งชมกันแบบตรงๆ ขอให้แน่ใจได้เลยว่าผมไม่ได้รับ
    อามิสสินจ้างจากใครให้มาเขียนเชียร์
    ถ้าท่านเจ้าของสินค้ามาอ่านแล้วเห็นคำติก็ขอให้ถือเสียว่าเป็นขอเสนอแนะ
    จากลูกค้าก็แล้วกันนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=692 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=266></TD><TD width=400 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=14 height=3>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=42>[​IMG]</TD><TD width=40>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=325>[​IMG]</TD><TD width=193>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=633 colSpan=5>มาว่าเรื่องของที่จะเอาไปกันเลยดีกว่า
    รายการของที่จะต้องเอาที่ผมเขียนไว้เตือนตัวเองเวลาจัดของมีดังนี้ครับ
    1) เต็นท์ หรือเปล
    2) ถุงนอน
    3) ฟลายชี๊ต
    4) ผ้าปูพื้น (อันนี้ไม่จำเป็นนัก)
    5) หม้อสนาม
    6) กระติกน้ำ
    7) ที่กรองน้ำ (อันนี้แล้วแต่เวลาและสถานที่)
    8) ไฟฉาย
    9) เทียน
    10) ไฟแช็ค
    11) เสื้อผ้า
    12) หมวก
    13) ถุงเท้ากันทาก (อันนี้ก็ไม่จำเป็นเสมอไป)
    14) รองเท้าเดิน
    15) รองเท้าแตะ
    16) มีด
    17) เชือก
    18) แปรงสีฟัน ยาสีฟัน สบู่
    19) ยาประจำตัว
    20) กระดาษชำระ
    21) ยากันแมลง

    ลองดูรายละเอียดของแต่ละรายการได้เลยครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=160 colSpan=5>เครื่องนอน
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=107 colSpan=3>เต้นท์
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=699 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=699 height=3>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=699>คนเที่ยวป่าใหม่ๆมักจะเริ่มจากการนอนเต็นท์ ผมเองก็เช่นกัน แต่การใช้เต็นท์ในการเดินป่านั้นต้องบอกไว้ก่อนว่ากิน
    ที่ในเป้มากและน้ำหนักมากอีกด้วยเมื่อเทียบกับเปล แต่ถ้าจะนอนด้วยกันสักสองสามคนแล้วช่วยกันแบกก็ไม่เลวร้าย
    ข้อเสียอีกอย่างก็คือมักจะมีปัญหาน้ำเข้าเต็นท์เวลาฝนตกหนักๆ แต่ถ้าเลือกเต็นท์ให้ดีกับเลือกจุดกางเต็นท์ให้เหมาะ
    สมก็พอจะแก้ไขได้ แต่บางครั้งการตั้งแค้มป์ในป่าพื้นที่ๆเราจะเลือกกางเต้นท์ได้ก็มีจำกัดไม่เหมือนไปแค้มป์คาร์ใน
    ที่กางเต้นท์ของอุทยานครับ

    เต็นท์จะมีข้อดีตรงที่มีที่เก็บของมิดชิด นอนด้วยกันแล้วไม่ให้ความรู้สึกวังเวงเกรงกลัวจากอันตราย (ยกเว้นอันตราย
    จากคนข้างๆ) ไม่เหมือนกับการนอนคนเดียวในเปลท่ามกลางความมืดมิด และสำหรับคุณสาวๆยังใช้เป็นที่เปลี่ยน
    เสื้อผ้าอย่างมิดชิดได้อีกด้วย

    ถ้าจะแบกเต็นท์ไปนอนในป่าแล้วละก็ขอแนะนำให้เลือกเต็นท์ให้เหมาะ ที่ว่าเหมาะก็คือต้องมีลักษณะดังนี้ครับ
    1) กันน้ำสนิท คุณต้องลองนอนในเต็นท์ที่น้ำเข้าดูสักคืนครับแล้วจะรู้ว่าเรื่องนี้สำคัญแค่ไหน กางเต็นท์นอนใกล้ๆรถ
    น้ำรั่วเข้ามาจริงๆยังพอหนีเข้าไปนอนในรถได้ แต่เวลาที่ไปเดินป่าไม่มีที่ให้หลบไปไหนนะครับ
    2) น้ำหนักไม่มากเกินไป เต็นท์ที่จะแบกเข้าป่าไม่ควรแบกชนิดใหญ่โต น้ำหนักเบา ควรเป็นเต็นท์ที่นอนได้ 1-3 คน
    เต็นท์ขนาดนี้เมื่อแบ่งกันแบกเข้าป่าแล้วก็จะมีน้ำหนักต่อคนไม่หนักไปกว่าการแบกเปลสัดเท่าไหร่
    3) กางง่าย ถ้าจะให้ดีควรกางได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้สมอบก เวลาเดินมาเหนื่อยๆแล้วบางครั้งเจอฝนตกเสริมเข้าไป
    อีก คุณไม่อยากจะมาเสียเวลาพิถีพิถันกางเต็นท์อยู่อีกหรอกครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=702 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=3 height=12>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=12>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=9>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=27>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=137>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=11>[​IMG]</TD><TD width=113>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=9>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=15>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=19>[​IMG]</TD><TD width=31>[​IMG]</TD><TD width=87>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=4>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=16 height=211></TD><TD width=320 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=23></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10></TD><TD class=TextObject width=456 colSpan=29>เต้นท์รุ่นวอลรัสของซีบร้าเป็นเต้นท์ที่ออกแบบ(ลอกแบบ) มาดีรุ่นหนึ่งกันฝนได้ดีในขณะ
    ที่ระบายอากาศได้ดีด้วย น้ำหนักไม่มากนัก นอนได้ 1-2คน (แต่ต้องสนิทสนมกันหน่อยนะ)

    </TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=25></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=287 colSpan=20>แล้วจะเขียนเรื่องการเลือกเต็นท์ให้อ่านกันอีกทีนะครับ
    </TD><TD colSpan=25></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=25></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=689 colSpan=44>เปล

    สำหรับคนเดินป่า เปลมุ้งเป็นเครื่องนอนที่เหมาะสมที่สุดครับ ถ้าคุณมีฟลายชี๊ตดีๆ และผูกเปลได้ดี คุณจะนอนได้
    อย่างแห้งสบายไม่ว่าฝนจะตกหนักสักแค่ไหน น้ำหนักที่ต้องแบกก็น้อยกว่าการแบกเต็นท์ แถมตอนกลางวันยังอาศัย
    เป็นที่นอนเล่นนั่งเล่นได้อีก

    บางคนอาจยังไม่เคยเห็นเปลมุ้งมาก่อนเลยต้องขออธิบายเพิ่มสักหน่อย เปลมุ้งเป็นวิวัฒนาการเมื่อไม่เกินสิบปีมานี่
    เอง โดยการเอามุ้งมาเย็บติดเข้ากับเปลสนามที่เป็นผ้าร่มเพื่อกันยุงและแมลงอื่นๆ แล้วมีซิบให้เปิดเข้าออกได้ ลองดู
    ภาพประกอบน่าจะเข้าใจได้ดี
    </TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=233></TD><TD width=400 colSpan=23>[​IMG]</TD><TD colSpan=18></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=692 colSpan=45>เปลที่ดีเป็นยังไง? คำถามนี้ตอบไม่ยาก ตอนนี้เปลที่ทำออกมาแล้วใช้งานได้ดีคือเปลมุ้งของ Zebra ที่ทำออกมาตั้ง
    แต่ยุคแรกๆและพัฒนามาจนลงตัว ตัวเปลจะยาวประมาณ 2.5 เมตร นับว่าขนาดยาวกำลังดี บางคนอาจจะถามว่า
    คนเราสูงแค่ 1.5 - 1.8 เมตรเองทำไมต้องใช้เปลยาวตั้ง 2.5เมตรให้มันหนักเปล่าๆ ต้องขยายความนิดครับว่าทางหัว
    และท้ายของเปลจะถูกเชือกรูดเข้าหากันจึงต้องเหลือที่ไว้บ้าง เพื่อนผมบางคนถึงกับไปสั่งพิเศษให้ทำเปลยาว 2.7-2.8
    เมตร โดยที่บอกว่านอนสบายกว่ามาก บางคนก็ไปสั่งพิเศษมีซิปทั้งสองข้างจะได้ขึ้นลงสะดวก, ทำซองใส่ของด้านข้าง
    หรือทำซองใส่ของเช่นแว่นตาแขวนไว้ข้างบน ร้าน Zebra เขารับทำแบบสั่งพิเศษตามใจคนซื้อด้วยครับ ราคาเปลรุ่น
    ปรกติของ Zebra ณ วันนี้ (ตุลาคม 2546) ประมาณ 600 บาทครับ
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=14 height=285></TD><TD width=380 colSpan=18>[​IMG]</TD><TD colSpan=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8></TD><TD class=TextObject width=447 colSpan=30>ขนาดของเปล(ชิ้นล่างสุด) เมื่อเก็บแล้วเล็กและเบากว่าเต้นท์ (ชิ้นบนสุด) ในภาพเป็น
    เต้นท์ขนาดนอนสองคนซึ่งนับว่าเล็กมากแล้ว อันกลางที่เป็นลายพรางคือฟลายชี๊ตขนาด
    4x3 เมตร

    </TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=23></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=699 colSpan=47>แดง รัสเซีย ที่จตุจักรก็ทำเปลมุ้งออกมาขายเช่นกัน คุณภาพใช้ได้ ราคาถูกกว่า (500 บาท) ติอย่างเดียวว่า เชือกที่ให้
    สำหรับผูกกับต้นไม้ทั้งสองข้างสั้นไปสำหรับการใช้งาน ถ้าจะซื้อมาควรซื้อเชือกมาเปลี่ยนให้ยาวขึ้น

    เปลที่ควรหลีกเลี่ยงคือเปลมุ้งที่มีท่ออลูมิเนียมค้ำหัวท้ายให้ เปลด้านล่างตึง แถมยังมีฟลายชีต (หลังคากันฝน) เย็บ
    ติดกับมุ้งมาให้ด้วย ดูเผินๆ ก็น่าจะดีเพราะเปลด้านล่างเรียบน่าจะนอนสบายไม่ห่อตัว แถมยังไม่ต้องแบกฟลายชีต
    ต่างหาก แม้แต่ผมเองก็ยังหลงซื้อมาใช้ในยุคแรกๆ แต่พอเอาไปใช้เข้าจริงๆถึงได้รู้ว่ามันใช้นอนไม่ได้เลย เพราะเปล
    จะหมุนจนเราตกมาและทำให้มุ้งขาด ผมเห็นคนที่หลงผิดซื้อกันมาหลายคนแล้ว ไม่เคยมีใครนอนได้ซักคนเลย
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11 height=205></TD><TD width=380 colSpan=18>[​IMG]</TD><TD colSpan=19></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4></TD><TD class=TextObject width=525 colSpan=36>พยายามจะหารูปเจ้าเปลมุ้งเจ้าปัญหาที่นอนแล้วหมุนมาให้ดูกัน ไม่มีรูปชัดๆเลยมีแค่รูปนี้
    สังเกตดูว่าหัวท้ายเปลจะตึงเพราะมีเสาค้ำไว้ทางขวาง รูปนี้จากซ้ายไปขวา คุณ kcp, หนูเล
    และผู้เขียน ยังเอาะๆกันอยู่ รูปเก่าแค่ไหนคิดเอาเองก็แล้วกัน

    </TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=683 colSpan=42>ถุงนอน
    จำไว้เลยว่ากลางคืนในป่าอากาศเย็นเสมอ ผมเองเจ็บแล้วไม่ค่อยจำ เรามักจะเข้าป่าทุ่งใหญ่นเรศวรกันตอนสงกรานต์
    กลางเดือนเมษาอย่างนั้นกรุงเทพร้อนแทบบ้า ตอนจัดของนึกไม่ออกว่าในป่าจะหนาวได้ยังไง จึงมักจะเอาถุงนอน
    บางๆไป หรือเคยแม้กระทั่งไม่เอาถุงนอนไป พอไปจริงๆหนาวจนนอนไม่ได้ทุกที เพราะอากาศในทุ่งใหญ่ฯกลางคืน
    อาจเย็นถึง 7-8 องศา ในเดือนเมษา !!! คราวหลังนี้เลยต้องเปิดแอร์จัดของค่อยได้บรรยากาศหน่อย

    ถ้ารักจะเดินป่าจริงจัง ลงทุนกับถุงนอนดีๆ เพราะมันจะมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบาและกันหนาวได้ดีมาก เอาไว้จะค้น
    คว้าเรื่องถุงนอนมาคุยกันอีกที
    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=28></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=699 colSpan=47>ฟลายชีต คือผ้าที่เราเอามากางเป็นหลังคากันฝนกันแดด อาจทำเป็นที่นั่งกินข้าวรวมกันของคณะ และคนที่นอน
    เปลก็จำเป็นต้องมีประจำตัว

    ฟลายชีตสำหรับเปลที่ขายกันนั้นเป็นผ้าร่มบางๆ ขนาด 2 คูณ 3 เมตร บอกคำเดียวเลยว่าใช้ไม่ได้ เพราะผ้าร่มบางๆ
    นั้นน้ำซึมได้ฝนตกนิดเดียวก็เริ่มหยด ขนาด 2 คูณ 3 ก็เล็กไปเวลาไปกางจริงๆแล้ว เปลจะถูกฝนสาดจนเปียก คนที่
    ซื้อฟลายชีตแบบนี้มาใช้นอนเปียกกันมาแล้วทั้งนั้น

    เท่าที่ลองใช้มาเจอที่ใช้งานได้ดีอยู่แค่สองแบบคือ หนึ่งผ้ากันน้ำขนาด 3คูณ 4 เมตร ซื้อได้ที่ร้านแดงรัสเซียจตุจักร
    ราคาน่าจะอยู่ราวๆ 800 บาท แพงหน่อยแต่คุ้มซื้อไปได้เลย ที่บอกว่าเป็นผ้ากันน้ำก็เพราะผ้าแบบนี้มีการเคลือบสาร
    P/U กันน้ำมาเหมือนกับผ้าที่ใช้เย็บเต็นท์ชั้นดีน้ำไม่มีซึม ขนาด 3 คูณ 4 บางคนอาจจะว่าทำไมต้องใหญ่โตขนาดนั้น
    แต่จริงแล้วเป็นขนาดที่กำลังเหมาะ และใช้ได้สารพัดประโยชน์ ตอนกางเปลเราสามารถเลือกความยาวให้เหมาะกับ
    ระยะของต้นไม้ได้ ตั้งแต่ สาม หรือสี่เมตร ซึ่งเป็นระยะปรกติที่เราจะผูกเปลได้ ฟลายชีตนี้ก็สามารถใช้เป็นที่นั่งกินข้าว
    ของคณะเล็กๆ 4-5 คนได้อย่างสบาย พอจะนอนแล้วค่อยผูกเปล
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=12 height=267></TD><TD width=400 colSpan=22>[​IMG]</TD><TD colSpan=14></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9></TD><TD class=TextObject width=459 colSpan=30>ในภาพคือฟลายชี๊ตขนาด 3x4 เมตร เมื่อกางคลุมเปลแน่ใจได้ว่าไม่เปียกแน่ แถมยัง
    นั่งกินข้าวนั่งคุยกันใต้เปลถ้าฝนตกได้อีก

    </TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=699 colSpan=47>ผมเองเวลากางเต็นท์ ผมจะกางฟลายชีตอันใหญ่นี้เป็นหลังคาก่อน เป็นที่กินข้าวและนั่งสังสรรค์ เวลาจะนอนค่อย
    เอาเต็นท์ออกมากางแบบไม่ต้องคลุมฟลายชีตที่มากับเต็นท์ แบบนี้นอนสบายครับ ลมโกรก และไม่เปียกอย่างแน่นอน
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=15 height=300></TD><TD width=400 colSpan=20>[​IMG]</TD><TD colSpan=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=15></TD><TD class=TextObject width=416 colSpan=22>กางฟลายชี๊ตอันใหญ่ไว้นั่งกินข้าวนั่งคุยกันจะนอนแล้วค่อยเอาเต้นท์มากางแบบ
    ไม่ต้องคลุมฟลายชี๊ตของเต้นท์ แบบนี้ไม่เปียกแน่ ลมโกรกสบายด้วยครับ

    </TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=692 colSpan=45>เจ้าฟลายชีตอันนี้ดีมากเพราะพับเก็บแล้วเหลืออันไม่โตนักและยังไม่หนักมากอีกด้วย

    อีกอันที่ใช้งานได้ดีคือพลาสติกใสเหมือนถุงพลาสติก ผืนยาวสัก4 -5เมตร เอามาคลุมเปลให้ยาวไปถึงต้นไม้ทั้งสอง
    ข้าง รวมทั้งคลุมเชือกที่ผูกรอบต้นไม้ไว้ทั้งหมด แล้วเอาไม้มาพาดไว้ตรงหน้าเราให้ลมผ่าน ถึงกระนั้นก็ยังจะร้อนอบ
    อ้าวหน่อยนะครับเพราะลมจะไม่ผ่าน วิธีนี้แน่ใจได้ครับว่าฝนตกหนักอย่างไรก็ไม่เปียก เหมาะกับการเดินป่าในหน้าฝน
    ลองดูภาพประกอบนะครับ
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=14 height=234></TD><TD width=350 colSpan=13>[​IMG]</TD><TD colSpan=21></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=692 colSpan=45>ผ้าปูพื้น
    เวลาไปกันหลายๆคนก็คุ้มที่จะแบกเอาผ้าพลาสติกไปปูนั่งกันสักผืน เอาไว้เป็นที่นั่งกินข้าวหรือนอนเล่น บางครั้ง
    คนนำทางหรือลูกหาบของเราจะอาศัยเป็นที่นอนด้วย (ผมเองก็นอนอยู่หลายครั้ง) ไม่นับเป็นของจำเป็น แต่ถ้ามีแรง
    ก็แบกไปก็ดีครับ

    เครื่องทำอาหาร
    เวลาเดินป่ากันไกลจริงๆและต้องการลดน้ำหนัก หม้อสนามคนละใบและช้อนคนละคันก็พอให้เอาชีวิตรอดได้แล้ว
    เป็นได้ทั้งหม้อข้าวหม้อแกง ฝานอกฝาในก็เอามาทำจานข้าวได้อีก แต่ถ้าเดินไม่ไกลมาก หรือไปกันหลายคนพอจะ
    แบ่งกันแบกได้ก็เพิ่มอุปกรณอื่นๆไปได้เช่นกะทะเล็กๆสักใบ เรื่องนี้คงไม่ต้องพูดกันมากเดี๋ยวคุณหนูเลแกจะหาว่า
    แย่งอาชีพ เอาเป็นว่าอ่านเพิ่มเติมได้ที่เรื่อง Something about pottery ของคุณหนูเลนะครับ

    การหุงหาปรกติแล้วก็อาศัยก่อกองไฟจากฟืนในป่า แต่ถ้าไปหน้าฝนจะเอาเตาน้ำมันติดไปสักอันก็ดี เพราะถ้าฟืนเปียก
    แล้วจะก่อไฟหุงหาได้ยากมาก อ่านเรื่องเตาน้ำมันเบนซิน, เตาน้ำมันก๊าด หรือเตาแก๊ส ที่คุณหนูเลแกเขียนไว้อย่าง
    ละเอียดได้ครับ
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=12 height=248></TD><TD width=320 colSpan=12>[​IMG]</TD><TD colSpan=24></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=417 colSpan=26>หม้อสนามกับกองไฟคือความหรูหรากลางป่าดง แค่นี้ก็พอเอาตัวรอดแล้วครับ
    </TD><TD colSpan=15></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=12 height=249></TD><TD width=320 colSpan=12>[​IMG]</TD><TD colSpan=24></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6></TD><TD class=TextObject width=490 colSpan=34>เตา Primus ตัวเก่งนี้ขาดกระทัดรัดเหมาะสำหรับการแบกเข้าป่า คุณหนูเลแกอุตส่าห์
    ซื้อมาฝากผมจากอเมริกาเพื่อให้ผมแบกเข้าป่าไปให้แกใช้ เพื่อนดีๆอย่างนี้หายากครับ

    </TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=18></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=699 colSpan=47>กระติกน้ำ
    คนเราอดข้าวได้เจ็ดวันก็ไม่ถึงตาย อดน้ำสองสามวันก็เสร็จแล้ว กระติกน้ำเป็นอุปกรณ์สำคัญที่ควรมีประจำตัว ถ้าไม่
    ได้คิดอะไรมากเอาขวดน้ำพลาสติกใส่เป้คนละขวดสองขวดก็ได้ แต่ควรจะมีน้ำติดตัวก่อนออกเดินอย่างน้อย 750-
    1000ซีซี

    ถ้าจะหากระติกใช้จริงๆจังๆสักใบ ผมแนะนำรุ่นในภาพนี้ คาดว่าเป็นกระติกของค่ายสังคมนิยม จีนหรือเกาหลี ออก
    แบบมาดีมาก ก้นกระติกสามารถแปลงเป็นถ้วยกาแฟ หรือหม้อก็ได้ ตัวกระติกแข็งแรงทนทาน เมื่อก่อนนี้ผมเคยซื้อใบ
    ละแค่ 140 บาท ตอนนี้ ขึ้นไปเกือบ 300 แล้ว แถมยังหาซื้อยากอีก แต่ถ้าเจอก็น่าจะซื้อไว้ครับ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=209></TD><TD width=280 colSpan=19>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=280 colSpan=19>[​IMG]</TD><TD colSpan=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=14></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=689 colSpan=44>เข็มขัดสนามกับกระติกน้ำแบบทหารไม่ต้องไปซื้อมาคาดให้มันหนักและเกะกะเปล่าๆนะครับ เราไม่จำเป็นต้องคาด
    อะไรรุงรังรอบเอวแบบทหารเขาหรอกครับ

    เวลาเดินป่าหน้าฝน การหาน้ำกินเป็นเรื่องไม่ยากเย็นจนเกินไป ตักน้ำใสๆในห้วยมาก็กินได้หรือถ้าจะให้แน่ใจก็ต้ม
    เสียหน่อย แต่ถ้าหน้าแล้งนี่ซิ น้ำในป่าส่วนใหญ่จะแห้งผาก บางครั้งอาจเจอเพียงน้ำข้นคลั่กขอดติดก้นหนองเล็กๆ

    ผมเองกับคุณหนูเล เคยเจอสภาพนี้กันมาหลายครั้ง ครั้งที่จำได้แม่นก็คือในป่าเขาใหญ่ลึกเลยเข้าไปจากทุ่งเขาแหลม
    เราต้องขอดน้ำที่ขังอยู่ในปลักใบไม้ที่เต็มไปด้วยลูกอ๊อดมาต้มกินกัน ถึงแม้จะต้มแล้วน้ำนั้นก็ยังมีสีและกลิ่มที่ไม่น่า
    กินอยู่ดี โชคดีที่รอดมาได้โดยไม่ป่วยกันไปทั้งสองคน

    หลายปีหลังจากบทเรียนหลายครั้งนั้นที่ยังฝังใจทำให้ผมซื้อเครื่องกรองน้ำแบบพกพามาใช้ (ส่วนคุณหนูเลแกบอกว่า
    ไม่เห็นต้องซื้อเลยเพราะเดินป่าทีไรก็ไปด้วยกันทุกที) เท่าที่ใช้งานมาก็นับว่าดีมาก อาจจะเปลืองแรงในการตะบันน้ำ
    น่อยกว่าจะได้เต็มกระติก แต่ก็ได้น้ำที่ใสสะอาดมาก

    เครื่องกรองน้ำที่ผมใช้อันนี้ซื้อมาจากร้าน Outdoor Shop ใกล้ The Mall บางกะปิ ราคาสามพันกว่าๆ ขนาดกระทัดรัด
    ในสเป็ค บอกว่ากรองสิ่งแปลกปลอมได้ถึง 0.2 ไมครอน ซึ่งหมายถึงกรองเชื้อโรคได้เกือบทุกชนิดยกเว้น ไวรัส ซึ่งไม่
    ค่อยจะแพร่ในน้ำ ถ้าสนใจเครื่องกรองน้ำลองไปดูที่ร้านนี้นะครับ มีหลายแบบให้เลือก คนขายก็มีความรู้เรื่องนี้ให้คำ
    แนะนำได้อย่างดี
    </TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=13 height=285></TD><TD width=380 colSpan=18>[​IMG]</TD><TD colSpan=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=692 colSpan=45>แสงสว่าง

    ไฟฉาย คนเที่ยวป่าใหม่ๆเกือบทุกคนมักจะแบก ไฟฉายแม็กไลท์ดุ้นยาวใหญ่เข้าป่า แทบจะเรียกได้ว่าจะดูว่าคนไหน
    เป็นนักเดินป่าตัวจริง ดูที่ไฟฉายก็พอได้

    หลายปีมาแล้วพวกเราไปเดินป่ากันที่ปางห้าร้อยบ้านซับใต้ ซึ่งเป็นเส้นทางเดินป่าขึ้นเขาที่โหดทรมานสังขารมากเส้น
    หนึ่ง มีสมาชิกใหม่ท่านหนึ่งร่วมทางมาด้วย ในระหว่างทางแกก็คุยไปตลอดทางว่าเดินป่ามาแทบทั่วทุกดงดอยของ
    เมืองไทย(แถมต่างประเทศอีกด้วย) จนผมเองต้องซูฮกว่าพี่แกท่าจะเจ๋งจริง

    แต่พอจัดของลงเป้เตรียมเดินกันในตอนเช้าผมก็ต้องอมยิ้มว่าตูถูกคนขี้โม้หลอกเสียสนิท เพราะแกควักแม็กไลท์หก
    ท่อนออกมาใส่เป้ แค่นี้ก็รู้แล้วครับว่าไม่เคยเดินป่า :)

    เราไม่จำเป็นต้องใช้ไฟฉายใหญ่ๆ ห้าหกท่อน หรือไฟฉายแพงๆ แบบ ชัวร์ไฟร์ หรอกครับ ไฟฉายพวกนี้เขาเอาไว้ใช้แบบ
    ยุทธวิธีคือฉายให้คนร้ายงงด้วยความสว่างหรือเอาไว้ตีหัวแทนกระบองซะมากกว่า ในป่าท่ามกลางความมืดมิดนั้นไฟ
    ฉายเล็กๆ ใช้ถ่านแค่สองก้อนก็สว่างโร่แล้ว น้ำหนักเบากว่ากันมาก แถมยังใช้ได้หลายวันโดยไม่เปลืองถ่าน

    ผมเองชอบใช้ไฟฉายกันน้ำอันเล็กๆแบบในภาพนี้ เพราะน้ำหนักเบาและสว่างมาก เวลาจะอาบน้ำตอนกลางคืนก็โยน
    ลงไปน้ำได้เลย อีกอย่างที่น่าสนใจก็คือไฟฉายคาดหัวแบบเล็กๆก็ใช้งานสะดวกดี
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=18 height=225></TD><TD width=300 colSpan=8>[​IMG]</TD><TD colSpan=22></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5></TD><TD class=TextObject width=550 colSpan=37>ไฟฉายอันสีชมพูอันกลางเป็นไฟฉายดำน้ำใส่ถ่าน AA สี่ก้อนให้ความสว่างเหลือเฟือ มีขนาดเล็ก
    และเบากว่ามากเมื่อเทียบกับ แม็กไลท์สองท่อนอันบน นี่ถ้าเป็นแม็กไลท์ขนาดหกท่อนที่ชอบพกกัน
    จะใหญ่ขนาดไหนคิดเอาเอง ส่วนอันสีเขียวใส่ถ่าน AAA สองก้อน เล็กกระทัดรัดมาก ที่จริงถ้าไปแค่
    1-2คืนใช้อันเล็กนี่ก็พอ

    </TD><TD colSpan=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=699 colSpan=47>ถ้าอยากจะได้ไฟฉายสว่างๆเอาไปส่องสัตว์หรือส่องอะไรอย่างอื่นในตอนกลางคืน ผมแนะนำว่าเอาไฟฉายตีกบเลยดี
    กว่าลองอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมดูนะครับ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=19 height=222></TD><TD width=306 colSpan=8>[​IMG]</TD><TD colSpan=21></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=19></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=699 colSpan=47>ควรจะมีเทียนติดไปบ้างเอาไว้จุดเวลานั่งกินข้าว ถ้าไปกันหลายๆคนจะเอาตะเกียงแก๊สไปสักดวงก็พอได้

    ไฟแช็ค เป็นอีกอย่างที่จะต้องมีติดตัวไว้เสมอครับ ถึงแม้คนอื่นในคณะจะพกไปแล้วก็ตาม เพราะเราไม่มีทางรู้เลย
    ว่าจะต้องใช้เมื่อไหร่ ถ้าหากพลัดหลงกับพรรกพวกขึ้นมา ตอนนั้นไฟแช็คอันละห้าบาทนี้จะเป็นสิ่งที่มีค่าที่สุดที่เรามีอยู่

    เสื้อผ้า
    ไปเดินป่าไม่ต้องเอาเสื้อผ้าไปเยอะนะครับ ไม่ว่าจะไปกี่วันผมก็ขอบอกว่าสองชุดก็พอ คือ หนึ่งชุดเดิน และหนึ่งชุดนอน

    ชุดเดินนั้นก็ควรเป็นเสื้อแขนยาวกางเกงขายาว เสื้อแขนยาวจะช่วยป้องกันแขนเราจากหนาม, ใบไม้คันๆ หรือแมลง
    เนื้อผ้าของเสือไม่ควรหนาเกินไปเพื่อให้อากาศถ่ายเท เสื้อทหารแบบหนาๆไม่ต้องไปซื้อมาใส่นะครับ เดินไปสักชั่วโมง
    ก็เหงื่อแตกจนแทบเป็นลมแล้ว
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=256></TD><TD width=320 colSpan=11>[​IMG]</TD><TD colSpan=20></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=48 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20></TD><TD class=TextObject width=367 colSpan=16>แฟชั่นโชว์ชุดเดินป่าที่กลางทุ่งใหญ่นเรศวร
    </TD><TD colSpan=12></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=803 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=101 height=10>[​IMG]</TD><TD width=702>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=702>กางเกงนั้นใช้กางเกงทหารก็ทนทานดี กางเกงทหารอย่างดีๆนั้นต่างจากกางเกงราคาถูกเพราะใช้ผ้าดีไม่หนามากแต่
    ทนทานและแห้งง่าย กางเกงเดินป่าสมัยใหม่หลายๆยี่ห้อก็ใช้ผ้าสังเคราะที่บางและแห้งง่ายแต่อาจไม่ทนทางเท่ากาง
    เกงทหาร ที่ไม่เหมาะเลยคือกางเกงยีนส์ เพราะจะหนักมากเมื่อเปียก และรูปทรงก็ทำให้ไม่คล่องตัวเมื่อต้องปีนป่าย

    ชุดเดินนี้พอถึงที่พักแล้วก็แขวนผึ่งลมไว้ใส่ต่อพรุ่งนี้ ไม่ต้องกลัวครับ พอสองสามวันเข้ากลิ่นก็เหมือนๆกันหมดทุกคน
    ละครับ

    ส่วนชุดนอนก็ควรจะเป็นเสื้อแขนยาวกางเกงขายาวเช่นกัน เลือกเอาเสื้อยืดแขนยาวกับกางเกงวอร์มบางๆก็ดี เอาไว้
    กันแมลงครับ สำหรับคุณผู้หญิง เสื้อแขนกุด สายเดี่ยวหรือกางเกงขาสั้น นั้นขอเถอะครับ ไม่ใช่ว่าตาเกิ้นไม่ชอบนะครับ
    แต่กลัวว่ายุง, คุ่น หรือ แมลงอื่นมันจะมาไต่ตอมให้ผิวสวยๆลายเสียหมด

    ชุดชั้นในเอาไปเยอะๆให้พอวันเลยครับ ข้างนอกเปียกไม่เป็นไร ขอข้างในแห้งไว้ก่อน

    หมวกเป็นอีกอย่างที่ควรใส่เอาไว้เวลาเดิน เพราะจะช่วยกันแดด, กันหนามและ กันแมลงได้เป็นอย่างดี ผมเองเคยโดน
    มาแล้วที่แม่เงา ขนาดใส่หมวกเดินมาทั้งวัน พอหยุดหุงข้าว ถอดหมวกปั๊ปต่อบินมาจากไหนไม่รู้ เล่นเอากลางกระหม่อม
    เลย เลือกซื้อหมวกที่มีปีกรอบด้านจะช่วยบังแดดได้ดีกว่าหมวกแก็ปครับ

    ถ้าไปในถิ่นที่มีทาก ถุงเท้ากันทากก็เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ อย่างน้อยก็ไม่ต้องคอยถอดรองเท้า
    ออกมาดูเรื่อยๆ ถ้าใครไม่เคยเห็นว่าถุงเท้ากันทากเป็นอย่างไรก็ขอบรรยายสักนิดว่าถุงเท้ากันทากนี้เป็นถุงยาวถึงเข่า
    หรือยาวกว่า ทำด้วยผ้าเนื้อแน่นเช่นผ้าดิบ เอาไว้สวมระหว่างถุงเท้ากับรองเท้า ทากจะเจาะทะลุเข้าไปไม่ได้ แต่ก็ไม่
    ได้หมายความว่าปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์นะครับ เพราะทากมันก็จะไต่สูงขึ้นมาเรื่อยๆต้องคอยจับโยนทิ้ง แถมยังมี
    ทากบางพวกที่อยู่ตามใบไม้ซึ่งจะคอยจู่โจมเบื้องสูงอีกด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=800 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=101 height=8>[​IMG]</TD><TD width=4>[​IMG]</TD><TD width=20>[​IMG]</TD><TD width=35>[​IMG]</TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=4>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=149>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=148>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD><TD width=40>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=37>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=29>[​IMG]</TD><TD width=71>[​IMG]</TD><TD width=15>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=250></TD><TD width=320 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9></TD><TD class=TextObject width=361 colSpan=8>ถ้าไม่เคยเห็นว่าถุงเท้ากันทากเป็นอย่างไร ดูได้จากในภาพนี้ครับ
    </TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=689 colSpan=24>รองเท้า

    ในทริปเดินป่าครั้งล่าสุดนี้ มีสมาชิกใหม่สองท่านที่ไปเดินเป็นครั้งแรก เขาใส่รองเท้าเทนนิสไป ปรากฏว่าเดินไป
    ลื่นไปตลอดทาง ทั้งนี้เพราะรองเท้าที่ใช้ได้ดีในป่านั้นคือรองเท้าที่มีดอกที่พื้นค่อนข้างหยาบเหมือนดอกยางมัด
    เทอเรนของรถยนต์ยังไงอย่างนั้น รองเท้าที่มีดอกละเอียดก็เหมือนยางเรเดียลจะลื่นมากเมื่อมีโคลนเข้าไปยึดในดอก

    รองเท้าที่ผมใช้แล้วชอบใจมากคือยี่ห้อ Hi Tech เพราะราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ระบายอากาศและน้ำได้ดี ความ
    ทนทานพอใช้ได้
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=240></TD><TD width=320 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=689 colSpan=24>อีกคู่ที่ใช้ได้ดีคือรองเท้าทหารจีน หาซื้อได้ที่จตุจักรในราคาแค่ร้อยกว่าบาท พื้นยางเกาะทางได้ดีมากแม้แต่บนหิน
    ที่เปียกลื่น แต่รองเท้าทหารจีนนี้มีข้อด้อยที่พื้นนิ่มมาก ถ้าคนเมืองเท้าอ่อนอย่างเราๆท่านๆใส่เดินบนพื้นแข็งที่ขรุขระ
    จะเมื่อยและเจ็บฝ่าเท้ามากถึงจะใส่แผ่นรองด้านในแล้วก็ช่วยได้แค่นิดหน่อย
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=240></TD><TD width=320 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=25></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=699 colSpan=25>ส่วนรองเท้าที่คุยว่ากันน้ำร้อยเปอร์เซ็นต์ก็ไม่ต้องเสียเงินซื้อมาใช้หรอกครับ เพราะถ้ากันน้ำเข้า มันก็กันน้ำออกด้วย
    ในเวลาเดินป่ากันจริงๆน่ะบางครั้ง (ส่วนใหญ่) ที่เราจะต้องลุยน้ำ เช่นข้ามห้วยข้ามลำธารนั้นน้ำมักจะลึกกว่ารองเท้า
    เราอยู่แล้ว ยังไงน้ำก็เข้ารองเท้าวันยังค่ำ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=252></TD><TD width=320 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4></TD><TD class=TextObject width=450 colSpan=15>รองเท้าที่โฆษณาว่ากันน้ำนั้นไม่มีประโยชน์ในการเดินป่าครับ เพราะน้ำที่ต้องลุยส่วน
    ใหญ่ลึกกว่าความสูงของรองเท้า เอารองเท้าที่น้ำออกง่ายและแห้งเร็วดีกว่า

    </TD><TD colSpan=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=699 colSpan=25>นอกจากรองเท้าใส่เดินแล้ว ควรต้องมีรองเท้าแตะฟองน้ำติดไปอีกสักคู่เอาไว้ใส่เวลาอาบน้ำและเดินไปเดินมาเมื่อ
    ถึงแค้มป์


    เป้
    ถ้ารักจะเดินป่าจริงๆ เป้เป็นอีกอย่างที่ควรลงทุนซื้อให้ดีๆ สำหรับการเดินป่าชนิดที่ต้องไปค้างแรมในป่าเป้จะต้อง
    แบกได้สบายไม่เจ็บหลังและไม่กดที่ไหล่จนเกินไป

    ถ้าจะให้แนะนำคร่าวๆก็คือ เป้ควรเป็นเป้โครงใน หมายถึงมีการเสริมโครงแข็ง(อาจเป็นโลหะหรือวัสดุสังเคราะห์) ไว้
    ในตัวเป้ อันนี้จะแตกต่างไปจากเป้โครงนอกที่ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่ามีโครงโลหะให้เห็นอยู่ด้านนอก

    เป้แบบโครงนอกนี้นอกจากจะเกะกะในตอนที่ต้องเดินมุดไปตามสุมทุมพุ่มไม้แล้ว ก็ยังจะกดหลังกดไหล่ให้เจ็บอีก
    ด้วย ส่วนเป้ที่ไม่มีโครงเลยก็จะทำให้ของในเป้ย้วยลงไปทำให้น้ำหนักทิ้งลงที่ไหล่ ไม่มีการกระจายไปที่สะโพก

    ในเรื่องขนาด ก็น่าจะอยู่ในราวๆ 30-45 ลิตร ผมเองถ้าไม่ต้องแบกกับข้าวสำหรับหลายวันนักก็จะใช้แค่ 30ลิตร ก็พอ
    ที่จะใส่ของตามรายการที่ว่ามาแล้ว (ใช้เปลนะนครับ) ถ้าหลายวันและต้องแบกอาหารไปเองแล้วละก็ผมก็ใช้แค่ ขนาด
    38ลิตรแค่นี้ก็จุจนหนักแบกแทบไม่ไหวแล้วครับ

    เพื่อนบางคนก็ถามบอกว่าซื้อใหญ่ไว้ก่อนใส่ของน้อยไม่ได้หรือ ที่จริงก็ไม่มีใครห้ามครับ แต่ต้องบอกไว้ก่อนว่าเป้ใหญ่
    อย่างขนาด 50ลิตรขึ้นไปนั้นจะมีมิติที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้เกะกะในเวลาที่ต้องเดินป่าที่ต้องลอดต้องมุดตลอดเวลา
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=262></TD><TD width=350 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6></TD><TD class=TextObject width=416 colSpan=12>เป้ที่ใช้ในป่าไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป ส่วนที่สูงที่สุดไม่ควรสูงเกินท้ายทอยเพื่อ
    ให้ไม่เกะกะในยามที่ต้องมุดลอดไม้ในป่ารกๆ

    </TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=674 colSpan=23>วัสดุแลความประณีตก็มีความสำคัญมาก เป้ดีๆ จะใช้ผ้าอย่างดีมีการเคลือบสารกันน้ำด้านใน และมีความคงทนมาก
    เป้ที่ทำเลียนแบบและใช้ยี่ห้อดังๆแต่ขายในราคา 400-500 บาทนั้นแนะนำว่าไม่ควรไปซื้อมาใช้ เพราะ การที่เป้ขาด
    กลางทางนั้นเป็นเรื่องที่เลวร้ายไม่น้อยเลยทีเดียว
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=320></TD><TD width=276 colSpan=10 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=320 colSpan=10>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=7></TD><TD colSpan=14></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=650 colSpan=21>เท่าที่ใช้เป้มามากผมมาถูกใจเป้ยี่ห้อ Deuter ที่สุดทั้งในเรื่องของการออกแบบและความทนทาน ในภาพนี้เป็นรุ่น
    Futara 42 ซึ่งผมว่าเป็นตัวอย่างของเป้โครงในที่ดีมากๆ ถ้าสังเกตดูจะเห็นว่ามีแผ่นโปร่งรองอยู่ที่หลังเพื่อให้ลม
    ผ่านหลังได้ในตอนเดินทำให้ไม่ร้อน

    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=699 colSpan=25>เอาไว้จะเขียนเรื่องการเลือกเป้ให้อ่านกันโดยละเอียดอีกครั้งครับ


    มีด เป็นอีกอย่างที่จะต้องติดไป ในคณะควรมีมีดใหญ่อย่างน้อยหนึ่งเล่มเอาไว้ถางทาง ตัดไม้มาทำที่แขวนหม้อ
    ผ่าฟืน ทำกับข้าว หรือแม้กระทั่งขุดหลุมถ่ายทุกข์ มีดที่เหมาะที่สุดสำหรับงานนี้คือมีดเหน็บพื้นบ้านเรานี่เอง ลอง
    อ่านเรื่องมีดเหน็บที่อาจารย์สมพรเขียนไว้อย่างละเดียดได้นะครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11 height=192></TD><TD width=300 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11></TD><TD class=TextObject width=443 colSpan=11>,มีดทรงอีเหน็บคือมีดที่เหมาะกับการเดินป่าบ้านเราที่สุดครับ
    </TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=224></TD><TD width=320 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5></TD><TD class=TextObject width=469 colSpan=16>มีดจากต่างประเทศที่ผมลองแล้วคิดว่าใช้ในป่าได้จริงจังก็มีเล่มนี้ละครับ Ontario SP5 น้ำหนักดีรูปแบบเรียบง่าย วัสดุดีทนทานไม่ต้องดูแลเอาใจใส่กันมากนัก
    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=699 colSpan=25>มีดพวกมีดคอมแบ็ท มีดโบวี่ หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งดาบปลายปืน (อย่าหัวเราะนะครับ ผมเห็นคนแบกดาบปลายปืน
    ไปแค้มป์มาหลายคนแล้ว) นี่ไม่ต้องแบกไปให้หนักเลยครับ เพราะมันไม่มีประโยชน์ในป่า ฟันไม้ก็ไม่ได้ จะเอาไปขุด
    หลุมก็เสียดาย ผมเองตอนเดินป่าครั้งแรกๆ ไปซื้อมีด K-BAR USMC เล่มสวยมาแบกเดินอยู่ห้าวันใช้ทำอะไรไม่ได้เลย
    ยกเว้นต้องตัดใจเอามีดเล่มงามมาขุดหลุมตอนที่ปวดท้องหนักจนทนไม่ไหว :)
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=26 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=189></TD><TD width=320 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=413 colSpan=13>มีดดาบปลายปืนแบบนี้เขาเอาไว้แทงคนครับ หาได้มีประโยชน์อย่างอื่นใน
    การเดินป่าแต่อย่างใดไม่

    </TD><TD colSpan=6></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=803 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=101 height=15>[​IMG]</TD><TD width=702>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=702>นอกจากมีดใหญ่แล้วก็ควรจะหามีดพับอเนกประสงค์ติดเอวให้หยิบฉวยได้ง่ายสักเล่ม มีดนี้จะใช้ได้สารพัดประโยชน์
    ลองอ่านดูในเรื่อง มีดคู่มือ กล้องคู่กาย ปืนคู่ใจนะครับ

    ของอื่นๆที่ควรจะต้องมีติดไปก็คือ
    - เชือก ควรใช้เชือกถักที่เหมือนกับเชือกเปล หรือเชือกร่ม (ลองดูภาพประกอบ) เชือกพวกนี้เหนียวมาก น้ำหนักเบา
    และผูกง่ายแกะง่าย ถ้านอนเปล อย่างน้อยที่สุด จะต้องมีเชือกเส้นยาวหนึ่งเส้นเอาไว้ขึงฟลายชีต ควรจะมีไปอย่าง
    น้อยสองสามเส้นเพื่อไว้ทำราวตากผ้า ฯลฯ เชือกฟางเป็นเชือกอีกอย่างที่ควรมีติดเป้ไว้ ใช้ได้สารพัดประโยชน์ครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=545 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=225 height=4>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=240></TD><TD width=320>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=803 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=101 height=6>[​IMG]</TD><TD width=702>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=702>- ของใช้ส่วนตัวเช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟันและสบู่
    - ยาประจำตัว อย่างน้อยน่าจะมี ยาแก้ปวด ยาแก้ท้องเสีย ยาใส่แผล ผ้าก็อสต์และพลาสเตอร์ปิดแผล
    - กระดาษชำระ อันนี้ไม่ต้องบอกว่าเอาไว้ทำอะไร
    - ยากันแมลง อันนี้แนะนำให้ใช้ยี่ห้อ Off เจ้าเก่าครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=625 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=175 height=6>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=130>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=237></TD><TD width=270>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=450 colSpan=3>Off กระป๋องซ้ายใช้กันแมลงได้ทุกชนิดตั้งแต่ยุงไปถึงทาก ส่วนบรันดีในกระป๋องขวา
    กินมากๆแล้วไม่รู้ว่ายุงกัด

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=775 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=101 height=8>[​IMG]</TD><TD width=674>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=674>จัดของลงเป้

    เมื่อมีของครบแล้ว การจัดของลงเป้ก็สำคัญ การเดินป่าเรื่องเปียกฝนเป็นเรื่องคาดเดาไม่ได้ หรือถ้าฝนไม่ตกคุณก็
    อาจจะตกน้ำตกท่า ผมกับคุณหนูเลก็เคยมาแล้ว ที่เดินข้ามสะพานไม้ซุงแล้วพลาดท่าตกน้ำจนถุงนอนเปียกหมด
    คืนนั้นต้องนอนหนาวแทบตาย

    เพราะฉะนั้นของทุกอย่างที่จะใส่ในเป้จะต้องใส่ไว้ในถุงพลาสติดอีกชั้นหนึ่ง ที่ดีที่สุดก็คือถุงดำแบบถุงขยะนี่แหละ
    โดยที่ควรจัดแยก เครื่องนอนหนึ่งถุง เสื้อผ้าหนึ่งถุง และอาหารอีกหนึ่งถุง และควรมีถุงเปล่าสำรองไปใส่เสื้อผ้าที่เปียก
    อีกด้วย

    การใส่ของในเป้ก็ควรจัดตามลำดับที่ใช้จะได้หยิบง่าย เครื่องนอนพวกเปลหรือเต็นท์ควรอยู่บนสุด เพราะสิ่งแรกที่เรา
    มักจะทำเวลาเดินถึงที่หมายก็คือการจัดแค้มป์

    อาหารที่เอาไปถ้าจะให้ดีควรตวงแบ่งกันไปเลย จัดล่วงหน้าไปเลยว่ามื้อไหนจะกินอะไร เช่นข้าวสารควรจะตวงใส่ถุง
    พลาสติกใบเล็กให้มีปริมาณเท่ากับที่จะหุงในหม้อ จะได้แบ่งๆกันแบกได้ ไข่เป็นกับข้าวสารพัดประโยชน์แต่ค่อนข้าง
    จะเอาไปยาก แต่วิธีที่ได้ผลก็คือเอาใส่ไปในถุงข้าวข้าวแล้วเอาใส่ในหม้ออีกที อย่างนี้ไม่แตกแน่

    ว่ากันมาซะยาวเหยียดเพราะตั้งใจจะเขียนมานานแล้ว คิดว่าน่าครบแล้วสำหรับของที่จำเป็นจริงๆ ส่วนของอื่นใครมี
    แรงเหลืออยากจะแบกไปเพิ่มก็ตามสบาย

    หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์กับนักเดินป่ามือใหม่กันบ้าง อ่านมาถึงตรงนี้แล้วอย่ามัวแต่นั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์กัน
    เลยครับ จัดของลงเป้ไปเดินป่ากันดีกว่าครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=694 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=435 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=115 height=11>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=214></TD><TD width=320>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=259 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=84 height=50>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ทั้งหมดได้อ่านมาจากWebที่แนะนำการเดินป่าค่ะ
     
  8. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    มีข้อมูลจากเวบเพื่อนบ้านเรา ที่ผมเองก็ไปหาข้อมูลจากที่นั่นมากมายหลายเรื่องครับ

    โดยเฉพาะการหา สรรพวุธเข้าคลังแสง

    ตอนนี้คงต้องหาทางระบายคลังแสง เอาปัจจัยมาทำบุญก่อนครับ
    งานบุญเยอะมาก

    กับอีกเรื่องยังตกค้าง คุณก้องและพวกเราเรื่อง กระเป๋าฉุกเฉิน การจัดของเลือกของใช้เรื่องการดำรงชีพครับ
     
  9. Saisawan

    Saisawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +296
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=449 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=197></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=7>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>เข้าป่ากันแต่ละครั้งก็คงหนีไม่พ้นสามในสี่ของกิจกรรมแห่งชีวิต ซึ่งก็คือ กิน, ขี้ แล้วก็นอน (ส่วนอีกหนึ่งนั่นเอา
    ไว้นอกป่าก็พอได้ครับ) ทั้งหมดนี้สำคัญพอๆกันเพราะขาดอันใดอันหนึ่งแล้วอาจไม่มีแรงเดินต่อ

    เรื่องกินเป็นเรื่องที่ต้องเตรียมการกันมากกว่าอย่างอื่น เพราะอย่างเราๆท่านนี้คงไม่สามารถไปหาอาหารกันใน
    ป่าได้อย่างที่ชาวบ้านป่าขนานแท้เขาทำกันหรอกครับ

    ผมเองยอมรับเลยว่าเป็นคนที่ทำกับข้าวไม่เป็น ที่ทำได้อย่างเดียวก็แค่หุงข้าว เข้าป่าแต่ละทีรอดมาได้ก็เพราะ
    เพื่อนๆสงเคราะห์ทำอาหารเลี้ยงมาตลอด แต่มาหลังๆนี่เพื่อนๆแต่ละคนล้วนมีหน้าที่การงานรัดตัวจนการนัดกัน
    เที่ยวมักจะไม่ค่อยสำเร็จ(อาจเป็นไปได้ว่าเขาเริ่มเบื่อที่ต้องไปทำอาหารเลี้ยงผมอยู่เรื่อยๆก็เป็นได้)

    ตนย่อมเป็นที่พึ่งแห่งตนครับ ไม่มีใครก็ต้องหัดทำเอง

    อาหารที่ง่ายที่สุดสำหรับการเดินป่าก็คงหนีไม่พ้นบะหมี่สำเร็จรูป เพราะน้ำหนักเบาพกพาไปง่ายไม่บูดไม่เสีย
    ทำก็ง่ายใครๆก็ทำเป็น แค่ต้มน้ำเดือดแล้วหย่อนบะหมี่ใส่ไม่กี่นาทีก็ได้กิน

    แต่จะเล่นบะหมี่เปล่าๆกันทุกมื้อก็ไม่ไหวนะครับ เพราะรสชาติไม่ได้เรื่อง(ถึงจะมีรสต่างๆออกมามากมายก็เถอะ)
    และยังจะทำให้ไม่มีแรงเดินกันพอดี

    บางคนก็ใส่ปลากระป๋องลงไปเพิ่มรสชาติและโปรตีน ก็พอได้ครับ แต่ผมมีรายการเด็ดกว่านั้นมาแนะนำ

    ขอเรียกเมนูนี้ว่า"บะหมี่กลางดง"ก็แล้วกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=30>[​IMG]</TD><TD vAlign=center width=575><HR id=HRRule1 width=575 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=3>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>ส่วนประกอบที่ใช้ก็มี
    1) มาม่าข้าวซอยเนื้อ (ขอระบุยี่ห้อและรสไปเลย รับรองว่าไม่ได้ค่าโฆษณา) ซักสองห่อต่อคน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=499 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=56 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=50></TD><TD width=180 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=188></TD><TD></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=2></TD><TD colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=10>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575> 2) คอร์นบีฟกระป๋องตรา อ.ส.ร. (อันนี้ก็ระบุยี่ห้ออีกเหมือนกัน เพราะของเขาอร่อยจริง และยังเป็นของไทย ซื้อ
    กินแล้วเงินทองไม่รั่วไหลอีกต่างหาก)
    3) ไข่ไก่ ถ้ามีก็ดี ไม่มีก็ไม่เป็นไรครับ เพราะไข่สดเป็นของที่แบกเข้าป่าไปด้วยค่อนข้างลำบาก
    4) ผัก อะไรก็ได้ ที่เด็ดสุดก็คงเป็นผักกูดที่ขึ้นอยู่ตามห้วย แต่ระวังอย่าไปเก็บเอาเฟิร์นที่หน้าตาคล้ายๆกันมาล่ะ
    ผักบุ้งก็ใช้ได้ดี แต่ไม่มีก็ไม่เป็นไรอีกเช่นกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=30>[​IMG]</TD><TD vAlign=center width=575><HR id=HRRule2 width=575 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=4>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>การทำก็ง่ายแสนง่าย เอากระทะตั้งไฟ ใส่น้ำในกระทะพอสมควร กะเอาแค่ท่วมมาม่าก็พอ เพราะเราจะทำแบบ
    ผัดแห้ง

    พอน้ำเริ่มร้อนก็หักมาม่าเทลงไป เปิดกระป๋องคอร์บีฟใส่ตามลงไป ที่พบว่าพอดีก็คือครึ่งกระป๋องต่อมาม่าสามห่อ
    แต่ถ้าจะใส่มากน้อยกว่านี้ก็ไม่ว่ากัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=566 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=16>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=200></TD><TD width=150>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=150>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=142>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=25>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>คนเรื่อยๆ ให้เส้นนิ่มทั่วๆกัน พอน้ำเริ่มแห้ง (ถ้าเส้นบานแล้วน้ำยังไม่แห้งก็แสดงว่าคุณใส่น้ำมากไป เทออกได้
    เทน้ำนะครับไม่ใช่เทเส้น เดี๋ยวอดกินกันพอดี) ก็ตอกไข่ลงไปผัดให้สุกและแห้ง จากนั้นก็แกะซองเครื่องปรุงที่อยู่
    ในซองมาม่าเทใส่ ใส่แค่ครึ่งนึงของที่ให้มาก็จะได้รสชาติพอดี (เช่นถ้าผัดสามห่อ ให้ใส่แค่ซองครึ่ง)

    ถ้ามีผักก็หักเป็นท่อนๆใส่ไปได้เลย (ไม่ต้องหั่นเรียบร้อยหรอกครับ อยู่ป่าไม่ได้อยู่วัง) ผัดนิดเดียวก็พอผักจะได้
    ไม่เหี่ยว
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=36 height=12>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=188></TD><TD width=250>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=380 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=9>[​IMG]</TD><TD width=356>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=356>แค่นี้ก็เรียบร้อย ตักใส่จานแจกกันได้เลย

    ถ้าใครได้มีโอกาสเดินป่าด้วยกันก็คงจะได้ชิม บะหมี่กลางดง
    นี่แน่นอน เพราะตาเกิ้นทำเป็นอยู่อย่างเดียวครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=169 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=19 height=17>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=150>ตาเกิ้น
    5 ธันวาคม 2543
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=163></TD><TD width=150>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=700 height=25><TABLE id=NavigationBar10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="NB_UYHPNN026"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=698 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=106>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD><TD width=24 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=22></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=132 colSpan=3 rowSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=24></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=106>คุยกันรอบกองไฟ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=29></TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=75>เซ็นสมุดเยี่ยม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=348 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=60 height=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=273>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=286 colSpan=2>สมัครสมาชิก Thailand Outdoor ฟรี
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=15 colSpan=2><FORM action=http://www.yourmailinglistprovider.com/subscribe.php?tatrawee method=post><TABLE border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>กรุณาใส่ email และคลิ๊ก submit</TD></TR><TR><TD><INPUT maxLength=50 name=YMP[0]></TD><TD><INPUT type=submit value=Submit name=submit></TD></TR><TR><TD colSpan=2>Powered by YourMailinglistProvider.com </TD></TR></TBODY></TABLE></FORM>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=461 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=225></TD><TD width=300>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=337 colSpan=2>เตาแก๊ส(กระป๋อง)สนามขนาดพกพาของตาเกิ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=16 height=1>[​IMG]</TD><TD width=673>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=673>" พี่ ตกลงผมเปลี่ยนไปใช้เตาและตะเกียงสนามแบบแก๊สกระป๋องแล้วหล่ะ " ตาเกิ้นบอกผม บนแค้มป์
    บ้านกร่าง กม.15 แก่งกระจาน ในระหว่างที่เราจะเริ่มอุ่นกับข้าวมื้อกลางวันที่ซื้อมาจากร้านข้าวแกงเขาย้อย
    ผมหันไปดูก็เห็นตาเกิ้นกำลังรูดซิปเปิดถุงผ้าใบขนาดโตกว่าฝ่ามือเล็กน้อย เมื่อหยิบออกมาก็เป็นหัวเตา
    แก๊สขนาดย่อมพร้อมกับสายต่อยาวสัก 8 นิ้ว ที่ปลายสายมีหัวต่อแก๊สกระป๋องและวาล์วเปิด-ปิด

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=464 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=99 height=11>[​IMG]</TD><TD width=46>[​IMG]</TD><TD width=274>[​IMG]</TD><TD width=45>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=240></TD><TD width=320 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=319 colSpan=2>เมื่อประกอบร่างเสร็จในเวลาเพียงไม่ถึงอึดใจ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=11>[​IMG]</TD><TD width=680>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=680>ผมหรี่ตามองเจ้าเตาแก๊สรุ่นพกพาของตาเกิ้น พร้อมกับพูดทำนองเข่นว่า "โอ๊ย แก๊สกระป๋อง...แพง...สู้ใช้
    น้ำมันเบนซินไร้สารไม่ได้ แถมขนถังน้ำมันมาใบเดียวเติมได้ ทั้ง รถ - เตา -ตะเกียง เลย มาตรฐานเดียว
    พลังไทย ทั่วไทยอีกต่างหาก" แน่นอนว่าในตอนนั้นผมไม่มีความคิดแม้แต่น้อยที่จะยอมลงทุนกับเตาสนาม
    ใหม่ ผมยังภูมิใจกับเจ้าเตาลูนาร์ฯ ซึ่งใช้พลังงานเชื้อเพลิงชนิดเดียวกับ "หนูเล" - Suzuki Sporty 4 ล้อ
    2 เพลา พาหนะคู่ทุกข์คู่ยาก แถมยังเพิ่งถอยตะเกียงเจ้าพายุ Coleman รุ่น Duel Fuel ที่ใช้น้ำมัน White
    Gas ก็ได้ เบนซินไร้สารก็ดี มาเสริมบารมี เป็นชุดอุปกรณ์สนามคู่กาย ไหนเลยจะเปลี่ยนใจไปใช้แก๊สได้

    เพื่อเป็นการยืนยันว่าเตาลูนาร์ฯนั้นคู่ควรแก่การเป็นเตาสนาม ผมก็รีบหยิบเตาออกมาจากลัง กางขาเตา
    แล้วก็เริ่มทำการปั๊มลม ระหว่างทำการอัดลมอยู่นั้นก็เหลือบตามองตาเกิ้นกางขาเตาออก พร้อมต่อกระป๋อง
    แก๊สเข้ากับสายเตา เปิดวาล์ว พร้อมกับกดปุ่ม magneto เท่านั้น เตาก็จุดติดในทันที...และขั้นตอนทั้งหมด
    ที่พูดมานั้นเกิดขึ้นในขณะที่ผมยังปั๊มลมเข้าเตาไปได้เพียงครึ่งเดียว!!!!!!

    และกว่าผมจะปั๊มลมจนเต็ม เริ่มจุดไฟ และปั๊มลมเพิ่มจนความดันในเตาคงที่และมากพอที่ทำให้เจ้าเตาลูนาร์ฯ
    เผาไหม้อย่างสมบูรณ์ไม่มีเขม่าแล้ว ตาเกิ้นก็อุ่นไข่พะโล้แสนอร่อยของข้าวแกงแม่ตุ๊เสร็จไป 1 อย่าง..

    การปิดฝาโลงตอกย้ำชัยชนะในเรื่องความสะดวกสุดๆ คือตอนหัวค่ำเมื่อ ตาเกิ้นหยิบตะเกียงขนาดจิ๋วที่เก็บ
    อยู่ในกล่องพลาสติกมาต่อเข้ากับแก๊สกระป๋อง..กระป๋องเดียวกับที่ใช้กับเตานั่นแหล่ะครับ เปิดวาล์ว แล้วกดปุ่ม
    magneto ว้าว แสงจากตะเกียงอันสว่างไสวจากตะเกียงแก๊สของตาเกิ้นขับไล่ความมืดออกไปฉายให้เห็น
    ภาพของผมกำลังปั๊มลมเพื่อเริ่มจุดเจ้าตะเกียงเจ้าพายุ Coleman ตัวใหม่อยู่ ...
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=14>[​IMG]</TD><TD width=87>[​IMG]</TD><TD width=53>[​IMG]</TD><TD width=282>[​IMG]</TD><TD width=15>[​IMG]</TD><TD width=243>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=680 colSpan=5>เตาแก๊สสนาม เจ้าพ่อแห่งความสะดวกสบาย
    เป็นเรื่องปรกติที่เราจะขนเตาแก๊สถังปิคนิค ใส่ท้ายรถไปทำกับข้าวกินอยู่ข้างเต๊นท์นอนบนยอดดอย หรือ
    ริมชายหาด ที่เราสามารถขับเจ้าพาหนะคู่ใจเข้าไปถึง...แก๊สเป็นแหล่งพลังงานความร้อนที่พกพาสะดวก
    ใช้งานง่าย ราคาถูก และมีมลภาวะต่ำกว่าพลังงานประเภทอื่น แต่ถ้าเราพูดถึงเตาสนามที่ต้องมีขนาด
    กระทัดรัดขนใส่เป้แบกเดินนั้น เตาแก๊สสนาม(ในเมืองไทยเมื่อก่อนนี้)ยังมีข้อจำกัดในเรื่องราคาแก๊สกระป๋อง
    อันแสนจะแพง ผมยังจำได้ว่าราคาแก๊สบิวเทนรุ่นกระป๋องสเปรย์ตอนออกมาขายใหม่ๆนั้นราคากระป๋อง
    ละเกือบร้อยบาท และหากเป็นรุ่นกระป๋องโดมที่ใช้สำหรับเตาสนามอย่างดีนั้น ราคากระป๋องละไม่ต่ำกว่า
    สามร้อยบาท หากเทียบกับน้ำมันเบนซินลิตรละ 10 บาทเศษแล้ว ผมยอมรับว่าทำใจซื้อมาใช้ไม่ลงเลยครับ
    แต่เมื่อเตาแก๊สสนามเดี๋ยวนี้มีอะแดปเตอร์ต่อใช้แก๊สรุ่นกระป๋องสเปรย์ได้ และราคาแก๊สเหลือ 3 กระป๋องร้อย
    การลงทุนหาเตาแก๊สสนามมาเป็นเตาคู่ครัวในป่าก็เป็นทางเลือกที่น่าสนใจมากเลยทีเดียวครับ

    แก๊สกระป๋อง
    แก๊สกระป๋องที่ใช้กับเตา/ตะเกียงสนาม 2 ประเภทคือ แก๊สบิวเทน (Butane)และ โปรเพน (Propane) ซึ่ง
    แก๊สทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกเรียกรวมๆกันว่าก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือ LPG (Liquid Petroleum Gas) ที่บรรจุถัง
    แก๊สหรือถังเตาปิคนิคให้เราใช้ตามบ้านนั่นเองครับโดยที่มาของก๊าซปริโตเลียมเหลวนั้นได้มาจาก 2 วิธีคือ
    จากขบวนการกลั่นน้ำมัน และจากกระบวนแยกก๊าชธรรมชาติ

    คุณสมบัติโดยทั่วไปของแก๊สทั้ง 2 คล้ายกันมากครับ แต่ข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างเจ้าแก๊สบิวเทน กับ
    โพรเพนคือจุดเดือดของบิวเทนอยู่ที่ 0 องศาเซลเชียส ในขณะที่โพรเพนอยู่ที่ลบ 42 องศา ดังนั้นถ้านักเดิน
    ทางท่านใดกะจะไปแค้มปิ้งบนยอดเขาหิมาลัย หรือขั้วโลกด้วยแก๊สบิวเทนกระป๋องแล้วละก้อ ท่านอาจจะ
    อดหม่ำข้าวได้เพราะจุดไฟม่ายติด.. โพรเพนมีความถ่วงจำเพาะ 0.51 ซึ่งต่ำกว่าบิวเทนที่มีค่า 0.69 ถ้า
    พูดง่ายๆคือแก๊สที่อยู่ในสภาพของเหลว 1 ลิตรนั้นหนักแค่ 5-7ขีด (ในขณะที่น้ำ 1 ลิตรหนัก 1 กิโลกรัม)
    สัดส่วนผสมกับอากาศที่ทำให้ติดไฟของแก๊สทั้ง 2 ชนิดก็มีค่าพอกันโดยอยู่ที่ 2-9% คือถ้าแก๊สน้อยกว่า
    2% ก็จุดไม่ติด หรือถ้ามากกว่า 9% แก๊สมากไปก็จุดไม่ติดเหมือนกัน และเนื่องจากสัดส่วนผสมที่เท่าๆ
    กันนี่เองทำให้เตาแก๊สสนามสามารถใช้ได้กับทั้งแก๊สโพรเพน หรือ บิวเทนครับ

    ดังที่กล่าวมาแล้วครับว่าแก๊สกระป๋องโพรเพน นั้นแจ๋วตรงที่ใช้กับที่อากาศเย็นต่ำกว่าศูนย์องศาได้ ส่วน
    แก๊สบิวเทนนั้นมีจุดเด่นที่สำคัญคือถูกดีครับ อย่างเช่นแก๊สบิวเทนรุ่นกระป๋องสเปรย์ ราคาตามห้างแม็คโคร
    /โลตัสก็แค่ 3 กระป๋องร้อย แต่ถ้าอากาศเย็นถึงจุดเยือกแข็งเมื่อไร ก็เรียบร้อย ดังนั้นพวกผู้ผลิตอุปกรณ์เตา
    แก๊สสนามมือโปรฯเช่น Campingaz หรือ Primus จึงผลิตแก๊สกระป๋องยี่ห้อตัวเองออกจำหน่าย ซึ่งโดยส่วน
    ใหญ่ข้างในกระป๋องจะถูกบรรจุแก๊สไอโซโพรเพน ที่เป็นแก๊สผสมระหว่างแก๊ส บิวเทน 80% และ โพรเพน
    20% เจ้าไอโซโพรเพนนี้ แก้ปัญหาเรื่องหัวเทียนบอด..เอ๊ย..แก๊สไม่ยอมเป็นไอที่อากาศหนาวได้ แถมยัง
    คุยว่าให้พลังงานความร้อนที่สูงกว่าแก๊สบิวเทนหรือโพรเพนเสียอีก ผมเองก็ยังไม่เคยมีวาสนาลองใช้เจ้า
    เตา+แก๊สกระป๋องสนามยี่ห้อโปรฯเหล่านั้นเสียด้วยซิครับเลยไม่กล้ายืนยัน หากท่านผู้อ่านมีแล้วอยากจะ
    ให้ผมยืมมาทดสอบดูก็จะยินดีครับ

    เตาแก๊สสนามของผม
    หลังจากที่ตาสว่างประจักษ์ถึงความสะดวกสบายในการใช้เตาแก๊สกระป๋องแล้ว ผมก็ไม่ยอมน้อยหน้า
    ตาเกิ้นหาเตาแก๊สสนามมาพกติดตัวไว้ชงกาแฟ หุงข้าว ต้มถั่วเขียวกินยามเป็นหนูน้อยตุหลัดตุเหล่ไว้ถึง
    2 เตาอันได้แก่ เตาTurbora และเตาจิ๋ว

    เตา Turbora
    เตา Turbora ตัวนี้ผมซื้อมาจากห้างแมคโคร ตอนลดราคากระหน่ำ ตัวละ 400 กว่าบาท เป็นเตาแก๊ส
    ขนาดกระทัดรัดที่ออกแบบได้ลงตัว มีกระเป๋าพลาสติกใส่ทำให้หิ้วไปมาง่าย การติดแก๊สกระป๋องก็สะดวก
    แถมรวมระบบ Magneto เข้ากับปุ่มเปิด-ปิดแก๊ส พอบิดปุ่มปุ๊บไฟก็ติดปั๊บ เรียกได้ว่าเป็นเตารุ่น Foolproof
    อย่างแท้จริงครับ ผมตัดสินใจซื้อเตาตัวนี้ด้วยเหตุผลง่ายๆคือถูกและดี แถมมีข้ออ้างว่าเอามาใช้ เป็นเตา
    สำรองที่บ้านเพื่อเตรียมรับ Y2K อีกตัวหนึ่งครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=263></TD><TD width=350 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=282>เตาแก๊สสนามระดับครัวเคลื่อนที่
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=13>[​IMG]</TD><TD width=681>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=681>คราวนี้ผมลองทำการทดสอบความร้อนแรงของเตา Turbora ดู โดยใช้สูตรเดิมเหมือนกับที่ทดสอบสนาม
    อื่นๆ พบว่าเตา Turbora สามรถต้มน้ำ 1 ลิตรเดือดในเวลา 4 นาที 30 วินาที ดังนั้นเตา Turbora เลยได้
    ตำแหน่งแชมป์เป็นเตาสนามร้อนแรงเบอร์หนึ่งไปครองอย่างขาวสะอาดครับ เพราะพลังงานความร้อนที่
    สะอาดจากแก๊ส ไร้เขม่าและเสียงฟู่ ทำให้ก้นหม้อข้าวไม่ดำ

    สำหรับเตาTurbora ตัวนี้ผมคงไม่มีบรรยายใดเพิ่มเติมครับ ผมยังไม่จัดเตาตัวนี้เป็นเตาสนามขนาดพก
    พาที่จะแบกไปไหนมาไหน เตาตัวนี้เหมาะกับทริปที่ขับรถไปถึงที่ผูกเปลนอน และไปกันหลายคน เป็นเตา
    สนามที่หุงข้าวง่ายสุด เพราะหรี่ไฟตอนดงข้าวได้ ข้าวไม่ไหม้ก้นหม้อเนื่องจาก Hot spot เรียกว่าเสมือน
    ขนเตา Magic chef ไปเที่ยวเลยทีเดียว

    "เตาจิ๋ว" Kovea
    ผมได้เห็นฤทธิ์เดชของเจ้าเตาจิ๋วเป็นครั้งแรกเมื่อต้นปีก่อน ตอนที่แบกของเดินลงไปนอนเล่นที่ต้นน้ำ
    เพชรบุรี ในทริปนั้นผมไม่ได้พกเอาเตาสนามไปเพราะรู้ว่าตาเกิ้นได้พกเตาแก๊สสนามไปด้วย แต่เมื่อถึง
    ที่พักริมน้ำ ผมก็แปลกใจเมื่อเห็นพี่เดชเพื่อนร่วมเดินทางอีกท่านควักเอากล่องพลาสติกใบจิ๋วออกมา
    เมื่อเปิดฝาออก ก็ปรากฎหัวเตาขนาดจิ๋วยี่ห้อ Kovea สัญชาติเกาหลีที่มีพร้อมทั้ง Magneto จุดเตา, ขา
    รองหม้อและปุ่มวาล์วเปิด-ปิดแก๊สซึ่งกางออกมาได้ เมื่อถือเตาขึ้นมาพบว่าเบามากเพราะน้ำหนักตาม
    สเป็คไม่เกิน 200 กรัม!! ซึ่งถือว่าเป็นเตาสนามที่มีน้ำหนักเบาสุดเลยครับ เตาอื่นที่เบากว่าคงเห็นจะแค่
    เตาแก๊สสนามที่ทำจากไททาเนียมเท่านั้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=617 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=293 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=74 height=8>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=300></TD><TD width=219>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=324 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=6 height=227>[​IMG]</TD><TD width=318>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=318>เตาจิ๋ว Kovea พร้อมกล่องใส่ ขนาดจิ๋ว
    สมชื่อเมื่อเทียบกับแก๊สกระป๋อง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=19>[​IMG]</TD><TD width=678>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=678>อย่างไรก็ตามเจ้าเตาจิ๋วได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับแก๊สกระป๋องรุ่นโดม ดังนั้นถ้าต้องการใช้แก๊สรุ่นกระป๋อง
    สเปรย์จะต้องมีขาตั้งเตาพร้อมอะแดปเตอร์ มาต่อดังรูปครับ การประกอบร่างเตาจิ๋วนั้นก็ทำได้ง่ายมาก
    ใช้เวลาไม่เกิน 30 วินาทีเท่านั้น เตาจิ๋วก็จุดติดพร้อมหุงข้าวหรือต้มถั่วเขียวกิน

    ขั้นตอนต่อมาคือการทดสอบเตาจิ๋วด้วยการต้มน้ำ 1 ลิตรในการ้องได้ พบว่าด้วยเวลาเพียง 4 นาที 40 วินาที
    น้ำในกาก็เดือดจนการ้องออกมา เมื่อดูจากประสิทธิภาพการพ่นไฟแล้วก็ไม่ได้ด้อยกว่าเตา Turbora
    แต่ประการใดครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=9>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=75>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=143>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD><TD width=107>[​IMG]</TD><TD width=27>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=32>[​IMG]</TD><TD width=44>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=157>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5 height=263></TD><TD width=350 colSpan=10>[​IMG]</TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8></TD><TD class=TextObject width=325 colSpan=8>เตาจิ๋วเมื่อประกอบร่างเรียบร้อยพร้อมใช้งาน
    </TD><TD colSpan=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=672 colSpan=20>ข้อเสียของเตาจิ๋วก็คือหัวเตาที่มีขนาดเล็กทำให้เกิด Hotspot ขึ้นที่ตรงกลางเตา ผมเคยหุงข้าวแล้วข้าว
    ไหม้เฉพาะจุดตรงกลางหม้อมาแล้วเนื่องจากครั้งนั้นอารามหิวข้าวจัด ก็เลยเอาหม้อข้าวขึ้นตั้งและเปิดไฟ
    เตาจิ๋วเต็มที่ พอน้ำเริ่มเดือดเอาทัพพีลงคนข้าวก็พบว่าเม็ดข้าวติดก้นหม้อตรงกลางเสียแล้ว ผมก็เลยใช้
    เป็นข้ออ้างทุกครั้งที่หุงข้าวไหม้ว่า "เตาไม่ดี" หรือพอหุงข้าวไม่สุกก็อ้างว่า "กลัวไฟมันแรง เลยตั้งไฟอ่อน
    ทำให้ข้าวไม่สุก" นับว่าเป็นความโชคร้ายของเตาจิ๋วที่โดนปรับปรำแท้ๆ อย่างไรก็ตามเคยได้ยินว่าเตาจิ๋ว
    รุ่นหลังๆได้มีแผ่นเซรามิกวางอยู่เหนือหัวเตาแก๊สเพื่อแก้ปัญหา Hotspot ครับ ถ้าอีกหน่อยหนูเลเปลี่ยน
    ไปใช้เตารุ่นนั้นก็คงจะโทษปี่โทษเตาไม่ได้แล้วหล่ะ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9 height=287></TD><TD width=300 colSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10></TD><TD class=TextObject width=293 colSpan=4>แชมป์เตาแก๊สที่เบาที่สุดในโลก PocketRocket
    จาก MSR แดนมะกัน

    </TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=19></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=670 colSpan=18>ข้อดีของเตาแก๊สกระป๋อง
    ข้อดี
    * ไม่ต้องห่วงว่าน้ำมันจะหก (เพราะไม่มีน้ำมันจะหก..ฮา) ไม่เลอะเทอะเปรอะเปื้อน
    * ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา แชมป์เตาแก๊สสนามน้ำหนักเบาสุดมีน้ำหนัก 86 กรัมซึ่งได้แก่ หัวเตา PocketRocket
    ของ MSR (ไม่แน่ใจว่าเสียแชมป์ไปหรือยังครับ) หัวเตาทำด้วยไททาเนียม ในขณะที่เตาน้ำมันสนามขนาดพกพา
    จะมีน้ำหนัก 550 กรัม (เตา Svea123)
    * จุดไฟง่าย หรี่ไฟก็ได้...ไม่ใช่ว่าเตาน้ำมันสนามจะหรี่ไฟไม่ได้นะครับ แต่ถ้าต้องการจะหรี่ไฟมากๆประเภทต้อง
    การไปตุ๋นไก่ทำซุปบนยอดดอยแล้วละก้อ เตาแก๊สกระป๋องกินขาด
    * ปลอดภัยกว่า (ข้อนี้ก็ไม่แน่ใจเหมือนกันครับ ผมว่าเราคงไม่ลืมโศกนาฎกรรม อานุภาพการทำลายล้างของ
    รถแก๊สที่แยกเพชรบุรีนะครับ)
    * ราคาอุปกรณ์ถูกกว่า ราคาหัวเตาแก๊สสนามของจีนแดงอยู่ราวๆ 3-400 บาทครับ แต่ถ้าต้องการเตาน้ำมัน
    สนาม คงต้องมีมากกว่าแบงค์หนึ่งพัน
    ข้อเสีย
    * ไม่รู้ว่าแก๊สในกระป๋องเหลือเท่าไร จะหมดหรือเปล่าก็ไม่แน่ใจ เอาไว้หนูเลจะลองวัดดูครับว่าแก๊สกระป๋อง
    นึงใช้ได้นานเท่าไร
    * หมดแล้วหมดเลย หาเติมไม่ได้ เบนซินยังหาเติมได้ตามปั้มหลอด แต่แก๊สกระป๋องต้องห้างสรรพสินค้า
    สถานเดียวครับ
    * ระเบิดได้ถ้าไปทำตกหรือกระแทกแรงๆ น้องๆระเบิดน้อยหน่าเลยละครับ
    * ที่สำคัญที่สุดคือปัญหาขยะมีพิษครับ กระป๋องแก๊สที่ใช้หมดแล้ว(แต่ภายในยังหลงเหลือแก๊สอยู่บ้าง)
    ยากในการกำจัด/แปรรูป
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9 height=193></TD><TD width=273 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9></TD><TD class=TextObject width=318 colSpan=8> Primus ชุดนี้ของดีแน่นอน แต่ราคาก็สูงดีด้วย
    ของทั้งถูกทั้งดี ไม่มีในโลก

    </TD><TD colSpan=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4></TD><TD class=TextObject width=676 colSpan=19>หากท่านผู้อ่านสนใจจะหาเตาสนามไว้ใช้งาน หลังจากทนติดตามอ่านเตาแคมปิ้งมาทั้ง 3 ภาคแล้วก็คง
    จะเห็นข้อเด่น-ข้อด้อยของเตาแต่ละประเภทนะครับ ส่วนท่านผู้อ่านที่สนใจว่าจะซื้อเตาแบบไหน และ
    ยี่ห้อ/สัญชาติใดนั้น ผมว่า "You get what you pay for.." น่าจะเป็นวลีที่พอใช้ได้ในโลกของอุปกรณ์แคมปิ้ง
    ครับ

    ทุกวันนี้ผมหนีบเจ้าเตาจิ๋ว และตะเกียงแก๊สสัญชาติเกาหลีเป็นเตา/ตะเกียง คู่ใจร่วมเดินทางไปนอนผูก
    เปลแช่ห้วย ที่ซื้อใช้ก็เพราะมันก็"สมราคา"ดีครับ...แปลง่ายๆก็คือถูกดี ใช้งานมาก็ไม่เคยมีปัญหาแต่
    ประการใด แต่ความทนทานนั้นก็ไม่แน่ใจเพราะเพียงแค่ขวบปีฝาบนของตะเกียงที่เคลือบโครเมียม ก็เริ่ม
    กระดำกระด่างขึ้นมา ขาเตาจิ๋วพอเผลอทิ้งตากน้ำค้างไปคืนเดียวกลับมาพวกสนิมก็แอบมาตีสนิทด้วย
    ต้องรีบทำการขัดและพ่นสเปรย์สีใสป้องกันเป็นการใหญ่ สำหรับท่านที่ใช้เตาสนามน้ำมันเบนซินรุ่นลอก
    เลียนเตา Coleman (หน้าตาเหมือนเตาลูนาร์ฯของผม) พี่เจ้าของร้านขายอุปกรณ์แคมปิ้งฝากเตือนว่า
    เมื่อใช้เสร็จแล้วให้รีบถ่ายน้ำมันออกโดยเร็ว ไม่เช่นนั้นน้ำมันเบนซินจะกัดถังเตาทะลุเอาได้ ก็ซึ่งเหตุ
    การณ์พวกนี้ไม่เคยเกิดกับเตา/ตะเกียงสนาม Coleman ของผมเลย...ดังนั้นถ้าท่านผู้อ่านไม่ติดขัดเรื่อง
    ทุนทรัพย์แล้วละก้อ ผมขอแนะนำให้ลงทุนกับเตาสนามคุณภาพดีๆครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=186></TD><TD width=372 colSpan=12>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=364 colSpan=11>เตาสนาม Himalaya OminFuel Stove จาก Primus ที่เป็นจอม
    สารพัดเขมือบทั้ง แก๊ส และ น้ำมัน

    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=674 colSpan=21>เลือกแบบไหนดี
    สุดท้ายนี้สำหรับท่านอ่านที่ยังฟันธงเลือกไม่ถูกว่าจะเลือกซื้อเตาประเภทใดแล้ว โปรฯหนูเล(แอบอ้างเป็น
    โปรฯเสียเลย..อิ อิ) ขอให้ความเห็นว่า ถ้าเทียบกันด้านความคลาสสิกแล้ว เตาน้ำมันสนามดูมีมนต์ขลัง
    กว่าเตาแก๊สกระป๋องอยู่เยอะมาก...แบบว่าถ้าจะต้องการดื่มด่ำกับบรรยากาศการต้มน้ำแล้วละก้อเตา
    น้ำมันก๊าดกินขาดครับ... แต่ถ้าเปรียบเทียบความสะดวกแล้ว เตาแก๊สกระป๋องชนะมาตั้งแต่ในมุ้ง ส่วน
    ถ้าจะเลือกเตาที่ออกทริปยาวๆแล้ว เตาน้ำมันสนามจะดีกว่าครับ เพราะไปหาน้ำมันเอาดาบหน้าได้ แต่
    ถ้าท่านผู้อ่านที่ยังรักพี่เสียดายน้องแล้วละก้อ..นี่เลย..ขอแนะนำเตารุ่นแยกถัง Himalaya Omni-Fuel ของ
    Primus เขมือบน้ำมันทุกชนิดตั้งแต่น้ำมัน ก๊าด-ดีเซล-Jet-เบนซินขาว-เบนซินเติมรถยนต์ (ว่ากันว่าน้ำมัน
    พืชบางชนิดก็เอามาใช้ได้) หรือจะมาใช้กับแก๊สกระป๋องทั้งแบบกระป๋องสเปรย์ และแบบกระป๋องโดม และ
    แก๊สผสม Butane-Propane ก็ได้ด้วย รับรองเตาเดียว อยู่หมัด สำหรับสนนราคาค่าตัวก็แพงตามความ
    เก่งละครับ ส่วนว่ามันจะแจ๋วสมราคาหรือไม่หนูเลก็ยังไม่เคยลองนะ แต่ถ้าท่านใดซื้อมาแล้วขอให้หนูเล
    ขอยืมใช้เป็นบุญหม้อข้าว ซักทริปนึงก็จะเป็นพระคุณหลายครับ...
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11 height=188></TD><TD width=250 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=12></TD><TD class=TextObject width=228 colSpan=7>หนูเล, พค. 45
    </TD><TD colSpan=4></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=700 height=25><TABLE id=NavigationBar10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="NB_UYHPNN026"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=698 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=106>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD><TD width=24 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=22></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=132 colSpan=3 rowSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=24></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=106>คุยกันรอบกองไฟ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=29></TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=75>เซ็นสมุดเยี่ยม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=348 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=60 height=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=273>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=286 colSpan=2>สมัครสมาชิก Thailand Outdoor ฟรี
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. Saisawan

    Saisawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +296
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=449 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=197></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=7>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>เข้าป่ากันแต่ละครั้งก็คงหนีไม่พ้นสามในสี่ของกิจกรรมแห่งชีวิต ซึ่งก็คือ กิน, ขี้ แล้วก็นอน (ส่วนอีกหนึ่งนั่นเอา
    ไว้นอกป่าก็พอได้ครับ) ทั้งหมดนี้สำคัญพอๆกันเพราะขาดอันใดอันหนึ่งแล้วอาจไม่มีแรงเดินต่อ

    เรื่องกินเป็นเรื่องที่ต้องเตรียมการกันมากกว่าอย่างอื่น เพราะอย่างเราๆท่านนี้คงไม่สามารถไปหาอาหารกันใน
    ป่าได้อย่างที่ชาวบ้านป่าขนานแท้เขาทำกันหรอกครับ

    ผมเองยอมรับเลยว่าเป็นคนที่ทำกับข้าวไม่เป็น ที่ทำได้อย่างเดียวก็แค่หุงข้าว เข้าป่าแต่ละทีรอดมาได้ก็เพราะ
    เพื่อนๆสงเคราะห์ทำอาหารเลี้ยงมาตลอด แต่มาหลังๆนี่เพื่อนๆแต่ละคนล้วนมีหน้าที่การงานรัดตัวจนการนัดกัน
    เที่ยวมักจะไม่ค่อยสำเร็จ(อาจเป็นไปได้ว่าเขาเริ่มเบื่อที่ต้องไปทำอาหารเลี้ยงผมอยู่เรื่อยๆก็เป็นได้)

    ตนย่อมเป็นที่พึ่งแห่งตนครับ ไม่มีใครก็ต้องหัดทำเอง

    อาหารที่ง่ายที่สุดสำหรับการเดินป่าก็คงหนีไม่พ้นบะหมี่สำเร็จรูป เพราะน้ำหนักเบาพกพาไปง่ายไม่บูดไม่เสีย
    ทำก็ง่ายใครๆก็ทำเป็น แค่ต้มน้ำเดือดแล้วหย่อนบะหมี่ใส่ไม่กี่นาทีก็ได้กิน

    แต่จะเล่นบะหมี่เปล่าๆกันทุกมื้อก็ไม่ไหวนะครับ เพราะรสชาติไม่ได้เรื่อง(ถึงจะมีรสต่างๆออกมามากมายก็เถอะ)
    และยังจะทำให้ไม่มีแรงเดินกันพอดี

    บางคนก็ใส่ปลากระป๋องลงไปเพิ่มรสชาติและโปรตีน ก็พอได้ครับ แต่ผมมีรายการเด็ดกว่านั้นมาแนะนำ

    ขอเรียกเมนูนี้ว่า"บะหมี่กลางดง"ก็แล้วกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=30>[​IMG]</TD><TD vAlign=center width=575><HR id=HRRule1 width=575 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=3>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>ส่วนประกอบที่ใช้ก็มี
    1) มาม่าข้าวซอยเนื้อ (ขอระบุยี่ห้อและรสไปเลย รับรองว่าไม่ได้ค่าโฆษณา) ซักสองห่อต่อคน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=499 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=56 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=50></TD><TD width=180 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=188></TD><TD></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=2></TD><TD colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=10>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575> 2) คอร์นบีฟกระป๋องตรา อ.ส.ร. (อันนี้ก็ระบุยี่ห้ออีกเหมือนกัน เพราะของเขาอร่อยจริง และยังเป็นของไทย ซื้อ
    กินแล้วเงินทองไม่รั่วไหลอีกต่างหาก)
    3) ไข่ไก่ ถ้ามีก็ดี ไม่มีก็ไม่เป็นไรครับ เพราะไข่สดเป็นของที่แบกเข้าป่าไปด้วยค่อนข้างลำบาก
    4) ผัก อะไรก็ได้ ที่เด็ดสุดก็คงเป็นผักกูดที่ขึ้นอยู่ตามห้วย แต่ระวังอย่าไปเก็บเอาเฟิร์นที่หน้าตาคล้ายๆกันมาล่ะ
    ผักบุ้งก็ใช้ได้ดี แต่ไม่มีก็ไม่เป็นไรอีกเช่นกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=30>[​IMG]</TD><TD vAlign=center width=575><HR id=HRRule2 width=575 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=4>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>การทำก็ง่ายแสนง่าย เอากระทะตั้งไฟ ใส่น้ำในกระทะพอสมควร กะเอาแค่ท่วมมาม่าก็พอ เพราะเราจะทำแบบ
    ผัดแห้ง

    พอน้ำเริ่มร้อนก็หักมาม่าเทลงไป เปิดกระป๋องคอร์บีฟใส่ตามลงไป ที่พบว่าพอดีก็คือครึ่งกระป๋องต่อมาม่าสามห่อ
    แต่ถ้าจะใส่มากน้อยกว่านี้ก็ไม่ว่ากัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=566 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=16>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=200></TD><TD width=150>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=150>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=142>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=25>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>คนเรื่อยๆ ให้เส้นนิ่มทั่วๆกัน พอน้ำเริ่มแห้ง (ถ้าเส้นบานแล้วน้ำยังไม่แห้งก็แสดงว่าคุณใส่น้ำมากไป เทออกได้
    เทน้ำนะครับไม่ใช่เทเส้น เดี๋ยวอดกินกันพอดี) ก็ตอกไข่ลงไปผัดให้สุกและแห้ง จากนั้นก็แกะซองเครื่องปรุงที่อยู่
    ในซองมาม่าเทใส่ ใส่แค่ครึ่งนึงของที่ให้มาก็จะได้รสชาติพอดี (เช่นถ้าผัดสามห่อ ให้ใส่แค่ซองครึ่ง)

    ถ้ามีผักก็หักเป็นท่อนๆใส่ไปได้เลย (ไม่ต้องหั่นเรียบร้อยหรอกครับ อยู่ป่าไม่ได้อยู่วัง) ผัดนิดเดียวก็พอผักจะได้
    ไม่เหี่ยว
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=36 height=12>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=188></TD><TD width=250>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=380 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=9>[​IMG]</TD><TD width=356>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=356>แค่นี้ก็เรียบร้อย ตักใส่จานแจกกันได้เลย

    ถ้าใครได้มีโอกาสเดินป่าด้วยกันก็คงจะได้ชิม บะหมี่กลางดง
    นี่แน่นอน เพราะตาเกิ้นทำเป็นอยู่อย่างเดียวครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=169 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=19 height=17>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=150>ตาเกิ้น
    5 ธันวาคม 2543
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=163></TD><TD width=150>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=700 height=25><TABLE id=NavigationBar10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="NB_UYHPNN026"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=698 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=106>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD><TD width=24 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=22></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=132 colSpan=3 rowSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=24></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=106>คุยกันรอบกองไฟ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=29></TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=75>เซ็นสมุดเยี่ยม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=348 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=60 height=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=273>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=286 colSpan=2>สมัครสมาชิก Thailand Outdoor ฟรี
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=15 colSpan=2><FORM action=http://www.yourmailinglistprovider.com/subscribe.php?tatrawee method=post><TABLE border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>กรุณาใส่ email และคลิ๊ก submit</TD></TR><TR><TD><INPUT maxLength=50 name=YMP[0]></TD><TD><INPUT type=submit value=Submit name=submit></TD></TR><TR><TD colSpan=2>Powered by YourMailinglistProvider.com </TD></TR></TBODY></TABLE></FORM>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=461 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=225></TD><TD width=300>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=337 colSpan=2>เตาแก๊ส(กระป๋อง)สนามขนาดพกพาของตาเกิ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=16 height=1>[​IMG]</TD><TD width=673>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=673>" พี่ ตกลงผมเปลี่ยนไปใช้เตาและตะเกียงสนามแบบแก๊สกระป๋องแล้วหล่ะ " ตาเกิ้นบอกผม บนแค้มป์
    บ้านกร่าง กม.15 แก่งกระจาน ในระหว่างที่เราจะเริ่มอุ่นกับข้าวมื้อกลางวันที่ซื้อมาจากร้านข้าวแกงเขาย้อย
    ผมหันไปดูก็เห็นตาเกิ้นกำลังรูดซิปเปิดถุงผ้าใบขนาดโตกว่าฝ่ามือเล็กน้อย เมื่อหยิบออกมาก็เป็นหัวเตา
    แก๊สขนาดย่อมพร้อมกับสายต่อยาวสัก 8 นิ้ว ที่ปลายสายมีหัวต่อแก๊สกระป๋องและวาล์วเปิด-ปิด

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=464 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=99 height=11>[​IMG]</TD><TD width=46>[​IMG]</TD><TD width=274>[​IMG]</TD><TD width=45>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=240></TD><TD width=320 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=319 colSpan=2>เมื่อประกอบร่างเสร็จในเวลาเพียงไม่ถึงอึดใจ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=11>[​IMG]</TD><TD width=680>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=680>ผมหรี่ตามองเจ้าเตาแก๊สรุ่นพกพาของตาเกิ้น พร้อมกับพูดทำนองเข่นว่า "โอ๊ย แก๊สกระป๋อง...แพง...สู้ใช้
    น้ำมันเบนซินไร้สารไม่ได้ แถมขนถังน้ำมันมาใบเดียวเติมได้ ทั้ง รถ - เตา -ตะเกียง เลย มาตรฐานเดียว
    พลังไทย ทั่วไทยอีกต่างหาก" แน่นอนว่าในตอนนั้นผมไม่มีความคิดแม้แต่น้อยที่จะยอมลงทุนกับเตาสนาม
    ใหม่ ผมยังภูมิใจกับเจ้าเตาลูนาร์ฯ ซึ่งใช้พลังงานเชื้อเพลิงชนิดเดียวกับ "หนูเล" - Suzuki Sporty 4 ล้อ
    2 เพลา พาหนะคู่ทุกข์คู่ยาก แถมยังเพิ่งถอยตะเกียงเจ้าพายุ Coleman รุ่น Duel Fuel ที่ใช้น้ำมัน White
    Gas ก็ได้ เบนซินไร้สารก็ดี มาเสริมบารมี เป็นชุดอุปกรณ์สนามคู่กาย ไหนเลยจะเปลี่ยนใจไปใช้แก๊สได้

    เพื่อเป็นการยืนยันว่าเตาลูนาร์ฯนั้นคู่ควรแก่การเป็นเตาสนาม ผมก็รีบหยิบเตาออกมาจากลัง กางขาเตา
    แล้วก็เริ่มทำการปั๊มลม ระหว่างทำการอัดลมอยู่นั้นก็เหลือบตามองตาเกิ้นกางขาเตาออก พร้อมต่อกระป๋อง
    แก๊สเข้ากับสายเตา เปิดวาล์ว พร้อมกับกดปุ่ม magneto เท่านั้น เตาก็จุดติดในทันที...และขั้นตอนทั้งหมด
    ที่พูดมานั้นเกิดขึ้นในขณะที่ผมยังปั๊มลมเข้าเตาไปได้เพียงครึ่งเดียว!!!!!!

    และกว่าผมจะปั๊มลมจนเต็ม เริ่มจุดไฟ และปั๊มลมเพิ่มจนความดันในเตาคงที่และมากพอที่ทำให้เจ้าเตาลูนาร์ฯ
    เผาไหม้อย่างสมบูรณ์ไม่มีเขม่าแล้ว ตาเกิ้นก็อุ่นไข่พะโล้แสนอร่อยของข้าวแกงแม่ตุ๊เสร็จไป 1 อย่าง..

    การปิดฝาโลงตอกย้ำชัยชนะในเรื่องความสะดวกสุดๆ คือตอนหัวค่ำเมื่อ ตาเกิ้นหยิบตะเกียงขนาดจิ๋วที่เก็บ
    อยู่ในกล่องพลาสติกมาต่อเข้ากับแก๊สกระป๋อง..กระป๋องเดียวกับที่ใช้กับเตานั่นแหล่ะครับ เปิดวาล์ว แล้วกดปุ่ม
    magneto ว้าว แสงจากตะเกียงอันสว่างไสวจากตะเกียงแก๊สของตาเกิ้นขับไล่ความมืดออกไปฉายให้เห็น
    ภาพของผมกำลังปั๊มลมเพื่อเริ่มจุดเจ้าตะเกียงเจ้าพายุ Coleman ตัวใหม่อยู่ ...
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=14>[​IMG]</TD><TD width=87>[​IMG]</TD><TD width=53>[​IMG]</TD><TD width=282>[​IMG]</TD><TD width=15>[​IMG]</TD><TD width=243>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=680 colSpan=5>เตาแก๊สสนาม เจ้าพ่อแห่งความสะดวกสบาย
    เป็นเรื่องปรกติที่เราจะขนเตาแก๊สถังปิคนิค ใส่ท้ายรถไปทำกับข้าวกินอยู่ข้างเต๊นท์นอนบนยอดดอย หรือ
    ริมชายหาด ที่เราสามารถขับเจ้าพาหนะคู่ใจเข้าไปถึง...แก๊สเป็นแหล่งพลังงานความร้อนที่พกพาสะดวก
    ใช้งานง่าย ราคาถูก และมีมลภาวะต่ำกว่าพลังงานประเภทอื่น แต่ถ้าเราพูดถึงเตาสนามที่ต้องมีขนาด
    กระทัดรัดขนใส่เป้แบกเดินนั้น เตาแก๊สสนาม(ในเมืองไทยเมื่อก่อนนี้)ยังมีข้อจำกัดในเรื่องราคาแก๊สกระป๋อง
    อันแสนจะแพง ผมยังจำได้ว่าราคาแก๊สบิวเทนรุ่นกระป๋องสเปรย์ตอนออกมาขายใหม่ๆนั้นราคากระป๋อง
    ละเกือบร้อยบาท และหากเป็นรุ่นกระป๋องโดมที่ใช้สำหรับเตาสนามอย่างดีนั้น ราคากระป๋องละไม่ต่ำกว่า
    สามร้อยบาท หากเทียบกับน้ำมันเบนซินลิตรละ 10 บาทเศษแล้ว ผมยอมรับว่าทำใจซื้อมาใช้ไม่ลงเลยครับ
    แต่เมื่อเตาแก๊สสนามเดี๋ยวนี้มีอะแดปเตอร์ต่อใช้แก๊สรุ่นกระป๋องสเปรย์ได้ และราคาแก๊สเหลือ 3 กระป๋องร้อย
    การลงทุนหาเตาแก๊สสนามมาเป็นเตาคู่ครัวในป่าก็เป็นทางเลือกที่น่าสนใจมากเลยทีเดียวครับ

    แก๊สกระป๋อง
    แก๊สกระป๋องที่ใช้กับเตา/ตะเกียงสนาม 2 ประเภทคือ แก๊สบิวเทน (Butane)และ โปรเพน (Propane) ซึ่ง
    แก๊สทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกเรียกรวมๆกันว่าก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือ LPG (Liquid Petroleum Gas) ที่บรรจุถัง
    แก๊สหรือถังเตาปิคนิคให้เราใช้ตามบ้านนั่นเองครับโดยที่มาของก๊าซปริโตเลียมเหลวนั้นได้มาจาก 2 วิธีคือ
    จากขบวนการกลั่นน้ำมัน และจากกระบวนแยกก๊าชธรรมชาติ

    คุณสมบัติโดยทั่วไปของแก๊สทั้ง 2 คล้ายกันมากครับ แต่ข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างเจ้าแก๊สบิวเทน กับ
    โพรเพนคือจุดเดือดของบิวเทนอยู่ที่ 0 องศาเซลเชียส ในขณะที่โพรเพนอยู่ที่ลบ 42 องศา ดังนั้นถ้านักเดิน
    ทางท่านใดกะจะไปแค้มปิ้งบนยอดเขาหิมาลัย หรือขั้วโลกด้วยแก๊สบิวเทนกระป๋องแล้วละก้อ ท่านอาจจะ
    อดหม่ำข้าวได้เพราะจุดไฟม่ายติด.. โพรเพนมีความถ่วงจำเพาะ 0.51 ซึ่งต่ำกว่าบิวเทนที่มีค่า 0.69 ถ้า
    พูดง่ายๆคือแก๊สที่อยู่ในสภาพของเหลว 1 ลิตรนั้นหนักแค่ 5-7ขีด (ในขณะที่น้ำ 1 ลิตรหนัก 1 กิโลกรัม)
    สัดส่วนผสมกับอากาศที่ทำให้ติดไฟของแก๊สทั้ง 2 ชนิดก็มีค่าพอกันโดยอยู่ที่ 2-9% คือถ้าแก๊สน้อยกว่า
    2% ก็จุดไม่ติด หรือถ้ามากกว่า 9% แก๊สมากไปก็จุดไม่ติดเหมือนกัน และเนื่องจากสัดส่วนผสมที่เท่าๆ
    กันนี่เองทำให้เตาแก๊สสนามสามารถใช้ได้กับทั้งแก๊สโพรเพน หรือ บิวเทนครับ

    ดังที่กล่าวมาแล้วครับว่าแก๊สกระป๋องโพรเพน นั้นแจ๋วตรงที่ใช้กับที่อากาศเย็นต่ำกว่าศูนย์องศาได้ ส่วน
    แก๊สบิวเทนนั้นมีจุดเด่นที่สำคัญคือถูกดีครับ อย่างเช่นแก๊สบิวเทนรุ่นกระป๋องสเปรย์ ราคาตามห้างแม็คโคร
    /โลตัสก็แค่ 3 กระป๋องร้อย แต่ถ้าอากาศเย็นถึงจุดเยือกแข็งเมื่อไร ก็เรียบร้อย ดังนั้นพวกผู้ผลิตอุปกรณ์เตา
    แก๊สสนามมือโปรฯเช่น Campingaz หรือ Primus จึงผลิตแก๊สกระป๋องยี่ห้อตัวเองออกจำหน่าย ซึ่งโดยส่วน
    ใหญ่ข้างในกระป๋องจะถูกบรรจุแก๊สไอโซโพรเพน ที่เป็นแก๊สผสมระหว่างแก๊ส บิวเทน 80% และ โพรเพน
    20% เจ้าไอโซโพรเพนนี้ แก้ปัญหาเรื่องหัวเทียนบอด..เอ๊ย..แก๊สไม่ยอมเป็นไอที่อากาศหนาวได้ แถมยัง
    คุยว่าให้พลังงานความร้อนที่สูงกว่าแก๊สบิวเทนหรือโพรเพนเสียอีก ผมเองก็ยังไม่เคยมีวาสนาลองใช้เจ้า
    เตา+แก๊สกระป๋องสนามยี่ห้อโปรฯเหล่านั้นเสียด้วยซิครับเลยไม่กล้ายืนยัน หากท่านผู้อ่านมีแล้วอยากจะ
    ให้ผมยืมมาทดสอบดูก็จะยินดีครับ

    เตาแก๊สสนามของผม
    หลังจากที่ตาสว่างประจักษ์ถึงความสะดวกสบายในการใช้เตาแก๊สกระป๋องแล้ว ผมก็ไม่ยอมน้อยหน้า
    ตาเกิ้นหาเตาแก๊สสนามมาพกติดตัวไว้ชงกาแฟ หุงข้าว ต้มถั่วเขียวกินยามเป็นหนูน้อยตุหลัดตุเหล่ไว้ถึง
    2 เตาอันได้แก่ เตาTurbora และเตาจิ๋ว

    เตา Turbora
    เตา Turbora ตัวนี้ผมซื้อมาจากห้างแมคโคร ตอนลดราคากระหน่ำ ตัวละ 400 กว่าบาท เป็นเตาแก๊ส
    ขนาดกระทัดรัดที่ออกแบบได้ลงตัว มีกระเป๋าพลาสติกใส่ทำให้หิ้วไปมาง่าย การติดแก๊สกระป๋องก็สะดวก
    แถมรวมระบบ Magneto เข้ากับปุ่มเปิด-ปิดแก๊ส พอบิดปุ่มปุ๊บไฟก็ติดปั๊บ เรียกได้ว่าเป็นเตารุ่น Foolproof
    อย่างแท้จริงครับ ผมตัดสินใจซื้อเตาตัวนี้ด้วยเหตุผลง่ายๆคือถูกและดี แถมมีข้ออ้างว่าเอามาใช้ เป็นเตา
    สำรองที่บ้านเพื่อเตรียมรับ Y2K อีกตัวหนึ่งครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=263></TD><TD width=350 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=282>เตาแก๊สสนามระดับครัวเคลื่อนที่
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=13>[​IMG]</TD><TD width=681>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=681>คราวนี้ผมลองทำการทดสอบความร้อนแรงของเตา Turbora ดู โดยใช้สูตรเดิมเหมือนกับที่ทดสอบสนาม
    อื่นๆ พบว่าเตา Turbora สามรถต้มน้ำ 1 ลิตรเดือดในเวลา 4 นาที 30 วินาที ดังนั้นเตา Turbora เลยได้
    ตำแหน่งแชมป์เป็นเตาสนามร้อนแรงเบอร์หนึ่งไปครองอย่างขาวสะอาดครับ เพราะพลังงานความร้อนที่
    สะอาดจากแก๊ส ไร้เขม่าและเสียงฟู่ ทำให้ก้นหม้อข้าวไม่ดำ

    สำหรับเตาTurbora ตัวนี้ผมคงไม่มีบรรยายใดเพิ่มเติมครับ ผมยังไม่จัดเตาตัวนี้เป็นเตาสนามขนาดพก
    พาที่จะแบกไปไหนมาไหน เตาตัวนี้เหมาะกับทริปที่ขับรถไปถึงที่ผูกเปลนอน และไปกันหลายคน เป็นเตา
    สนามที่หุงข้าวง่ายสุด เพราะหรี่ไฟตอนดงข้าวได้ ข้าวไม่ไหม้ก้นหม้อเนื่องจาก Hot spot เรียกว่าเสมือน
    ขนเตา Magic chef ไปเที่ยวเลยทีเดียว

    "เตาจิ๋ว" Kovea
    ผมได้เห็นฤทธิ์เดชของเจ้าเตาจิ๋วเป็นครั้งแรกเมื่อต้นปีก่อน ตอนที่แบกของเดินลงไปนอนเล่นที่ต้นน้ำ
    เพชรบุรี ในทริปนั้นผมไม่ได้พกเอาเตาสนามไปเพราะรู้ว่าตาเกิ้นได้พกเตาแก๊สสนามไปด้วย แต่เมื่อถึง
    ที่พักริมน้ำ ผมก็แปลกใจเมื่อเห็นพี่เดชเพื่อนร่วมเดินทางอีกท่านควักเอากล่องพลาสติกใบจิ๋วออกมา
    เมื่อเปิดฝาออก ก็ปรากฎหัวเตาขนาดจิ๋วยี่ห้อ Kovea สัญชาติเกาหลีที่มีพร้อมทั้ง Magneto จุดเตา, ขา
    รองหม้อและปุ่มวาล์วเปิด-ปิดแก๊สซึ่งกางออกมาได้ เมื่อถือเตาขึ้นมาพบว่าเบามากเพราะน้ำหนักตาม
    สเป็คไม่เกิน 200 กรัม!! ซึ่งถือว่าเป็นเตาสนามที่มีน้ำหนักเบาสุดเลยครับ เตาอื่นที่เบากว่าคงเห็นจะแค่
    เตาแก๊สสนามที่ทำจากไททาเนียมเท่านั้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=617 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=293 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=74 height=8>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=300></TD><TD width=219>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=324 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=6 height=227>[​IMG]</TD><TD width=318>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=318>เตาจิ๋ว Kovea พร้อมกล่องใส่ ขนาดจิ๋ว
    สมชื่อเมื่อเทียบกับแก๊สกระป๋อง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=19>[​IMG]</TD><TD width=678>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=678>อย่างไรก็ตามเจ้าเตาจิ๋วได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับแก๊สกระป๋องรุ่นโดม ดังนั้นถ้าต้องการใช้แก๊สรุ่นกระป๋อง
    สเปรย์จะต้องมีขาตั้งเตาพร้อมอะแดปเตอร์ มาต่อดังรูปครับ การประกอบร่างเตาจิ๋วนั้นก็ทำได้ง่ายมาก
    ใช้เวลาไม่เกิน 30 วินาทีเท่านั้น เตาจิ๋วก็จุดติดพร้อมหุงข้าวหรือต้มถั่วเขียวกิน

    ขั้นตอนต่อมาคือการทดสอบเตาจิ๋วด้วยการต้มน้ำ 1 ลิตรในการ้องได้ พบว่าด้วยเวลาเพียง 4 นาที 40 วินาที
    น้ำในกาก็เดือดจนการ้องออกมา เมื่อดูจากประสิทธิภาพการพ่นไฟแล้วก็ไม่ได้ด้อยกว่าเตา Turbora
    แต่ประการใดครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=689 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=9>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=75>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=143>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD><TD width=107>[​IMG]</TD><TD width=27>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=32>[​IMG]</TD><TD width=44>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=157>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5 height=263></TD><TD width=350 colSpan=10>[​IMG]</TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8></TD><TD class=TextObject width=325 colSpan=8>เตาจิ๋วเมื่อประกอบร่างเรียบร้อยพร้อมใช้งาน
    </TD><TD colSpan=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=672 colSpan=20>ข้อเสียของเตาจิ๋วก็คือหัวเตาที่มีขนาดเล็กทำให้เกิด Hotspot ขึ้นที่ตรงกลางเตา ผมเคยหุงข้าวแล้วข้าว
    ไหม้เฉพาะจุดตรงกลางหม้อมาแล้วเนื่องจากครั้งนั้นอารามหิวข้าวจัด ก็เลยเอาหม้อข้าวขึ้นตั้งและเปิดไฟ
    เตาจิ๋วเต็มที่ พอน้ำเริ่มเดือดเอาทัพพีลงคนข้าวก็พบว่าเม็ดข้าวติดก้นหม้อตรงกลางเสียแล้ว ผมก็เลยใช้
    เป็นข้ออ้างทุกครั้งที่หุงข้าวไหม้ว่า "เตาไม่ดี" หรือพอหุงข้าวไม่สุกก็อ้างว่า "กลัวไฟมันแรง เลยตั้งไฟอ่อน
    ทำให้ข้าวไม่สุก" นับว่าเป็นความโชคร้ายของเตาจิ๋วที่โดนปรับปรำแท้ๆ อย่างไรก็ตามเคยได้ยินว่าเตาจิ๋ว
    รุ่นหลังๆได้มีแผ่นเซรามิกวางอยู่เหนือหัวเตาแก๊สเพื่อแก้ปัญหา Hotspot ครับ ถ้าอีกหน่อยหนูเลเปลี่ยน
    ไปใช้เตารุ่นนั้นก็คงจะโทษปี่โทษเตาไม่ได้แล้วหล่ะ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9 height=287></TD><TD width=300 colSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10></TD><TD class=TextObject width=293 colSpan=4>แชมป์เตาแก๊สที่เบาที่สุดในโลก PocketRocket
    จาก MSR แดนมะกัน

    </TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=19></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=670 colSpan=18>ข้อดีของเตาแก๊สกระป๋อง
    ข้อดี
    * ไม่ต้องห่วงว่าน้ำมันจะหก (เพราะไม่มีน้ำมันจะหก..ฮา) ไม่เลอะเทอะเปรอะเปื้อน
    * ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา แชมป์เตาแก๊สสนามน้ำหนักเบาสุดมีน้ำหนัก 86 กรัมซึ่งได้แก่ หัวเตา PocketRocket
    ของ MSR (ไม่แน่ใจว่าเสียแชมป์ไปหรือยังครับ) หัวเตาทำด้วยไททาเนียม ในขณะที่เตาน้ำมันสนามขนาดพกพา
    จะมีน้ำหนัก 550 กรัม (เตา Svea123)
    * จุดไฟง่าย หรี่ไฟก็ได้...ไม่ใช่ว่าเตาน้ำมันสนามจะหรี่ไฟไม่ได้นะครับ แต่ถ้าต้องการจะหรี่ไฟมากๆประเภทต้อง
    การไปตุ๋นไก่ทำซุปบนยอดดอยแล้วละก้อ เตาแก๊สกระป๋องกินขาด
    * ปลอดภัยกว่า (ข้อนี้ก็ไม่แน่ใจเหมือนกันครับ ผมว่าเราคงไม่ลืมโศกนาฎกรรม อานุภาพการทำลายล้างของ
    รถแก๊สที่แยกเพชรบุรีนะครับ)
    * ราคาอุปกรณ์ถูกกว่า ราคาหัวเตาแก๊สสนามของจีนแดงอยู่ราวๆ 3-400 บาทครับ แต่ถ้าต้องการเตาน้ำมัน
    สนาม คงต้องมีมากกว่าแบงค์หนึ่งพัน
    ข้อเสีย
    * ไม่รู้ว่าแก๊สในกระป๋องเหลือเท่าไร จะหมดหรือเปล่าก็ไม่แน่ใจ เอาไว้หนูเลจะลองวัดดูครับว่าแก๊สกระป๋อง
    นึงใช้ได้นานเท่าไร
    * หมดแล้วหมดเลย หาเติมไม่ได้ เบนซินยังหาเติมได้ตามปั้มหลอด แต่แก๊สกระป๋องต้องห้างสรรพสินค้า
    สถานเดียวครับ
    * ระเบิดได้ถ้าไปทำตกหรือกระแทกแรงๆ น้องๆระเบิดน้อยหน่าเลยละครับ
    * ที่สำคัญที่สุดคือปัญหาขยะมีพิษครับ กระป๋องแก๊สที่ใช้หมดแล้ว(แต่ภายในยังหลงเหลือแก๊สอยู่บ้าง)
    ยากในการกำจัด/แปรรูป
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9 height=193></TD><TD width=273 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9></TD><TD class=TextObject width=318 colSpan=8> Primus ชุดนี้ของดีแน่นอน แต่ราคาก็สูงดีด้วย
    ของทั้งถูกทั้งดี ไม่มีในโลก

    </TD><TD colSpan=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4></TD><TD class=TextObject width=676 colSpan=19>หากท่านผู้อ่านสนใจจะหาเตาสนามไว้ใช้งาน หลังจากทนติดตามอ่านเตาแคมปิ้งมาทั้ง 3 ภาคแล้วก็คง
    จะเห็นข้อเด่น-ข้อด้อยของเตาแต่ละประเภทนะครับ ส่วนท่านผู้อ่านที่สนใจว่าจะซื้อเตาแบบไหน และ
    ยี่ห้อ/สัญชาติใดนั้น ผมว่า "You get what you pay for.." น่าจะเป็นวลีที่พอใช้ได้ในโลกของอุปกรณ์แคมปิ้ง
    ครับ

    ทุกวันนี้ผมหนีบเจ้าเตาจิ๋ว และตะเกียงแก๊สสัญชาติเกาหลีเป็นเตา/ตะเกียง คู่ใจร่วมเดินทางไปนอนผูก
    เปลแช่ห้วย ที่ซื้อใช้ก็เพราะมันก็"สมราคา"ดีครับ...แปลง่ายๆก็คือถูกดี ใช้งานมาก็ไม่เคยมีปัญหาแต่
    ประการใด แต่ความทนทานนั้นก็ไม่แน่ใจเพราะเพียงแค่ขวบปีฝาบนของตะเกียงที่เคลือบโครเมียม ก็เริ่ม
    กระดำกระด่างขึ้นมา ขาเตาจิ๋วพอเผลอทิ้งตากน้ำค้างไปคืนเดียวกลับมาพวกสนิมก็แอบมาตีสนิทด้วย
    ต้องรีบทำการขัดและพ่นสเปรย์สีใสป้องกันเป็นการใหญ่ สำหรับท่านที่ใช้เตาสนามน้ำมันเบนซินรุ่นลอก
    เลียนเตา Coleman (หน้าตาเหมือนเตาลูนาร์ฯของผม) พี่เจ้าของร้านขายอุปกรณ์แคมปิ้งฝากเตือนว่า
    เมื่อใช้เสร็จแล้วให้รีบถ่ายน้ำมันออกโดยเร็ว ไม่เช่นนั้นน้ำมันเบนซินจะกัดถังเตาทะลุเอาได้ ก็ซึ่งเหตุ
    การณ์พวกนี้ไม่เคยเกิดกับเตา/ตะเกียงสนาม Coleman ของผมเลย...ดังนั้นถ้าท่านผู้อ่านไม่ติดขัดเรื่อง
    ทุนทรัพย์แล้วละก้อ ผมขอแนะนำให้ลงทุนกับเตาสนามคุณภาพดีๆครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=186></TD><TD width=372 colSpan=12>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=364 colSpan=11>เตาสนาม Himalaya OminFuel Stove จาก Primus ที่เป็นจอม
    สารพัดเขมือบทั้ง แก๊ส และ น้ำมัน

    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=674 colSpan=21>เลือกแบบไหนดี
    สุดท้ายนี้สำหรับท่านอ่านที่ยังฟันธงเลือกไม่ถูกว่าจะเลือกซื้อเตาประเภทใดแล้ว โปรฯหนูเล(แอบอ้างเป็น
    โปรฯเสียเลย..อิ อิ) ขอให้ความเห็นว่า ถ้าเทียบกันด้านความคลาสสิกแล้ว เตาน้ำมันสนามดูมีมนต์ขลัง
    กว่าเตาแก๊สกระป๋องอยู่เยอะมาก...แบบว่าถ้าจะต้องการดื่มด่ำกับบรรยากาศการต้มน้ำแล้วละก้อเตา
    น้ำมันก๊าดกินขาดครับ... แต่ถ้าเปรียบเทียบความสะดวกแล้ว เตาแก๊สกระป๋องชนะมาตั้งแต่ในมุ้ง ส่วน
    ถ้าจะเลือกเตาที่ออกทริปยาวๆแล้ว เตาน้ำมันสนามจะดีกว่าครับ เพราะไปหาน้ำมันเอาดาบหน้าได้ แต่
    ถ้าท่านผู้อ่านที่ยังรักพี่เสียดายน้องแล้วละก้อ..นี่เลย..ขอแนะนำเตารุ่นแยกถัง Himalaya Omni-Fuel ของ
    Primus เขมือบน้ำมันทุกชนิดตั้งแต่น้ำมัน ก๊าด-ดีเซล-Jet-เบนซินขาว-เบนซินเติมรถยนต์ (ว่ากันว่าน้ำมัน
    พืชบางชนิดก็เอามาใช้ได้) หรือจะมาใช้กับแก๊สกระป๋องทั้งแบบกระป๋องสเปรย์ และแบบกระป๋องโดม และ
    แก๊สผสม Butane-Propane ก็ได้ด้วย รับรองเตาเดียว อยู่หมัด สำหรับสนนราคาค่าตัวก็แพงตามความ
    เก่งละครับ ส่วนว่ามันจะแจ๋วสมราคาหรือไม่หนูเลก็ยังไม่เคยลองนะ แต่ถ้าท่านใดซื้อมาแล้วขอให้หนูเล
    ขอยืมใช้เป็นบุญหม้อข้าว ซักทริปนึงก็จะเป็นพระคุณหลายครับ...
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11 height=188></TD><TD width=250 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=12></TD><TD class=TextObject width=228 colSpan=7>หนูเล, พค. 45
    </TD><TD colSpan=4></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=700 height=25><TABLE id=NavigationBar10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="NB_UYHPNN026"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=698 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=106>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD><TD width=24 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=22></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=132 colSpan=3 rowSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=24></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=106>คุยกันรอบกองไฟ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=29></TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=75>เซ็นสมุดเยี่ยม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=348 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=60 height=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=273>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=286 colSpan=2>สมัครสมาชิก Thailand Outdoor ฟรี
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    เห็นข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์เดินป่า

    ทำให้นึกถึงอดีต ที่เคยเดินบ่อยๆ เลยครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF0960.jpg
      DSCF0960.jpg
      ขนาดไฟล์:
      37.1 KB
      เปิดดู:
      1,801
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เอาเป็นตัวเเรก ที่อยากเล่าให้ฟัง

    เอาเป็นในกระเป๋ากางเกงเราก่อน ไปไหนไปด้วยไม่ลืมอยู่แล้ว

    ศัพท์ ของชาวเทรคกิ้ง เรียกว่า EDU. every day use

    -เอาตัวแรก กุญแจบ้าน ในพวงก็ติด ไฟแอลอีดี เล็กๆ ที่ โมดิฟายเปลี่ยน หลอดไฟ เป็น หลอดแอลอีดีไฮไบรท์ และเบิ้ลถ่านจาก 3 โวลท์เป็น 6 โวลท์ ให้สว่างกว่าธรรมดาเป็นสองเท่าน่ะครับ เน้นเอาไว้ใช้ฉุกเฉินตามที่จำเป็น

    -ไฟฉายจริง ใช้ของเด็กซ์ไลท์ เปิด ระดับแสงสว่างได้ 10 สเตป ต้องการเห็นอะไรชัดก็เปิดสว่างสุดแต่ถ่านก็หมดเร็ว หากต้องการใช้นาน ก็เปิดหรี่เพื่อให้อยู่ได้หลายคืนหน่อย ต้องการขอความช่วยเหลือก็เปิดแบบกระพริบ เวลาขี่จักรยานกลางคืนก็เหน็บได้น้ำหนักเบา

    ขนาด ถ่าน เอเอ หาได้ทั่วไป แต่ส่วนตัวใส่ถ่านชาร์จเอลเวลลูป ซึ่งมีการคายประจุต่ำและช้ากว่า ปกติ

    นั่นหมายถึงหยิบมาใช้เมื่อไหร่ใช้ได้เมื่อนั้น หากถ่านหมดก็หาได้ทั่วไป

    เคยใช้ถ่าน3.6 โวลท์ 1450 ลิเที่ยมไอออน แบบมีวงจรตัด ปรากฏว่า เปิดแป้ปเดียว มันดับต้องเปิดใหม่เรื่อยๆ แต่สว่างกว่ามากมาย

    ดังนั้น ควรเลือกใช้ถ่านและอุปกรณ์ที่พร้อมใช้งานและเชื่อถือได้ครับ

    สำหรับความถึก มีการเทสเอามีดกรีดผิวเพื่อโชว์การกันรอยขูดข่วน จากการใช้งาน ตรงดูได้จาก สเปคเรื่อง HA 3 hard anodized Class 3

    เอาไฟเป่า เอารถทับดู เปิดในน้ำ (ใช้ดำน้ำไม่ได้ ) แต่พอกันน้ำ กันพายุฝนแป้ปๆ ได้ จากการใส่ โอริงซ้อน สองชั้นหน้าหลัง

    <table id="_ctl0_content_listGallery" cepostllpadding="3" style="width: 100%; border-collapse: collapse;" border="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td> [​IMG] </td> </tr><tr> <td> [​IMG] </td><td>
    </td></tr></tbody></table>

    -อีกตัวก็ มีด Spiderco delica ใบหยัก หาเป็นของใช้แล้วจากในเวบเทรคกิ้งไทยครับ

    การใช้งานส่วนใหญ่ ก็ตัดถุงขนมบ้าง และที่ได้รับใช้ในหลายภาระกิจก็คือ เอาไว้สอนวิชาคงกะพัน เอาไว้แทงดูว่าเข้าไหมจะได้ไม่คาใจ ว่ามีดถูกเลยแทงไม่เข้าหรือเปล่า
    [​IMG]


    อีกตัวก็ เนทีฟตามรูป ซึ่งตอนเปิดลองแทง คนเรียนเสียวกว่าเยอะ ใบมีดเป็นการนำผงโลหะมา ทำเป็นใบมีด มีค่าความแข็งและการรักษาคมนานมาก

    [​IMG]


    การเลือกมีดก็อยู่ที่ เนื้อโลหะ ความคม รูปทรงมีด น้ำหนัก การบาลานซ์เพื่อให้เราใช้มือบังคับมีดได้ดังใจ



    จบการปลิ้นกระเป๋าภาคหนึ่งก่อนครับ
     
  13. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ดูท่าจะมีเพื่อนๆจากเทรคกิ้งไทยมาแจมมากขึ้นแน่นอนเลย

    มาสมัครสมาชิกกันครับ จะได้โพสต์ได้

    หรือจากเวบนี้ก็ไปแจมหรือค้นคว้าหาข้อมูล หาของใช้ราคาคุ้มค่าได้ครับ

    เพื่อนที่เวบนี้ก็นิสัยดี น่ารักหลายท่านครับ

    คุณคิทแคมป์ คุณก้อง พี่วุฒิ ชัวร์ไฟร์ พี่วิเชียร ซึ่งขยันหาของดีบิดจากอีเบย์มาให้เราใช้ถูกๆ มีของแถมเป็นระยะ

    -=-
     
  14. Saisawan

    Saisawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +296
    พาลูกเข้าป่า

    เด็กสมัยนี้ย่อมแตกต่างไปจากเด็กยุคผม พวกเขาเกิดมาในยุคไฮเทคที่เต็มไปด้วยเครื่องทุ่นแรงและของเล่น พวก
    เขามีทางเลือกของสื่อมากกว่า เพื่อนหลายคนมาบ่นให้ฟังว่าลูกชายถ้าไม่นั่งจุ่มปุ๊กอยู่หน้าทีวี ก็ เล่นเกมส์คอม
    พิวเตอร์อย่างเอาเป็นเอาตาย คงไม่ต้องเอ่ยถึงว่าพวกเขาเกิดขึ้นมาในยุดที่ป่าแทบจะหมดไปจากเมืองไทย
    ป่าในความคิดของพวกเขาอย่างเก่งก็คือ อุทยานที่มีที่กางเต๊นท์อยู่ข้างห้องน้ำและร้านอาหาร

    ผมไม่ได้บอกว่ายุคไหนดีกว่ากัน แต่ผมว่าคงจะยากกว่าสำหรับเด็กในยุคนี้ที่จะเข้าใจได้ว่าคนเรานั้นมีเปลือกและ
    มีแก่น และนับวันสายใยพ่อลูกดูเหมือนจะถูกกั้นกลางด้วยสายใยเคเบิ้ลทีวีมากขึ้นทุกที

    ถ้าจะสอนให้เขารู้จักชีวิตที่ไม่มีเปลือกเสียบ้างคงต้องรีบทำก่อนที่เขาจะหลงเข้าไปในดงของแสงสีจนกู่ไม่กลับ
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=30>[​IMG]</TD><TD vAlign=center width=525><HR id=HRRule3 width=525 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=656 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11>[​IMG]</TD><TD class=TextObject width=645>เรา มีกันสี่ครอบครัว พ่อกับลูกชาย เราตั้งต้นกันที่ ภูน้ำฟ้า แค้มป์กราวน์ริมเขื่อนศรีนครินทร์ เด็กชายทั้งห้าคน
    อยู่ในวัย 7-12 ช่วงอายุที่เหมาะอย่างยิ่งต่อการสอนให้เรียนรู้ ชีวิตในป่า พวกเขาล้วนเคยท่องเที่ยวตั้งแค้มป์นอน
    เต๊นท์มาก่อน แต่นี่จะเป็นครั้งแรกที่เขาจะได้สัมผัสกับ "ป่า"จริงๆ แม้ว่ามันจะเป็นเพียงป่าผืนเล็กๆ

    เพื่ออุ่นเครื่อง พ่อๆทั้งหลายตกลงกันที่จะสอนวิชาง่ายๆแต่จำเป็นกับชีวิตในป่าให้พวกเขาก่อนที่จะออกเดินทาง
    สองวิชาที่เราเลือกมาสอนกัน ก็คือ เงื่อนต่างๆสำหรับผูกเชือก และการใช้แผนที่เข็มทิศ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=624 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=219 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=1>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=280></TD><TD width=210>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=405 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=5 height=1>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=110>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=210></TD><TD width=280>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=400 colSpan=3>ดูข้อมูลเรื่องเงื่อนเพิ่มเติมได้ที่ www.troop9.org/knots.html
    www.thaiwildlife.com/article/tips/ropeindex.shtml
    และ www.troop7.org/Knots/
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8>[​IMG]</TD><TD class=TextObject width=641>หลังจากอุ่นเครื่องให้สนุกสนานกันแล้ว การเดินทางจึงได้เริ่มต้น ทุกคนมีหน้าที่แบกสัมภาระไปกันเอง นั่นคือ
    บทเรียนบทใหม่ของเด็กๆ พวกเขาเคยไปป่า แต่อย่างมากก็แบกของลงจากรถไม่เกิน 20เมตรก็ถึงที่กางเต๊นท์
    เมื่อเป็นเช่นนี้ทุกคนย่อมสับสนว่าควรจะต้องเอาอะไรไปบ้าง แต่ผมเชื่อว่าพอแบกของเดินหลายๆครั้งเข้า พวก
    เขาก็จะเรียนรู้ได้เองว่าของที่จำเป็นต่อชีวิตนั้นมีเพียงแค่ใส่บ่าแบกได้เท่านั้นเอง
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=5>[​IMG]</TD><TD width=105>[​IMG]</TD><TD width=167>[​IMG]</TD><TD width=19>[​IMG]</TD><TD width=114>[​IMG]</TD><TD width=96>[​IMG]</TD><TD width=140>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=225></TD><TD width=300 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=225></TD><TD width=300 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=6>ทางเดินรกๆ นั้นตัดพาเราไต่ขึ้นไปเรื่อยๆ ร่มเงาไม้ทำให้แดดไม่ส่องลงมาจนร้อนเกินไป แต่กระนั้นหลายคน (รวม
    ทั้งพ่อๆด้วย) ก็ถึงกับเหงื่อตก
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=33></TD><TD width=210 colSpan=2 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=280 colSpan=3 height=210>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=37></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=649 height=13>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649>ใบหน้าขาวๆของเด็กชายเต็มไปด้วยเหงื่อ
    "พ่อครับ ผมแบกเป้ไม่ไหวแล้วครับ"

    "เราพักกันก่อนก็แล้วกัน เดี๋ยวค่อยเดินต่อ"

    ผมรู้ว่าประโยคนั้นของเขามีความหมายว่าอยากให้พ่อช่วยแบกเป้ แต่นี่ก็เป็นบทเรียนหนึ่งจากป่าที่เขาต้องเรียนรู้
    ทุกคนย่อมมี "สัมภาระ"ที่ต้องแบก เขาจะต้องหัดที่จะอดทนรับผิดชอบ "สัมภาระ"นั้นด้วยตัวเองให้ตลอดทาง เพราะ
    ว่าพ่อแม่ใช่ว่าจะอยู่ช่วยแบก "สัมภาระ" ของเขาได้ชั่วชีวิต

    เราออกเดินกันต่อ ทางบางช่วงทั้งชันทั้งลื่น จนหลายคนล้มคะมำลื่นไถล เราต้องใช้ความระวังเพิ่มขึ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=656 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=2 height=7>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=60>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=20>[​IMG]</TD><TD width=40>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=72>[​IMG]</TD><TD width=120>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=69>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=280></TD><TD width=210 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=14>ใช้เวลาเกือบสองชั่วโมงกับหยาดเหงื่อและหยดน้ำตาอีกเล็กน้อย เราก็มาถึงจุดตั้งแค้มป์ริมน้ำตกนิรนาม และธารน้ำใส

    เด็กๆมีหน้าที่เก็บกวาดพื้นที่ กางเต๊นท์ เก็บฟืนมาเตรียมก่อไฟ ขณะที่พ่อๆหิ้วเห็ดโคนที่ซื้อติดมือมาไปล้างในห้วย
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=19></TD><TD width=210 colSpan=3 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=300 colSpan=9 height=225>[​IMG]</TD><TD></TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=36></TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=14>เมื่อแค้มป์เสร็จแล้ว ก็เป็นเวลาหฤหรรษ์กับการเล่นน้ำตก เด็กเข้าแก๊งค์กันได้ก็กลายเป็นฝูงลิงไป ส่วนพ่อๆก็ได้อาศัย
    สายน้ำเย็นฉ่ำขับไล่ความเหน็ดเหนื่อยให้หายไปเป็นปลิดทิ้ง
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=40></TD><TD width=210 colSpan=3 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=210></TD><TD></TD><TD width=280 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=30></TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=20></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=16>ค่ำนั้นสิ่งที่เด็กๆตื่นตาตื่นใจอีกอย่างก็คงจะเป็นการหุงข้าวด้วยหม้อสนามและกองไฟ เพราะหลายคนคงจะเคยเห็น
    แต่ข้าวในหม้อไฟฟ้า การหุงข้าวแบบนี้ต้องใช้ความชำนาญในการกะน้ำ กะไฟ กะเวลา อยู่มากทีเดียว มันไม่ได้มีสูตร
    ตายตัว ไม่ได้มีการชั่งตวงวัดที่จะยืนยันผลสำเร็จ ผมหวังว่าอย่างน้อยพวกเขาก็ได้เรียนรู้จากมันว่าการทำอะไรไม่จำ
    เป็นจะต้องมีสูตรสำเร็จทุกครั้งไป................. เช่นเดียวกับชีวิต
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5 height=210></TD><TD width=280 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=16>เพียงแค่เห็ดโคนต้มน้ำปลาในกระบอกไม้ไผ่ผนวกเข้ากับบรรยากาศของป่าดงรอบตัว เท่านี้ก็พอเพียงที่จะทำให้
    อาหารมื้อเย็นอร่อยจนเกินห้ามใจ เราแย่งกันซดจนเกลี้ยงแม้น้ำแกงหยดสุดท้าย

    แสงสว่างวอมแวมของกองไฟอยู่ที่ตรงกลาง วงสนทนารอบกองไฟเช่นนี้แหละที่ตำนานชีวิตของคนเราถูกส่งต่อกันมา
    หลายชั่วอายุคน จากปู่ถึงพ่อ จากพ่อถึงลูก และในคืนนี้นิทานรอบกองไฟก็ได้ทำหน้าที่ของมันอย่างซื่อสัตย์อีกครั้ง
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5 height=210></TD><TD width=280 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=16>"สนุกมั๊ย" ผมถามขณะที่เอื้อมมือไปโอบไหล่เด็กชายเข้ามากอด ผมรู้ว่าอีกไม่กี่ปีผมอาจไม่มีโอกาสกอดเขาบ่อยนัก
    โดยเฉพาะช่วงหลังนี้ เขาชักจะเริ่มกลายเป็นหนุ่มน้อย

    "สนุกครับ" รอยยิ้มของเขาบอกให้ผมรู้ว่าเขาสนุกจริงๆ มิใช่เพียงตอบเอาใจพ่อ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11></TD><TD class=TextObject width=242 colSpan=3>ตาเกิ้น
    19 พฤศจิกายน 2545
    จากบันทึกการเดินทาง 12-13 ต.ค. 2545
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=14>ข้อแนะนำในการลูกไปหัดเข้าป่า
    1) ก่อนที่จะพาลูกออกเดินป่า ควรพาลูกไปในที่ๆค่อนข้างสะดวกสบายก่อนในครั้งแรก ภูน้ำฟ้า (รายละเอียดข้าง
    ล่าง)หรือ อุทยานแห่งชาติที่มีกางเต๊นท์และห้องน้ำดีๆ อย่าง แก่งกระจาน (แค้มป์บ้านกร่าง), น้ำหนาว และปางสีดา
    หรือที่เขาแผงม้า (ติดต่อมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าที่ 02-521-3435) ก็เหมาะมากสำหรับครั้งแรก การเที่ยวแบบ
    สบายนี้จะเป็นการเตรียมตัวที่ดี ก่อนจะเดินป่าจริงๆ
    2) ควรรวมตัวกันหลายๆครอบครัว เพื่อให้เด็กมีเพื่อนรุ่นเดียวกันจะทำให้เขาสนุกกว่าไปกับเฉพาะพ่อแม่มาก
    3) สำหรับการเดินป่า นอนป่าครั้งแรกควรเลือกเส้นทางที่ไม่ไกลมากเกินไป แต่ก็ไกลพอที่จะให้รู้สึกว่าห่างไกลจาก
    อารยะธรรม (หรือ อนารยะธรรม?) สิ่งก่อสร้างทั้งหลาย ควรเลือกที่มีน้ำ มีลำธารให้อาบให้ใช้อย่างสะดวก คุณสามารถ
    เดินเข้าไปพักอย่างนี้ได้ในอุทยานแห่งชาติหลายๆแห่ง แต่ที่ภูน้ำฟ้านี่ก็เหมาะสมเป็นอย่างยิ่งเพราะสถานที่เป็นส่วนตัว
    และปลอดภัย
    4) ในระหว่างการออกแค้มป์ สำคัญมากว่าจะต้องหัดให้เขารับผิดชอบและช่วยเหลือตัวเอง คุณสอนเขาได้แต่ควร
    ที่จะห้ามใจไม่ให้เข้าไปทำอะไรให้ถ้าเห็นว่าเขาทำไม่ได้ เพราะนี่คือโอกาสแห่งการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=32></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=648 colSpan=15>แนะนำสถานที่
    "ภูน้ำฟ้า" อยู่ริมเขื่อนศรีนครินทร์ เป็นแค้มป์กราวนด์ ที่เงียบสงบเหมาะกับการพักผ่อนสบายๆ มีห้องน้ำอย่างดี
    แต่ไม่มีบ้านพักต้องนอนเต๊นท์ มีเต๊นท์ไว้ให้บริการ จะนอนในที่ลานกางเต๊นท์ที่จัดไว้หรือจะเข้าไปหาที่นอนแบบ
    ผจญภัยเล็กๆในป่าแบบที่เล่ามาก็ได้

    จัดอาหารให้ได้แต่ควรสั่งล่วงหน้า การเดินทาง ถ้าจะเอารถเข้าไปให้ถึงที่ ต้องใช้รถ 4x4 เท่านั้นเพราะช่วงสอง
    กิโลเมตรสุดท้ายเป็นทางป่าที่ค่อนข้างโหด ถ้าไม่ต้องการขับรถเข้าไปสามารถเอารถไปจอดที่เขื่อนศรีนครินท์แล้ว
    ให้เอาเรือไปรับได้

    กิจกรรมที่ทำได้ก็มีตั้งแต่ เดินป่า, พายเรือคายัค, เล่นน้ำ (มีสระน้ำสำหรับเด็ก), ขี่จักรยาน (ต้องเอาไปเอง) หรือ
    จะเอาธนูเอาปืนไปยิงเล่นก็ยังได้แต่ต้องดูแลเรื่องความปลอดภัยให้ดีนะครับ

    ถ้าสนใจจะไปพัก โทรถามรายละเอียด ได้ที่ คุณต๊อซ 01-815-6779 หรือคุณเบิ้ม 01-921-6491 ทั้งสองคนเป็น
    เพื่อนผมเองครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=33></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=700 height=25><TABLE id=NavigationBar10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="NB_UYHPNN026"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=698 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=106>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD><TD width=24 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=22></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=132 colSpan=3 rowSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=24></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=106>คุยกันรอบกองไฟ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=29></TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=75>เซ็นสมุดเยี่ยม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=348 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=60 height=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=273>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=286 colSpan=2>สมัครสมาชิก Thailand Outdoor ฟรี
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=15 colSpan=2><FORM action=http://www.yourmailinglistprovider.com/subscribe.php?tatrawee method=post><TABLE border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>กรุณาใส่ email และคลิ๊ก submit</TD></TR><TR><TD><INPUT maxLength=50 name=YMP[0]></TD><TD><INPUT type=submit value=Submit name=submit></TD></TR><TR><TD colSpan=2>Powered by YourMailinglistProvider.com </TD></TR></TBODY></TABLE></FORM>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. Saisawan

    Saisawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +296
    พาลูกเข้าป่า

    เด็กสมัยนี้ย่อมแตกต่างไปจากเด็กยุคผม พวกเขาเกิดมาในยุคไฮเทคที่เต็มไปด้วยเครื่องทุ่นแรงและของเล่น พวก
    เขามีทางเลือกของสื่อมากกว่า เพื่อนหลายคนมาบ่นให้ฟังว่าลูกชายถ้าไม่นั่งจุ่มปุ๊กอยู่หน้าทีวี ก็ เล่นเกมส์คอม
    พิวเตอร์อย่างเอาเป็นเอาตาย คงไม่ต้องเอ่ยถึงว่าพวกเขาเกิดขึ้นมาในยุดที่ป่าแทบจะหมดไปจากเมืองไทย
    ป่าในความคิดของพวกเขาอย่างเก่งก็คือ อุทยานที่มีที่กางเต๊นท์อยู่ข้างห้องน้ำและร้านอาหาร

    ผมไม่ได้บอกว่ายุคไหนดีกว่ากัน แต่ผมว่าคงจะยากกว่าสำหรับเด็กในยุคนี้ที่จะเข้าใจได้ว่าคนเรานั้นมีเปลือกและ
    มีแก่น และนับวันสายใยพ่อลูกดูเหมือนจะถูกกั้นกลางด้วยสายใยเคเบิ้ลทีวีมากขึ้นทุกที

    ถ้าจะสอนให้เขารู้จักชีวิตที่ไม่มีเปลือกเสียบ้างคงต้องรีบทำก่อนที่เขาจะหลงเข้าไปในดงของแสงสีจนกู่ไม่กลับ
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=30>[​IMG]</TD><TD vAlign=center width=525><HR id=HRRule3 width=525 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=656 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11>[​IMG]</TD><TD class=TextObject width=645>เรา มีกันสี่ครอบครัว พ่อกับลูกชาย เราตั้งต้นกันที่ ภูน้ำฟ้า แค้มป์กราวน์ริมเขื่อนศรีนครินทร์ เด็กชายทั้งห้าคน
    อยู่ในวัย 7-12 ช่วงอายุที่เหมาะอย่างยิ่งต่อการสอนให้เรียนรู้ ชีวิตในป่า พวกเขาล้วนเคยท่องเที่ยวตั้งแค้มป์นอน
    เต๊นท์มาก่อน แต่นี่จะเป็นครั้งแรกที่เขาจะได้สัมผัสกับ "ป่า"จริงๆ แม้ว่ามันจะเป็นเพียงป่าผืนเล็กๆ

    เพื่ออุ่นเครื่อง พ่อๆทั้งหลายตกลงกันที่จะสอนวิชาง่ายๆแต่จำเป็นกับชีวิตในป่าให้พวกเขาก่อนที่จะออกเดินทาง
    สองวิชาที่เราเลือกมาสอนกัน ก็คือ เงื่อนต่างๆสำหรับผูกเชือก และการใช้แผนที่เข็มทิศ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=624 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=219 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=1>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=280></TD><TD width=210>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=405 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=5 height=1>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=110>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=210></TD><TD width=280>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=400 colSpan=3>ดูข้อมูลเรื่องเงื่อนเพิ่มเติมได้ที่ www.troop9.org/knots.html
    www.thaiwildlife.com/article/tips/ropeindex.shtml
    และ www.troop7.org/Knots/
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8>[​IMG]</TD><TD class=TextObject width=641>หลังจากอุ่นเครื่องให้สนุกสนานกันแล้ว การเดินทางจึงได้เริ่มต้น ทุกคนมีหน้าที่แบกสัมภาระไปกันเอง นั่นคือ
    บทเรียนบทใหม่ของเด็กๆ พวกเขาเคยไปป่า แต่อย่างมากก็แบกของลงจากรถไม่เกิน 20เมตรก็ถึงที่กางเต๊นท์
    เมื่อเป็นเช่นนี้ทุกคนย่อมสับสนว่าควรจะต้องเอาอะไรไปบ้าง แต่ผมเชื่อว่าพอแบกของเดินหลายๆครั้งเข้า พวก
    เขาก็จะเรียนรู้ได้เองว่าของที่จำเป็นต่อชีวิตนั้นมีเพียงแค่ใส่บ่าแบกได้เท่านั้นเอง
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=5>[​IMG]</TD><TD width=105>[​IMG]</TD><TD width=167>[​IMG]</TD><TD width=19>[​IMG]</TD><TD width=114>[​IMG]</TD><TD width=96>[​IMG]</TD><TD width=140>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=225></TD><TD width=300 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=225></TD><TD width=300 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=6>ทางเดินรกๆ นั้นตัดพาเราไต่ขึ้นไปเรื่อยๆ ร่มเงาไม้ทำให้แดดไม่ส่องลงมาจนร้อนเกินไป แต่กระนั้นหลายคน (รวม
    ทั้งพ่อๆด้วย) ก็ถึงกับเหงื่อตก
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=33></TD><TD width=210 colSpan=2 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=280 colSpan=3 height=210>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=37></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=649 height=13>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649>ใบหน้าขาวๆของเด็กชายเต็มไปด้วยเหงื่อ
    "พ่อครับ ผมแบกเป้ไม่ไหวแล้วครับ"

    "เราพักกันก่อนก็แล้วกัน เดี๋ยวค่อยเดินต่อ"

    ผมรู้ว่าประโยคนั้นของเขามีความหมายว่าอยากให้พ่อช่วยแบกเป้ แต่นี่ก็เป็นบทเรียนหนึ่งจากป่าที่เขาต้องเรียนรู้
    ทุกคนย่อมมี "สัมภาระ"ที่ต้องแบก เขาจะต้องหัดที่จะอดทนรับผิดชอบ "สัมภาระ"นั้นด้วยตัวเองให้ตลอดทาง เพราะ
    ว่าพ่อแม่ใช่ว่าจะอยู่ช่วยแบก "สัมภาระ" ของเขาได้ชั่วชีวิต

    เราออกเดินกันต่อ ทางบางช่วงทั้งชันทั้งลื่น จนหลายคนล้มคะมำลื่นไถล เราต้องใช้ความระวังเพิ่มขึ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=656 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=2 height=7>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=60>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=20>[​IMG]</TD><TD width=40>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=72>[​IMG]</TD><TD width=120>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=69>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=280></TD><TD width=210 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=14>ใช้เวลาเกือบสองชั่วโมงกับหยาดเหงื่อและหยดน้ำตาอีกเล็กน้อย เราก็มาถึงจุดตั้งแค้มป์ริมน้ำตกนิรนาม และธารน้ำใส

    เด็กๆมีหน้าที่เก็บกวาดพื้นที่ กางเต๊นท์ เก็บฟืนมาเตรียมก่อไฟ ขณะที่พ่อๆหิ้วเห็ดโคนที่ซื้อติดมือมาไปล้างในห้วย
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=19></TD><TD width=210 colSpan=3 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=300 colSpan=9 height=225>[​IMG]</TD><TD></TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=36></TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=14>เมื่อแค้มป์เสร็จแล้ว ก็เป็นเวลาหฤหรรษ์กับการเล่นน้ำตก เด็กเข้าแก๊งค์กันได้ก็กลายเป็นฝูงลิงไป ส่วนพ่อๆก็ได้อาศัย
    สายน้ำเย็นฉ่ำขับไล่ความเหน็ดเหนื่อยให้หายไปเป็นปลิดทิ้ง
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=40></TD><TD width=210 colSpan=3 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=210></TD><TD></TD><TD width=280 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=30></TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=20></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=16>ค่ำนั้นสิ่งที่เด็กๆตื่นตาตื่นใจอีกอย่างก็คงจะเป็นการหุงข้าวด้วยหม้อสนามและกองไฟ เพราะหลายคนคงจะเคยเห็น
    แต่ข้าวในหม้อไฟฟ้า การหุงข้าวแบบนี้ต้องใช้ความชำนาญในการกะน้ำ กะไฟ กะเวลา อยู่มากทีเดียว มันไม่ได้มีสูตร
    ตายตัว ไม่ได้มีการชั่งตวงวัดที่จะยืนยันผลสำเร็จ ผมหวังว่าอย่างน้อยพวกเขาก็ได้เรียนรู้จากมันว่าการทำอะไรไม่จำ
    เป็นจะต้องมีสูตรสำเร็จทุกครั้งไป................. เช่นเดียวกับชีวิต
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5 height=210></TD><TD width=280 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=16>เพียงแค่เห็ดโคนต้มน้ำปลาในกระบอกไม้ไผ่ผนวกเข้ากับบรรยากาศของป่าดงรอบตัว เท่านี้ก็พอเพียงที่จะทำให้
    อาหารมื้อเย็นอร่อยจนเกินห้ามใจ เราแย่งกันซดจนเกลี้ยงแม้น้ำแกงหยดสุดท้าย

    แสงสว่างวอมแวมของกองไฟอยู่ที่ตรงกลาง วงสนทนารอบกองไฟเช่นนี้แหละที่ตำนานชีวิตของคนเราถูกส่งต่อกันมา
    หลายชั่วอายุคน จากปู่ถึงพ่อ จากพ่อถึงลูก และในคืนนี้นิทานรอบกองไฟก็ได้ทำหน้าที่ของมันอย่างซื่อสัตย์อีกครั้ง
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5 height=210></TD><TD width=280 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=16>"สนุกมั๊ย" ผมถามขณะที่เอื้อมมือไปโอบไหล่เด็กชายเข้ามากอด ผมรู้ว่าอีกไม่กี่ปีผมอาจไม่มีโอกาสกอดเขาบ่อยนัก
    โดยเฉพาะช่วงหลังนี้ เขาชักจะเริ่มกลายเป็นหนุ่มน้อย

    "สนุกครับ" รอยยิ้มของเขาบอกให้ผมรู้ว่าเขาสนุกจริงๆ มิใช่เพียงตอบเอาใจพ่อ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=11></TD><TD class=TextObject width=242 colSpan=3>ตาเกิ้น
    19 พฤศจิกายน 2545
    จากบันทึกการเดินทาง 12-13 ต.ค. 2545
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=641 colSpan=14>ข้อแนะนำในการลูกไปหัดเข้าป่า
    1) ก่อนที่จะพาลูกออกเดินป่า ควรพาลูกไปในที่ๆค่อนข้างสะดวกสบายก่อนในครั้งแรก ภูน้ำฟ้า (รายละเอียดข้าง
    ล่าง)หรือ อุทยานแห่งชาติที่มีกางเต๊นท์และห้องน้ำดีๆ อย่าง แก่งกระจาน (แค้มป์บ้านกร่าง), น้ำหนาว และปางสีดา
    หรือที่เขาแผงม้า (ติดต่อมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าที่ 02-521-3435) ก็เหมาะมากสำหรับครั้งแรก การเที่ยวแบบ
    สบายนี้จะเป็นการเตรียมตัวที่ดี ก่อนจะเดินป่าจริงๆ
    2) ควรรวมตัวกันหลายๆครอบครัว เพื่อให้เด็กมีเพื่อนรุ่นเดียวกันจะทำให้เขาสนุกกว่าไปกับเฉพาะพ่อแม่มาก
    3) สำหรับการเดินป่า นอนป่าครั้งแรกควรเลือกเส้นทางที่ไม่ไกลมากเกินไป แต่ก็ไกลพอที่จะให้รู้สึกว่าห่างไกลจาก
    อารยะธรรม (หรือ อนารยะธรรม?) สิ่งก่อสร้างทั้งหลาย ควรเลือกที่มีน้ำ มีลำธารให้อาบให้ใช้อย่างสะดวก คุณสามารถ
    เดินเข้าไปพักอย่างนี้ได้ในอุทยานแห่งชาติหลายๆแห่ง แต่ที่ภูน้ำฟ้านี่ก็เหมาะสมเป็นอย่างยิ่งเพราะสถานที่เป็นส่วนตัว
    และปลอดภัย
    4) ในระหว่างการออกแค้มป์ สำคัญมากว่าจะต้องหัดให้เขารับผิดชอบและช่วยเหลือตัวเอง คุณสอนเขาได้แต่ควร
    ที่จะห้ามใจไม่ให้เข้าไปทำอะไรให้ถ้าเห็นว่าเขาทำไม่ได้ เพราะนี่คือโอกาสแห่งการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=17 height=32></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=648 colSpan=15>แนะนำสถานที่
    "ภูน้ำฟ้า" อยู่ริมเขื่อนศรีนครินทร์ เป็นแค้มป์กราวนด์ ที่เงียบสงบเหมาะกับการพักผ่อนสบายๆ มีห้องน้ำอย่างดี
    แต่ไม่มีบ้านพักต้องนอนเต๊นท์ มีเต๊นท์ไว้ให้บริการ จะนอนในที่ลานกางเต๊นท์ที่จัดไว้หรือจะเข้าไปหาที่นอนแบบ
    ผจญภัยเล็กๆในป่าแบบที่เล่ามาก็ได้

    จัดอาหารให้ได้แต่ควรสั่งล่วงหน้า การเดินทาง ถ้าจะเอารถเข้าไปให้ถึงที่ ต้องใช้รถ 4x4 เท่านั้นเพราะช่วงสอง
    กิโลเมตรสุดท้ายเป็นทางป่าที่ค่อนข้างโหด ถ้าไม่ต้องการขับรถเข้าไปสามารถเอารถไปจอดที่เขื่อนศรีนครินท์แล้ว
    ให้เอาเรือไปรับได้

    กิจกรรมที่ทำได้ก็มีตั้งแต่ เดินป่า, พายเรือคายัค, เล่นน้ำ (มีสระน้ำสำหรับเด็ก), ขี่จักรยาน (ต้องเอาไปเอง) หรือ
    จะเอาธนูเอาปืนไปยิงเล่นก็ยังได้แต่ต้องดูแลเรื่องความปลอดภัยให้ดีนะครับ

    ถ้าสนใจจะไปพัก โทรถามรายละเอียด ได้ที่ คุณต๊อซ 01-815-6779 หรือคุณเบิ้ม 01-921-6491 ทั้งสองคนเป็น
    เพื่อนผมเองครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=33></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD width=700 height=25><TABLE id=NavigationBar10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0 NOF="NB_UYHPNN026"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=100 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=698 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD width=106>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD><TD width=24 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=22></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=132 colSpan=3 rowSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=24></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7></TD><TD class=TextObject width=106>คุยกันรอบกองไฟ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=13>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=29></TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=75>เซ็นสมุดเยี่ยม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=348 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=60 height=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=273>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=286 colSpan=2>สมัครสมาชิก Thailand Outdoor ฟรี
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=15 colSpan=2><FORM action=http://www.yourmailinglistprovider.com/subscribe.php?tatrawee method=post><TABLE border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>กรุณาใส่ email และคลิ๊ก submit</TD></TR><TR><TD><INPUT maxLength=50 name=YMP[0]></TD><TD><INPUT type=submit value=Submit name=submit></TD></TR><TR><TD colSpan=2>Powered by YourMailinglistProvider.com </TD></TR></TBODY></TABLE></FORM>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. Troysan

    Troysan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    59
    ค่าพลัง:
    +215
    น่าจะจัดการอบรมการยังชีพในป่า สักครั้งสำหรับกลุ่มพลังจิต

    โดยเฉพาะนะครับ เพราะจำเป็นอย่างยิ่งในการอยู่ต่อในช่วงที่ไม่ปกติ และเป็นการซักซ้อม เตรียมความพร้อมของทีมครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 สิงหาคม 2009
  17. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    มาคั่นรายการชั่วคราว เดี๋ยวเรื่องจัด work shop ในค่ายทหาร (หากมีผู้สนใจ) ภายใน 1 วัน ผมจะไปหาข้อมูลมาให้ครับ

    วันนี้ เดินเซ็นทรัลลาดพร้าว ได้คีมอเนกประสงค์ มา 1 อันครับ ยี่ห้อ SOLO ราคา 100 บาท เท่านั้น อันเล็กกระทัดรัด และที่สำคัญถูกมากกกกก

    ผมคิดอยู่แล้วว่า คุณภาพคงไม่ดี เท่าที่ควร ใช้ไม่กี่ครั้งคงเสียซะก่อน แต่ว่า มีดีกว่าไม่มี ใช้ในยามฉุกเฉินจริงๆ และยังไม่กล้าซื้อ Leatherman ราคา 3,000 มาใช้ เอาไว้มีเงินเหลือมากๆ (จากการเก็บสะสม) ค่อยหาซื้อมาใช้ครับ

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_3042.jpg
      IMG_3042.jpg
      ขนาดไฟล์:
      52 KB
      เปิดดู:
      1,909
    • IMG_3043.jpg
      IMG_3043.jpg
      ขนาดไฟล์:
      46 KB
      เปิดดู:
      1,869
    • IMG_3044.jpg
      IMG_3044.jpg
      ขนาดไฟล์:
      52.3 KB
      เปิดดู:
      1,885
    • IMG_3045.jpg
      IMG_3045.jpg
      ขนาดไฟล์:
      62.1 KB
      เปิดดู:
      1,879
  18. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เรื่องนี้มีหลายเคสครับ ที่มีคนใจดีซื้อมีดวิคตอรี่น๊อคให้เจ้าหน้าที่ป่าไม้ แล้ว ทางคนได้ไม่กล้าใช้ กลายเป็นมากังวลกลัวหายอีกครับ

    วิธีแก้ก็คือ ลองดูของมือสองจากในเวบดู ข้อดีมี

    1.เป็นของใช้แล้วมีริ้วรอยบ้างเรากล้าใช้แน่

    2.ราคาย่อมลงเยอะครับ บางอย่างราคาลงมาเกิน 50 เปอร์เซนต์เลย

    ลองดูครับ
     
  19. วัสสานะ

    วัสสานะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +565
    รีวิว อุปกรณ์ฉุกเฉิน Survival Kit ครับ

    -เป็น Survival Kit ที่ติดในเป้ฉุกเฉิน ไม่ใช่แบบที่พกติดตัว
    -ใช้กล่องพลาสติกแบบล็อคเปิดปิดได้ เพราะแข็งแรงกันน้ำได้สนิท
    -เลือกขนาด 450 ml. เก็บของที่ต้องการได้พอดี ท่านที่คิดว่าใหญ่หรือเล็กเกินไปสามารถเลือกขนาดที่ต่างจากนี้ได้
    -กำลังมองหารูปพระพุทธรูปขนาดเล็กไว้ติดกับส่วนฝากล่องด้านในไว้เตือนเป็นพุทธานุสติครับ

    [​IMG]
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2009
  20. วัสสานะ

    วัสสานะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +565
    ภายในกล่องอุปกรณ์ฉุกเฉิน SurvivalKit แบ่งตามประเภท

    [​IMG]

    อุปกรณ์สำหรับจุดไฟ
    -ไฟแชค
    -เทียนวันเกิดแบบเป่าไม่ดับ ใช้ต่อจากไฟแชค (หนึ่งแท่งอยู่ได้ประมาณ 11 นาที)
    -เลนส์ขยาย magnifier lens
    -แท่งจุดไฟ
    -(อาจเพิ่มเชื้อไฟแบบจุดติดเร็ว)

    [​IMG]

    อุปกรณ์สำหรับส่งสัญญาณ
    -กระจกขนาดเล็ก
    -นกหวีด เสียงดังดีครับ
    -แท่งเรื่องแสง ขนาด 2 นิ้ว อยู่ได้ประมาณ 7 ชม. มองเห็นได้ระยะ 10 กว่าเมตร และน้อยลงตามลำดับ
    -(เพิ่มไฟฉายพวงกุญแจขนาดเล็ก)

    [​IMG]

    อุปกรณ์สำหรับซ่อมแซม
    -ชุดเข็มกับด้าย และด้ายในลอน (อาจเปลี่ยนเป็นเส้นเอ็น)
    -เทปกาวผ้า แลคซีนเทป (อาจเปลี่ยนเป็น duct tape ที่เหนียวมากขึ้น)
    -เข็มกลัด หลายขนาด
    -กาวอเนกประสงค์

    [​IMG]

    อุปกรณ์เครื่องมือ
    -การ์ดอเนกประสงค์ Tool card
    -ใบเลื่อย ไว้ตัดของเหนียวๆ ใบละ 5 บาท ตัดเป็นสองส่วน ลบมุมคมออก
    -ด้ามจับใบมีดเหลาดินสอ ใช้กับใบมีดโกนขนนก
    -เข็มทิศ ขนาดเล็ก จากศึกษาภัณฑ์
    -ลวดขนาดเล็กและใหญ่ (ไม่มีในรูป)

    [​IMG]

    อุปกรณ์ประเภทยา
    -พลาสเตอร์ขนาดเล็ก x3 ผ้าก๊อซ x1
    -ยาทากันยุงแมลง
    -ผงน้ำตาลเกลือแร่
    -ผงด่างทับทิม ฆ่าเชื้อโรค
    -แอลกอฮอลล์แผ่น x 4
    -ยาแก้แพ้แก้หวัด x10 ยาแก้ท้องเสีย x2 แก้ปวดลดไข้ x2
    -ทิชชู๋เปียก สำหรับทำความสะอาด หรือไว้ใช้กรองน้ำ
    -ยาเม็ดทำน้ำสะอาด x 30 ลิตร

    [​IMG]

    อุปกรณ์จดบันทึก
    -สมุด
    -ดินสอ
    -ยางลบ

    [​IMG]

    อุปกรณ์อื่นๆ

    -ที่อุดหูกันเสียงรบกวน
    -หนังสติ๊กแบบหนา
    -แหนบ
    -กรรไกรตัดเล็บ (ใช้แทนกรรไกรตัดด้าย)

    [​IMG]

    อุปกรณ์อื่นๆ 2
    -แผ่นอลูมิเนียมฟลอยด์ ใช้
    ต้มน้ำห่อไฟทำอาหารสุก
    -ถุงมือพลาสติก 1 คู่ เผื่อหยิบสิ่งสกปรก
    -ถุงพลาสติกขนาดเล็ก 2 ใบ
    -ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ 1 ใบ ไว้ใส่น้ำใช้กับน้ำยาทำน้ำสะอาด

    อื่นๆ
    -เงินสด และ เศษเหรียญไว้ใช้กับตู้โทรศัพท์ในยามฉุกเฉิน
    -ซองดูดความชื้นขนาดเล็ก
    -สมุดบันทึกจดชื่อที่อยู่ข้อมูลตนเองและคนรู้จักลงไปก่อน

    SurvivalKit พยายามเลือกอุปกรณ์ที่ราคาไม่แพงและหาได้ง่ายใกล้ตัว อาจมีการปรับเปลี่ยนได้อีกในอนาคตครับ

    ---------------------
    -เลนส์ขยายรวมแสงจากร้านไดโซะ 60 บาท
    -แท่งเรื่องแสงเล็กจากร้านขายอุปกรณ์ตกปลา สามแท่ง 20 บาท
    -นกหวีดขนาดเล็ก
    ราคา 30 บาท จากเวบ TKT Link
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2009

แชร์หน้านี้

Loading...