ขออนุญาติเปิดกระทู้เกี่ยวกับ lhc เลยละกัน

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย จักรพนธ์, 31 กรกฎาคม 2008.

  1. julieinter

    julieinter เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +654
    เดินเครื่องแล้ว
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    LHC interesting facts, why the launch is delayed again?

    Published by alex on August 7, 2008 under around-me, space
    <SCRIPT type=text/javascript><!--digg_url = 'http://www.yourgenuineidea.com/2008/08/07/lhc-interesting-facts-why-the-launch-is-delayed-again/';digg_bgcolor = '#FFFFFF';digg_skin = 'compact';digg_window = '';digg_title = 'LHC interesting facts, why the launch is delayed again?';digg_bodytext = '';digg_media = 'news';digg_topic = '';//--></SCRIPT><SCRIPT src="http://digg.com/tools/diggthis.js" type=text/javascript></SCRIPT><IFRAME src="http://digg.com/tools/diggthis.php?u=http%3A//www.yourgenuineidea.com/2008/08/07/lhc-interesting-facts-why-the-launch-is-delayed-again/&t=LHC%20interesting%20facts%2C%20why%20the%20launch%20is%20delayed%20again%3F&w=&b=&m=news&c=&k=%23FFFFFF&s=compact" frameBorder=0 width=120 scrolling=no height=18></IFRAME>
    As has been announced, Large Hadron Collider (the most essential scientific research project) launch has been delayed until October 2008.
    Quote from wikipedia:
    The initial particle beams are due for injection in August 2008, and the first high-energy collisions are planned to take place after the LHC is officially unveiled, on October 21, 2008.


    http://www.yourgenuineidea.com/category/of-all-and-nothing/




     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Interactions News Wire #59-08
    7 August 2008 http://www.interactions.org
    ****************************
    Source: CERN
    Content: Press Release
    Date Issued: 7 August 2008
    ****************************
    CERN announces start-up date for LHC
    Geneva, 7 August 2008. CERN* has today announced that the first attempt to circulate a beam in the Large Hadron Collider (LHC) will be made on 10 September. This news comes as the cool down phase of commissioning CERN’s new particle accelerator reaches a successful conclusion. Television coverage of the start-up will be made available through Eurovision.

    The LHC is the world’s most powerful particle accelerator, producing beams seven times more energetic than any previous machine, and around 30 times more intense when it reaches design performance, probably by 2010. Housed in a 27-kilometre tunnel, it relies on technologies that would not have been possible 30 years ago. The LHC is, in a sense, its own prototype.

    Starting up such a machine is not as simple as flipping a switch. Commissioning is a long process that starts with the cooling down of each of the machine’s eight sectors. This is followed by the electrical testing of the 1600 superconducting magnets and their individual powering to nominal operating current. These steps are followed by the powering together of all the circuits of each sector, and then of the eight independent sectors in unison in order to operate as a single machine.

    By the end of July, this work was approaching completion, with all eight sectors at their operating temperature of 1.9 degrees above absolute zero (-271°C). The next phase in the process is synchronization of the LHC with the Super Proton Synchrotron (SPS) accelerator, which forms the last link in the LHC’s injector chain. Timing between the two machines has to be accurate to within a fraction of a nanosecond. A first synchronization test is scheduled for the weekend of 9 August, for the clockwise-circulating LHC beam, with the second to follow over the coming weeks. Tests will continue into September to ensure that the entire machine is ready to accelerate and collide beams at an energy of 5 TeV per beam, the target energy for 2008. Force majeure notwithstanding, the LHC will see its first circulating beam on 10 September at the injection energy of 450 GeV (0.45 TeV).

    Once stable circulating beams have been established, they will be brought into collision, and the final step will be to commission the LHC’s acceleration system to boost the energy to 5 TeV, taking particle physics research to a new frontier.

    ‘We’re finishing a marathon with a sprint,’ said LHC project leader Lyn Evans. ‘It’s been a long haul, and we’re all eager to get the LHC research programme underway.’

    CERN will be issuing regular status updates between now and first collisions. Journalists wishing to attend CERN for the first beam on 10 September must be accredited with the CERN press office. Since capacity is limited, priority will be given to news media. The event will be webcast through http://webcast.cern.ch, and distributed through the Eurovision network. Live stand up and playout facilities will also be available.

    A media centre will be established at the main CERN site, with access to the control centres for the accelerator and experiments limited and allocated on a first come first served basis. This includes camera positions at the CERN Control Centre, from where the LHC is run. Only television media will be able to access the CERN Control Centre. No underground access will be possible.

    For further information and accreditation procedures: http://www.cern.ch/lhc-first-beam
    Contact information: E-mail: press.office@cern.ch
    =====
    *CERN, the European Organization for Nuclear Research, is the world’s leading laboratory for particle physics. It has its headquarters in Geneva. At present, its Member States are Austria, Belgium, Bulgaria, the Czech Republic, Denmark, Finland, France, Germany, Greece, Hungary, Italy, Netherlands, Norway, Poland, Portugal, Slovakia, Spain, Sweden, Switzerland and the United Kingdom. India, Israel, Japan, the Russian Federation, the United States of America, Turkey, the European Commission and UNESCO have Observer status.


    http://www.interactions.org/cms/?pid=1026566
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 สิงหาคม 2008
  4. SCJ

    SCJ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +122
    ประกาศเป็นทางการแล้ว

    คงต้องเริ่ม count down กันใหม่

    CERN to start up super-accelerator on September 10
    <!-- BEGIN STORY BODY -->Thu Aug 7, 1:06 PM ET


    <!-- end storyhdr -->GENEVA (AFP) - European particle physics laboratory CERN said Thursday it will start up its massive particle accelerator on September 10 hoping that it could throw light on the origins of the universe.

    10 กันยายน 2008

    แต่ไม่แน่ว่าจะเลื่อนอีกเปล่า

    "Starting up such a machine is not as simple as flipping a switch," the laboratory said in a statement.
     
  5. จักรพนธ์

    จักรพนธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    374
    ค่าพลัง:
    +4,622
    คิดว่าการทดลองนี้สุดท้ายก็นำไปใช้ในทางสงครามอยู่ดี
     
  6. โอ๊ตศ์

    โอ๊ตศ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    333
    ค่าพลัง:
    +1,107
    เฮ้อ..ลุ้นซะเหนื่อยเลย แต่เลื่อนก็ดีแร้ว...

     
  7. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,611
    จัดลําดับข่าวให้ครับ

    บีบีซีนิวส์/ยูซีอาร์/ยูเรก้าอะเลิร์ท/เอเยนซี - ก ารทดลองเพื่อไขปริศนาจักรวาลใกล้จะเริ่มขึ้น หลัง “เซิร์น” ติดตั้งยักษ์ 1,920 ตัน กว้าง 17 เมตร สูง 16 เมตร และยาว 13 เมตร ลงใต้ดินลึก 100 เมตร การประกอบเครื่องตรวจอนุภาคจะแล้วเสร็จไม่เกิน ก.ย. พร้อมเดินเครื่องจับอนุภาคชนกัน พ.ย.นี้

    หลังรอลุ้นอย่างใจจดใจจ่อของเหล่านักวิทยาศาสตร์และผู้เกี่ยวข้อง ในที่สุดการติดตั้งแกนแม่เหล็กยักษ์ 1,920 ตัน ของเครื่องตรวจวัดอนุภาค “ซีเอ็มเอส” (Compact Muon Solenoid: CMS) ลงใต้ดินลึก 100 เมตรบริเวณรอยต่อประเทศสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส ซึ่งเป็นที่ตั้งของห้องปฏิบัติการด้านฟิสิกส์อนุภาคที่ใหญ่ที่สุดในโลก “เซิร์น” (CERN) หรือองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิ วเคลียร์ (European Organization for Nuclear Research) เมื่อวันที่ 28 ก.พ. ก็ผ่านไปได้ด้วยดี และการทดลองเพื่อไขปริศนาจักรวาลก็จะเริ่มขึ้นในวันที่ 30 พ.ย.นี้

    ช ิ้นส่วนยักษ์ของซีเอ็มเอสที่หนักเทียบเท่ากับเครื่องบินเจ็ท 5 ลำนี้มีความกว้าง 17 เมตร สูง 16 เมตร และยาว 13 เมตร เป็นอุปกรณ์ที่จะช่วยตรวจวัดอนุภาคที่ถูกเร่งให้ชนกันโดยเครื่องเร่งอนุภาคข นาดใหญ่ “แอลเอชซี” (Large Hadron Collider: LHC) ที่ติดตั้งอยู่ลึกลงไปใต้ดินเช่นกัน ซึ่งจะเริ่มทดลองในเดือน พ.ย.นี้ โดยชิ้นส่วนของซีเอ็มเอสถูกประกอบไปแล้ว 7 ชิ้นและยังเหลืออุปกรณ์อีก 8 ชิ้นที่จะติดตั้งอุปกรณ์ในอุโมงค์ยักษ์ให้แล้วเสร็จไม่เกินเดือนกันยายนที่จ ะถึงนี้

    “นี่คือความท้าทายทางวิศวกรรมเพราะมีช่องว่างระหว่างตัวเครื่องกับกำแพงเพียงแค่ 20 เซนติเมตรเท่านั้น ซ ึ่งเครื่องตรวจวัดจะถูกแขวนด้วยสายเคเบิลขนาดใหญ่ที่มีเชือก 55 เส้นพันเป็นสายเกลียว และผูกติดกับระบบแม่แรงไฮโดรลิก โดยผ่านการควบคุมทางหน้าจอเพื่อสร้างมั่นใจว่าเครื่องตรวจวัดจะไม่แกว่งหรือ เอียงขณะติดตั้ง” ออสติน บอล (Austin Ball) นักฟิสิกส์ของเซิร์นและผู้ประสานงานด้านเทคนิคของซีเอ็มเอสกล่าว

    ทั้งนี้ในการสร้างเครื่องซีเอ็มเอสต้องอาศัยความร่วมมือของนักฟิสิกส ์ประมาณ 1,500 คน และ 1 ใน 3 เป็นนักวิทยาศาสตร์ของสหรัฐ โดยมีห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติเฟอร์มิ (Fermi National Acceleratory Laboratory) หรือเฟอร์มิแล็บ (Fermilab) ของทบวงพลังงานสหรัฐ เป็นเจ้าภาพหลักในการทดลอง และนักวิทยาศาสตร์สหรัฐก็เป็นแกนในการออกแบบ สร้างและขนส่งอุปกรณ์สำคัญหลายชิ้นสำหรับเครื่องซีเอ็มเอสไปยังเซิร์น

    ปัจจุบันสหรัฐได้ให้เงินสนับสนุนการสร้างซีเอ็มเอสจนเกือบสมบูรณ์แล้ ว 98% และการเคลื่อนย้ายขดลวดแม่เหล็กยักษ์ชิ้นส่วนสำคัญของซีเอ็มเอสที่จะช่วยสร้ างแผนภาพของอนุภาคที่แม่นยำด้วยสนามแม่เหล็กก็เป็นผลงานของทีมนักวิทยาศาสตร ์จากเฟอร์มิแล็บ

    ทั้งนี้อาศัยการสังเกตความโค้งทางเดินของอนุภาคที่มีประจุในสนามแม่เหล็ก น ักฟิสิกส์สามารถคำนวณพลังงานมหาศาลที่ปลดปล่อยออกมาจากการชนกันของโปรตอนนับ พันล้านอนุภาคซึ่งจะเกิดขึ้นภายในเครื่องเร่งอนุภาคในอีกไม่ช้า

    นอกจากเครื่องซีเอ็มเอสแล้วบรรดานักฟิสิกส์ก็เตรียมติดตั้งเครื่องตร วจวัดอนุภาคตระกูลเดียวกันนี้แต่มีขนาดเล็กกว่าที่ชื่อ “แอตลาส” (ATLAS) เพื่อบันทึกข้อมูลการทดลองจากเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีที่เซิร์น สถานที่ซึ่งนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าพวกเขาจะค้นพบพื้นฐานของจักรวาลได้จาก การชนกันของโปรตอนที่มีพลังงานสูงมากๆ

    ไ ม่เพียงแค่การทำให้อนุภาคใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในโลกได้ปรากฏออกมาเท่านั้น แต่การทดลองด้วยเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีอาจจะช่วยอธิบายได้ว่าทำไมอนุภาคเ หล่านั้นจึงมีอยู่และทำไมจึงประพฤติตัวอย่างที่เป็น เหล่านักวิทยาศาสตร์อาจค้นพบจุดกำเนิดของมวล แสงสีของสสารมืด (Dark matter) ไขความลับสมมาตรของจักรวาลที่ซ่อนตัวอยู่ และรวมไปถึงการค้นพบมิติพิเศษในอวกาศ

    สำหรับเซิร์นนั้นเป็นองค์กรความร่วมมือในการวิจัยนิวเคลียร์ของยุโรป ที่ก่อตั้งเมื่อปี 2497 มีสำนักงานใหญ่ที่กรุงเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 19 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย สาธารณรัฐเชค เดนมาร์ก ฟินแลนด์ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร ขณะที่มีอินเดีย อิสราเอล ญี่ปุ่น รัสเซีย สหรัฐ ตุรกี คณะกรรมาธิการยุโรปและองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์


    ที่มา http://www.tosdn.com/forum/index.php?topic=5335.0
     
  8. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,611
    ฟ้องศาลระงับ "เซิร์น" เดินเครื่องหวั่นเกิดหลุมดำทำลายโลก

    <!--/adcode-->
    [​IMG]

    [​IMG] นิวยอร์กไทม์ - ชาย 2 คนเดินหน้าฟ้องศาลฮาวายระงับเดินเครื่อง “เซิร์น” เนื่องจากหวั่นว่าการจับโปรตอนชนกันจะทำให้เกิด “หลุมดำ” ทำลายล้างโลก ชี้แม้เซิร์นเป็นองค์กรวิจัยนานาชาติที่ตั้งอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์ แต่ต้องยอมรับคำตัดสินของศาลในสหรัฐฯ แต่โดยดี ขณะที่นักวิทยาศาสตร์ระบุว่าเรื่องดังกล่าวเป็นไปไม่ได้

    แม้นักฟิสิกส์ทั่วโลกจะใช้เวลาถึง 14 ปีและลงทุนไปกว่า 8 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสร้างเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (Large Hadron Collider: LHC) ที่ใหญ่สุดในโลก ภายใต้ความร่วมมือขององค์การศึกษาวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป “เซิร์น” (Cern) เพื่อเร่งให้อนุภาคโปรตอนชนกัน แล้วสร้างพลังงานและเงื่อนไขที่เหมือนกับเสี้ยววินาทีที่ 1 ในล้านล้านล้านหลังเกิดบิกแบง (Big Bang) โดยนักวิทยาศาสตร์จะวิเคราะห์เศษซากที่เกิดขึ้น เพื่อไขปริศนาธรรมชาติของมวลและแรงใหม่ๆ รวมถึงความสมมาตรของธรรมชาติด้วย



    หากแต่วอลเตอร์ แอล.วากเนอร์ (Walter L.Wagner) ผู้อาศัยอยู่ในมลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา และศึกษาวิจัยฟิสิกส์และรังสีคอสมิกที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กเลย์ (University of California, Berkeley) ทั้งยังได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยนอร์เธิร์นแคลิฟอร์เนียในซาคราเมนโต (University of Northern California in Sacramento) และลูอิส ซานโช (Luis Sancho) ซึ่งระบุว่าทำวิจัยเกี่ยวกับทฤษฎีเวลาและอาศัยอยู่ในสเปน ได้ฟ้องต่อศาลฮาวายเพื่อเรียกร้องสิทธิให้ระงับการทดลองของเซิร์น เนื่องจากอาจทำให้เกิดหลุมดำขนาดเล็กที่อาจ “กินโลก” หรือทำให้เกิดอนุภาคแปลกๆ ที่เปลี่ยนโลกให้หดกลายเป็นก้อนที่มีความหนาแน่นสูง

    ทั้งนี้แม้จะฟังดูประหลาด แต่กรณีนี้ก็เป็นประเด็นเคร่งเครียดที่สร้างความวิตกให้กับนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ในช่วงเวลาไม่กี่ปีมานี้ กล่าวคือพวกเขาจะประมาณความเสี่ยงจากการทดลองใต้ดินที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อนนี้ได้อย่างไร และใครที่จะเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะหยุดหรือเดินหน้าการทดลอง
    ในเอกสารคำฟ้องร้องของทั้งสองคนยังกล่าวอีกว่า เซิร์นล้มเหลวในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามข้อกำหนดของกฎหมายด้านนโยบายสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ จึงเรียกร้องให้ระงับการทดลองชั่วคราวจนกว่าเซิร์นจะได้ทำการประเมินความปลอดภัยและผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน
    ผู้ที่เป็นจำเลยของการฟ้องร้องครั้งนี้ นอกจากเซิร์นแล้วยังมีกระทรวงพลังงานสหรัฐฯ ห้องปฏิบัติการเร่งอนุภาคเฟอร์มิแห่งสหรัฐฯ (Fermi National Accealerator) หรือเฟอร์มิแล็บ (Fermi Lab) มูลนิธิวิทยาศาสตร์สหรัฐฯ

    วากเนอร์และซานโชได้ยื่นคำร้องให้ศาลไปเมื่อวันที่ 21 มี.ค.51 ที่ผ่านมา และจะมีการไต่สวนในวันที่ 16 มิ.ย.51 ซึ่งไม่ว่าเซิร์นซึ่งเป็นองค์การวิจัยของชาติยุโรปที่ตั้งอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์จะเดินทางไปที่ศาลในฮาวายเพื่อให้ปากคำหรือไม่ แต่วากเนอร์กล่าวว่าองค์กรวิจัยระดับโลกนี้ต้องยอมรับในคำตัดสินของศาลแต่โดยดี และเพิ่มเติมว่าเขายังสามารถยื่นฟ้องแก่ศาลในฝรั่งเศสหรือสวิตเซอร์แลนด์ได้ อย่างไรก็ดีเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายพวกเขาจึงยื่นฟ้องในสหรัฐฯ แทน
    นอกจากนี้วากเนอร์ยังเรียกร้องให้เฟอร์มิแล็บและกระทรวงพลังงานสหรัฐฯ ยุติการสนับสนุนและช่วยเหลือในการสร้างแม่เหล็กตัวนำยิ่งยวดขนาดยักษ์ที่เป็นส่วนประกอบของเครื่องเร่งอนุภาคไม่ว่าอย่างไรก็ตาม
    ทางด้านเจมส์ ยิลลิเอส (James Gillies) หัวหน้าโฆษกที่เซิร์นกล่าวว่า เซิร์นยังไม่มีความเห็นใดๆ ต่อการฟ้องร้องดังกล่าว และยังเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจว่าศาลท้องถิ่นในฮาวายจะพิพากษาองค์กรนานาชาติซึ่งตั้งอยู่ที่ยุโรปได้อย่างไร
    โฆษกของเซิร์นระบุอีกว่า ขณะนี้ยังไม่มีอะไรใหม่ที่บ่งชี้ว่าเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีนั้นไม่ปลอดภัย และเสริมอีกว่าความปลอดภัยของเซิร์นได้นำเสนอผ่านรายงาน 2 ฉบับ ส่วนฉบับที่ 3 กำลังอยู่ระหว่างการจัดทำซึ่งจะเป็นหัวข้อให้อภิปรายกันในวันเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เข้าชมห้องปฏิบัติการใต้ดินของเซิร์นในวันที่ 6 เม.ย.51 นี้
    อย่างไรก็ดีคำชี้แจงของเจ้าหน้าที่จากเซิร์นก็ไม่ได้ทำให้วากเนอร์สงบลง โดยเขาได้กล่าวว่าเซิร์นได้ปล่อยโฆษณาชวนเชื่ออย่างมากว่ามีความปลอดภัย แต่โดยพื้นฐานแล้วก็ยังเป็นเพียงโฆษณาชวนเชื่ออยู่นั่นเอง
    นักฟิสิกส์ที่อยู่ทั้งในและนอกเซิร์นกล่าวว่าการศึกษาหลายๆ แห่งซึ่งรวมถึงรายงานอย่างเป็นทางการของเซิร์นเมื่อปี 2546 ให้ข้อสรุปว่าการทดลองไม่มีปัญหาใด แต่เพียงเพื่อความมั่นใจ เมื่อปีที่แล้วกลุ่มประเมินความปลอดภัยนิรนามได้เตรียมเพื่อจัดทำบทวิจารณ์ความปลอดภัยอีกครั้ง
    “ความเป็นไปได้ที่หลุมดำจะกลืนกินโลกนั้นเป็นเรื่องเคร่งเครียดที่ถกเถียงกันเฉพาะในหมู่คนสติไม่สมประกอบเท่านั้น” มิเคาลางเจโล มางกาโน (Michelangelo Mangano) นักทฤษฎีที่เซิร์นกล่าว
    นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่วากเนอร์ออกมาคัดค้านการทดลอง เมื่อปี 2542 และ 2543 เขาได้ยื่นฟ้องในลักษณะเดียวกันนี้กับห้องปฏิบัติการบรูกฮาเวนแห่งสหรัฐฯ (Brookhaven National Laboratory) ไม่ให้เดินเครื่องเร่งไออนธาตุหนัก (Relativistic Heavy Ion Collider) แต่ศาลก็ไม่รับคำฟ้องดังกล่าวในปี 2544 ขณะที่เครื่องดังกล่าวได้เร่งให้ไออนของทองชนกัน เพื่อหวังว่าจะสร้างสิ่งที่เรียกว่า “พลาสมาควาร์ก-กลูออน” (Quark-gluon plasma) โดยไม่ทำให้เกิดอุบัติเหตุมาตั้งแต่ปี 2543.


    [​IMG]
    1 ใน 3 ของเครื่องตรวจวัดอนุภาคหลักซึ่งติดตั้งในอุโมงค์ใต้ดินใต้เมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์
    [​IMG]
    แผนภาพแสดงส่วนประกอบของห้องปฏิบัติการเซิร์น ซึ่งเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (LHC) เร่งให้โปรตอนวิ่งวนเป็นวงกลมเป็นระยะทาง 27 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 11,000 รอบต่อวินาที โดยมีเครื่องตรวจจับอนุภาคซีเอ็มเอส (CMS) และแอตลาส (ATLAS) รับหน้าที่ตรวจหาอนุภาคฮิกกส์ (Higgs) มิติพิเศษ สสารมืดและสมมาตรยิ่งยวด


    ที่มา http://se7olution.wordpress.com/2008/04/01/%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%87%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%94/
     
  9. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,611
    " เซิร์น "ย้ำไม่ทำโลกหายนะ ซ้ำน้อยกว่าอนุภาคชนกันในธรรมชาติเสียอีก

    <TABLE class=blog_center_data><TBODY><TR><TD><!--check permission---><!--whoever--->[​IMG]

    "เซิร์น" ออกรายงานยืนยัน โลกไม่หายนะแน่นอน เมื่อเดินเครื่องเร่งอนุภาคไขความลับเอกภพ ระบุธรรมชาติมีอนุภาคชนกันมากกว่าเครื่องเร่งของเซิร์นเป็นล้านเท่า ในช่วงหลายพันล้านปีมานี้ แต่โลกยังคงอยู่ได้ ส่วนข้อกังวลว่าจะเกิดหลุมดำกลืนกินโลก ก็แจงว่าหลุมดำจิ๋วจะสลายไปในเวลาอันสั้น

    หลายคนกำลังหวั่นวิตกว่า หากองค์การวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organiztion for Nuclear Research) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อย่อภาษาฝรั่งเศสว่า "เซิร์น" (Cern) เดินเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ "แอลเอชซี" (Large Hadron Collider: LHC) เมื่อใด โลกจะตกอยู่ในอันตรายที่ไม่อาจคาดเดาได้

    บางคนก็วิจารณ์ว่า หลุมดำจิ๋วที่อาจเกิดขึ้นจากการชนกันของอนุภาคนั้น จะกลืนกินโลกทั้งใบ บ้างก็วิเคราะห์ว่าอนุภาคแปลกๆ ที่เกิดจากเครื่องเร่งอนุภาคจะเผาไหม้โลกจนถึงจุดจบ

    ทั้งนี้ เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีซึ่งขดเป็นวงกลมยาว 27 กิโลเมตร ที่ลึกลงไปใต้ชายแดนสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส 100 เมตรนั้น จะบังคับให้อนุภาคโปรตรอนชนกันที่ระดับใกล้ความเร็วแสง

    จากนั้นเครื่องตรวจวัดอนุภาคขนาดใหญ่ 6 ตัว ซึ่งทำงานแยกกันโดยอิสระ ก็จะนับ ติดตามและวิเคราะห์อนุภาค ที่ถูกปลดปล่อยออกจากการชนกันดังกล่าว อันจะเป็นการไขความลับเอกภพตามทฤษฎีของนักฟิสิกส์

    หากแต่ล่าสุด เซิร์นได้เสนอรายงานที่ระบุว่า การทดลองที่จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของซีกโลกเหนือนี้ "ไม่มีอันตรายใดๆ ที่พอจะเป็นไปได้"

    อีกทั้ง บีบีซีนิวส์ได้สรุปรายงานจากการศึกษาโดยนักทฤษฎีชั้นนำของเซิร์น ว่า ตลอดหลายพันล้านปีที่ผ่านมานั้น โลกได้รับผลจากการชนกันของอนุภาคในธรรมชาติเป็นล้านเท่าๆ เมื่อเทียบกับการทดลองของแอลเอชซี แต่โลกก็ยังคงอยู่ และไม่มีหลักการรองรับความกังวลใดๆ เกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากอนุภาคใหม่หรือการก่อตัวของสสารที่อาจจะเกิดจากเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี

    ทางด้านเดลีเมลรายงานว่า แม้นักวิจัยจะยอมรับว่าเครื่องเร่งอนุภาคนี้ ทดลองที่ระดับพลังงานสูง ในระดับที่ไม่เคยมีเทคโนโลยีใดของมนุษย์ทำได้มาก่อน แต่
    รังสีคอสมิคจากนอกโลก ที่เกิดจากการชนกันของอนุภาค ก็ทำให้เกิดพลังงานที่สูงกว่าเครื่องเร่งแอลเอชซีมาก ถึงอย่างนั้นก็ไม่ทำให้เกิดผลเสียแต่อย่างใด

    เดลีเมลยังระบุด้วยว่าเมื่อปี 2543 ได้มีรายงานว่าเครื่องเร่งอนุภาคอาจทำให้เกิดอนุภาคที่เรียกว่า "สแตรงเลตส์" (stranglets) ซึ่งจะเปลี่ยนนิวเคลียสในอะตอมตั้งต้น ให้กลายเป็นสสารแปลกๆ ที่สร้างความหายนะให้กับโลกได้

    หากแต่ในปี 2546 ดร.แอเดรียน เคนท์ (Dr.Adrian Kent) จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge) สหราชอาณาจักร ได้โต้แย้งว่านักวิทยาศาสตร์คำนวณแล้วว่าไม่พบความเสี่ยงจากอนุภาคแปลกๆ

    สอดคล้องกับรายงานล่าสุดของเซิร์นซึ่งนำโดยจอห์น เอลลิส (John Ellis) นักฟิสิกส์ทฤษฎีซึ่งระบุว่า การทดลองก่อนหน้านี้ นักวิจัยไม่สามารถสร้างอนุภาคที่ว่าได้ และอุณหภูมิที่เกิดขึ้นก็ไม่สูงอย่างที่กังวล

    และแม้นักวิทยาศาสตร์จะยอมรับว่าเครื่องเร่งอนุภาค ทำให้เกิดหลุมดำจิ๋วขึ้นมาได้ แต่หลุมดำที่ว่านั้นเกิดขึ้นได้จากการชนกันของควาร์ก (quark) และกลูออน (gluon) ซึ่งอยู่ในอนุภาคโปรตรอน ดังนั้นจึงสลายไปอยู่ในรูปของอนุภาคที่สร้างหลุมดำนั้นขึ้นมาได้ และคาดว่าช่วงอายุของหลุมดำจิ๋วนั้นจะสั้นมากๆ

    สำหรับกำหนดการเดินเครื่องเร่งอนุภาคของเซิร์นนั้น เดิมกำหนดไว้วันที่ 26 พ.ย.50 แต่ก็เลื่อนออกมาหลายครั้ง โดยการเลื่อนครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเดือน มี.ค.ของปีที่แล้ว อันเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแม่เหล็กชิ้นสำคัญ ส่วนกำหนดล่าสุดอยู่ในช่วงปลายฤดูร้อนของซีกโลกเหนือซึ่งอยู่ในราวเดือน ก.ค.-ส.ค.นี้

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา http://blog.spu.ac.th/FutureCareer/2008/06/30/entry-1
     
  10. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,611
    ที่มา http://palungjit.org/showthread.php?p=1021882#post1021882
     
  11. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    เอ้า! ใครยังเตรียมตัวไม่พร้อม เก็บของไม่ครบ มีเวลาเพิ่มขึ้นอีก 1 เดือนนะครับ
     
  12. Cute rainbow

    Cute rainbow สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +2
    โล่งปนเซ็งค่ะ เบื่อที่ต้องลุ้นอีกรอบ ที่สำคัญเสียหน้ามาก สามีหัวเราะทำนองว่าชั้นบอกเธอแล้วมันไม่มีอะไรหรอกยายบ๊อง!
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 สิงหาคม 2008
  13. อาหลี_99

    อาหลี_99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    744
    ค่าพลัง:
    +2,992
    ตื่นเช้ามาหลงดีใจว่าโลกยังอยู่ *เลื่อน* - -*
    อิอิไว้ลุ้นกันใหม่ เห้อ...
     
  14. SCJ

    SCJ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +122

    คิดเหมือนกันครับ

    ในที่สุดพวกนักสร้างอาวุธก็จะเอาเทคโน นี้ ไปพัฒนาเป็นอาวุธจนได้
     
  15. nuttadet

    nuttadet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,892
    ค่าพลัง:
    +6,454
    เค้าเลื่อนบ่อยแบบนี้ ไม่ใช่ว่าเปิดเครื่องแล้วนะ แต่ออกข่าวว่าเลื่อน
     
  16. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    เครื่อง CERN ถูกเลื่อนการเดินเครื่องออกไป คล้ายกับเป็นการบอกอ้อมๆว่าภัยพิบัติใหญ่ๆก็มีการเลื่อนกำหนดการเกิดออกไปด้วยเช่นกันอันนี้ผมหมายถึงประเทศไทยนะครับ CERN อาจจะไม่มีอะไรเลวร้ายเหมือนอย่างที่พวกเรากังวลกันก็ได้ครับ มองได้ทั้งสองมุมแต่สุดท้ายก็วางมันลงก็เท่านั้นเองครับ
     
  17. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    กำหนดการถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียม การเดินเครื่อง LHC ในวันที่ 10 กย. ครับ

    Summary of CERN Broadcast for LHC First Beam Day

    On 10 September scientists at CERN in Geneva, Switzerland will attempt for the first time to circulate a beam in the Large Hadron Collider. The LHC is the world’s most powerful particle accelerator, and will produce beams seven times more energetic, and around 30 times more intense than any previous machine when it reaches design performance.

    Nine hours of live satellite broadcast and webcast will be available from CERN on 10 September. Coverage will be centered at the CERN Control Centre, the main hub of activity as scientists attempt to circulate the first beam. All the controls for the LHC and it's pre-accelerators, their services and technical infrastructure are housed in the CCC, and from there accelerator operators inject the beams and steer them around the 27-kilometer ring. Viewers will see activity in the CCC and hear interviews with LHC scientists and engineers, past and present notable CERN personalities, and Nobel laureates in physics.The first attempt to circulate an LHC beam will begin just after 9:00. Briefings from the
    CCC will take place hourly starting at 10:00, followed by coverage of Q&A sessions with journalists at CERN for the event. Viewers will also visit the control rooms for the four main LHC experiments, see scientists in the U.S. following the events in their pajamas, and view pre-recorded clips, animations and interviews. As this is a live event, all times are subject to change. If a briefing is delayed due to activity in the CERN Control Centre, mention will be made in the audio commentary and/or a message will be posted on-screen at the scheduled briefing time. If the startup is delayed, a program of visits and interviews with scientists will be arranged for visiting media. The list below covers notable events during the day. At other times coverage will alternate between live events in the CCC and pre-recorded material. All times are CEST
    (Central European Summer Time), UTC/GMT + 2 hours.

    9:00 Live satellite broadcast and webcast begin with an introduction from the
    commentators in the CERN Control Centre, an animation showing the passage of
    a beam through the LHC, and highlights of the LHC operators’ daily meeting
    where they lay out the procedure for getting the first beam circulating in the LHC.

    9:06 Coverage begins of the first attempt to circulate a beam in the LHC. Lyn Evans, LHC project leader, will narrate the proceedings from the CERN Control Centre. Video of accelerator operators at work in the CCC will alternate with views of the LHC apparatus in its tunnel 100 meters underground.

    10:00 Briefing in English by Lyn Evans, LHC Project Leader. The three-minute briefing will be followed by coverage of 10 minutes of Q&A between Lyn Evans and journalists at CERN for the event.

    10:13 Tour of the control rooms of the four major LHC experiments: LHCb, CMS,
    ALICE and ATLAS. Viewers will see activity in each control room, and hear
    scientists from each experiment speak about their experiment and experiences
    during the first beam day. (duration 12:00)

    10:25 Back to the CERN Control Centre for continuing coverage of the first beams in the Large Hadron Collider.

    11:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    11:30 Visit by videoconference to Fermi National Accelerator Laboratory, near
    Chicago, Illinois, USA. Fermilab, which contributes to construction and operation
    of the LHC and CMS experiment, will host a pajama party in the middle of the
    night for scientists, media, VIPs and members of the public to follow the events at CERN live as they happen.

    11:45 Video clips from other particle physics institutes worldwide that contributed to LHC construction. (Pre-recorded)

    11:56 Highlights from the morning’s activities in the CERN Control Centre. (duration 4:00)

    12:00 Press Conference in English and French with CERN Director General Robert
    Aymar and LHC Project Leader Lyn Evans. Statements by Director General
    Aymar and LHC Project Leader Evans will be followed by 20 minutes of Q&A
    with journalists at CERN for the event.

    12:25 Visit the LHCb experiment, possibly the first experiment to see evidence of beam in the LHC on 10 September. A five-minute pre-recorded clip explaining the LHCb experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the LHCb control room and interviews with LHCb scientists.

    12:45 Movie: The Time Machine: The LHC Adventure is a Journey Through Time.
    (Pre-recorded, duration 11:00)

    13:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    13:13 Visit the CMS experiment. A five-minute pre-recorded clip explaining the CMS experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the CMS control room and interviews with CMS scientists.

    14:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    14:24 Visit the ALICE experiment. A five-minute pre-recorded clip explaining the
    ALICE experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the
    ALICE control room and interviews with ALICE scientists.

    14:45 Highlights from the day’s activities in the CERN Control Centre. (duration 3:00)

    15:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    15:20 Visit the ATLAS experiment. A five-minute pre-recorded clip explaining the
    ATLAS experiment will be followed by ten minutes of coverage of activity in the
    ATLAS control room and interviews with ATLAS scientists.

    15:50 Highlight footage of the day’s activities at CERN. (duration 10:00)

    16:00 Three-minute briefing from the CERN Control Centre, followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the event.

    16:24 Tour of the control rooms of the four major LHC experiments: LHCb, CMS,
    ALICE and ATLAS. Viewers will see activity in each control room, and hear
    scientists from each experiment speak about their experiment and experiences
    during the first beam day.

    17:30 Briefing in English with Lyn Evans, LHC Project Leader. The five-minute
    briefing will be followed by 10 minutes of Q&A with journalists at CERN for the
    event.

    17:45 Highlight footage of the day’s activities at CERN. (duration 15:00)

    18:00 End of satellite broadcast and webcast.

    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  18. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    อีกสองวัน นับถอยหลังอีกแล้ว
     
  19. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,632
    เวลาที่เดินเครื่องของเขาตรงกับเวลาของไทยกี่โมงครับ
     
  20. ปกรณ์

    ปกรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    404
    ค่าพลัง:
    +3,761

    พี่มารีนครับ เที่ยงคืนที่ผ่านมาผมดูข่าวเข้าใจว่า ตรงกับเวลาในไทยประมาณ บ่ายสามโมงครับ เห็นบอกว่ามีการถ่ายทอดด้วย ทางอินเตอร์เนท และดาวเทียม ไม่แน่ใจว่าชัวร์หรือเปล่า ลองเช็คดูอีกครั้งนะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...