ทดลองอ่าน พระสุตัตตปิฎก เล่ม ๑

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย odd_dec, 20 กรกฎาคม 2008.

  1. odd_dec

    odd_dec สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    28
    ค่าพลัง:
    +3
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-table-layout-alt: fixed; mso-padding-alt: 0cm 5.4pt 0cm 5.4pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 838pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1117 colSpan=2><TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-table-layout-alt: fixed; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 853pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1137>ช่วยกรุณาด้วยครับ ไม่รู้ว่าพอจะไปรอดไหมครับ ติด้วยครับ เพราะหลายท่านอ่านดีมากๆเลย
    เผื่อจะได้สร้างกุศลไว้ เกิดชาติหน้า จะได้มีเสียงเพราะๆกับเขาบ้างครับ

    พระสุตตันตปิฏกเล่ม
    ทีฆนิกายสีลขันธวรรคffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น<O:p></O:p>
    . พรหมชาลสูตร<O:p></O:p>
    เรื่องสุปปิยปริพาชกกับพรหมทัตตมานพ<O:p></O:p>
    [] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้<O:p></O:p>
    สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเสด็จดำเนินทางไกลระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาฬันทา<O:p></O:p>
    พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ๕๐๐รูปแม้สุปปิยปริพาชกก็ได้เดินทางไกลระหว่างกรุง<O:p></O:p>
    ราชคฤห์กับเมืองนาฬันทาพร้อมด้วยพรหมทัตตมาณพผู้อันเตวาสิก. ได้ยินว่าในระหว่างทางนั้น. <O:p></O:p>
    สุปปิยปริพาชกกล่าวติพระพุทธเจ้าติพระธรรมติพระสงฆ์โดยอเนกปริยายส่วน<O:p></O:p>
    พรหมทัตตมาณพอันเตวาสิกของสุปปิยปริพาชกกล่าวชมพระพุทธเจ้าชมพระธรรมชม<O:p></O:p>
    พระสงฆ์โดยอเนกปริยายอาจารย์และอันเตวาสิกทั้งสองนั้นมีถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันโดยตรง<O:p></O:p>
    ฉะนี้เดินตามพระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์ไปข้างหลังๆลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคเสด็จ<O:p></O:p>
    เข้าไปประทับแรมราตรีหนึ่งพระตำหนักหลวงในพระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกาพร้อมด้วย<O:p></O:p>
    ภิกษุสงฆ์แม้สุปปิยปริพาชกก็ได้เข้าพักแรมราตรีหนึ่งใกล้พระตำหนักหลวงในพระราชอุทยาน<O:p></O:p>
    อัมพลัฏฐิกากับพรหมทัตตมาณพผู้อันเตวาสิกได้ยินว่าแม้ที่นั้นสุปปิยปริพาชกก็กล่าว<O:p></O:p>
    ติพระพุทธเจ้าติพระธรรมติพระสงฆ์โดยอเนกปริยายส่วนพรหมทัตตมาณพอันเตวาสิก<O:p></O:p>
    ของสุปปิยปริพาชกกล่าวชมพระพุทธเจ้าชมพระธรรมชมพระสงฆ์โดยอเนกปริยาย<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 860pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1147 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 812pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1083>อาจารย์และอันเตวาสิกทั้งสองคนนั้นมีถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันโดยตรงฉะนี้ (เดินตาม<O:p></O:p>
    พระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์ไปข้างหลังๆ) ครั้งนั้นภิกษุหลายรูปลุกขึ้นในเวลาใกล้รุ่งนั่ง<O:p></O:p>
    ประชุมกันอยู่ศาลานั่งเล่นเกิดสนทนากันว่าท่านทั้งหลายเท่าที่พระผู้มีพระภาคผู้รู้เห็น<O:p></O:p>
    เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นทรงทราบความที่หมู่สัตว์มีอัธยาศัยต่างๆกันได้<O:p></O:p>
    เป็นอย่างดีนี้น่าอัศจรรย์นักไม่เคยมีมาความจริงสุปปิยปริพาชกผู้นี้กล่าวติพระพุทธเจ้า<O:p></O:p>
    ติพระธรรมติพระสงฆ์โดยอเนกปริยายส่วนพรหมทัตตนาณพอันเตวาสิกของสุปปิยปริพาชก<O:p></O:p>
    กล่าวชมพระพุทธเจ้าชมพระธรรมชมพระสงฆ์โดยอเนกปริยายอาจารย์และอันเตวาสิก<O:p></O:p>
    ทั้งสองนี้มีถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันโดยตรงฉะนี้เดินตามพระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์ไป<O:p></O:p>
    ข้างหลังๆ<O:p></O:p>
    ลำดับนั้นแลพระผู้มีพระภาคทรงทราบคำสนทนาของภิกษุเหล่านั้นแล้วเสด็จไปยัง<O:p></O:p>
    ศาลานั่งเล่นประทับอาสนะที่เขาจัดถวายแล้วตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่าดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งประชุมสนทนาอะไรกันและเรื่องอะไรที่พวกเธอพูดค้างไว้เมื่อตรัสอย่างนี้<O:p></O:p>
    แล้วภิกษุเหล่านั้นได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่าพระพุทธเจ้าข้าที่นี้เมื่อพวกข้า<O:p></O:p>
    พระพุทธเจ้าลุกขึ้นเวลาใกล้รุ่งนั่งประชุมกันอยู่ที่ศาลานั่งเล่นเกิดสนทนากันขึ้นว่าท่าน<O:p></O:p>
    ทั้งหลายเท่าที่พระผู้มีพระภาคผู้รู้เห็นเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นทรงทราบ<O:p></O:p>
    ความที่หมู่สัตว์มีอัธยาศัยต่างๆกันได้เป็นอย่างดีนี้น่าอัศจรรย์นักไม่เคยมีมาความจริง<O:p></O:p>
    สุปปิยปริพาชกนี้กล่าวติพระพุทธเจ้าติพระธรรมติพระสงฆ์โดยอเนกปริยายส่วน<O:p></O:p>
    พรหมทัตตมาณพอันเตวาสิกของสุปปิยปริพาชกกล่าวชมพระพุทธเจ้าชมพระธรรมชมพระสงฆ์<O:p></O:p>
    โดยอเนกปริยายอาจารย์และอันเตวาสิกทั้งสองนี้มีถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันโดยตรงฉะนี้<O:p></O:p>
    เดินตามพระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์ไปข้างหลังๆพระพุทธเจ้าข้าเรื่องนี้แลที่พวกข้าพระพุทธเจ้า<O:p></O:p>
    พูดค้างไว้พอดีพระองค์เสด็จมาถึง. <O:p></O:p>
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่าดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวติเราติพระธรรม<O:p></O:p>
    ติพระสงฆ์ก็ตามเธอทั้งหลายไม่ควรอาฆาตไม่ควรโทมนัสน้อยใจไม่ควรแค้นใจในคนเหล่านั้น<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวติเราติพระธรรมติพระสงฆ์ถ้าเธอทั้งหลายจักขุ่นเคือง<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 886pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1181 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 838pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1117>หรือจักโทมนัสน้อยใจในคนเหล่านั้นอันตรายจะพึงมีแก่เธอทั้งหลายเพราะเหตุนั้นเป็นแน่<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวติเราติพระธรรมติพระสงฆ์ถ้าเธอทั้งหลายจักขุ่นเคือง<O:p></O:p>
    หรือจักโทมนัสน้อยใจในคนเหล่านั้นเธอทั้งหลายจะพึงรู้คำที่เขาพูดถูกหรือคำที่เขาพูดผิดได้<O:p></O:p>
    ละหรือ?<O:p></O:p>
    ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่าข้อนั้นเป็นไปไม่ได้ทีเดียวพระพุทธเจ้าข้า. <O:p></O:p>
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่าดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวติเราติพระธรรม<O:p></O:p>
    ติพระสงฆ์ในคำที่เขากล่าวตินั้นคำที่ไม่จริงเธอทั้งหลายควรแก้ให้เห็นโดยความไม่เป็นจริงว่า<O:p></O:p>
    นั่นไม่จริงแม้เพราะเหตุนี้นั่นไม่แท้แม้เพราะเหตุนี้แม้นั่นก็ไม่มีในเราทั้งหลายและคำนั้น<O:p></O:p>
    จะหาไม่ได้ในเราทั้งหลายดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวชมเราชมพระธรรม<O:p></O:p>
    ชมพระสงฆ์เธอทั้งหลายไม่ควรเบิกบานใจไม่ควรดีใจไม่ควรกระเหิมใจในคำชมนั้น<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวชมเราชมพระธรรมชมพระสงฆ์ดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    ถ้าเธอทั้งหลายจักเบิกบานใจจักดีใจจักกระเหิมใจในคำชมนั้นอันตรายจะพึงมีแก่เธอทั้งหลาย<O:p></O:p>
    เพราะเหตุนั้นเป็นแน่ดูกรภิกษุทั้งหลายคนพวกอื่นจะพึงกล่าวชมเราชมพระธรรมหรือ<O:p></O:p>
    ชมพระสงฆ์ในคำชมนั้นคำที่จริงเธอทั้งหลายควรปฏิญาณให้เห็นโดยความเป็นจริงว่านั่นจริง<O:p></O:p>
    แม้เพราะเหตุนี้นั่นแท้แม้เพราะเหตุนี้แม้คำนั้นก็มีในเราทั้งหลายและคำนั้นจะหาได้ใน<O:p></O:p>
    เราทั้งหลาย. <O:p></O:p>
    จุลศีล<O:p></O:p>
    [] ดูกรภิกษุทั้งหลายก็เมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคตจะพึงกล่าวด้วยประการใด<O:p></O:p>
    นั่นมีประมาณน้อยนักแลยังต่ำนักเป็นเพียงศีลดูกรภิกษุทั้งหลายข้อที่ปุถุชนกล่าวชมตถาคต<O:p></O:p>
    จะพึงกล่าวด้วยประการใดซึ่งมีประมาณน้อยยังต่ำนักเป็นเพียงศีลนั้นเป็นไฉน? <O:p></O:p>
    [] ดูกรภิกษุทั้งหลายอีกอย่างหนึ่งเมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคตพึงกล่าวเช่นนี้ว่า<O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมละการฆ่าสัตว์เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์วางทัณฑะวางศาสตรา<O:p></O:p>
    มีความละอายมีความเอ็นดูมีความกรุณาหวังประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่. <O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมละการลักทรัพย์เว้นขาดจากการลักทรัพย์รับแต่ของที่เขาให้<O:p></O:p>
    ต้องการแต่ของที่เขาให้ไม่ประพฤติตนเป็นขโมยเป็นผู้สะอาดอยู่. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 875pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1167 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 827pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1103>. พระสมณโคดมละกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ประพฤติพรหมจรรย์ประพฤติ<O:p></O:p>
    ห่างไกลเว้นขาดจากเมถุนอันเป็นกิจของชาวบ้าน. <O:p></O:p>
    [] ดูกรภิกษุทั้งหลายอีกอย่างหนึ่งเมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคตพึงกล่าวเช่นนี้ว่า<O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมละการพูดเท็จเว้นขาดจากการพูดเท็จพูดแต่คำจริงดำรงคำสัตย์<O:p></O:p>
    มีถ้อยคำเป็นหลักฐานควรเชื่อได้ไม่พูดลวงโลก. <O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมละคำส่อเสียดเว้นขาดจากคำส่อเสียดฟังจากข้างนี้แล้วไม่ไป<O:p></O:p>
    บอกข้างโน้นเพื่อให้คนหมู่นี้แตกร้าวกันหรือฟังจากข้างโน้นแล้วไม่มาบอกข้างนี้เพื่อให้<O:p></O:p>
    คนหมู่โน้นแตกร้าวกันสมานคนที่แตกร้าวกันแล้วบ้างส่งเสริมคนที่พร้อมเพรียงกันแล้วบ้าง<O:p></O:p>
    ชอบคนผู้พร้อมเพรียงกันยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกันเพลิดเพลินในคนผู้พร้อมเพรียงกัน<O:p></O:p>
    กล่าวแต่คำที่ทำให้คนพร้อมเพรียงกัน.<O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมละคำหยาบเว้นขาดจากคำหยาบกล่าวแต่คำที่ไม่มีโทษ<O:p></O:p>
    เพราะหูชวนให้รักจับใจเป็นของชาวเมืองคนส่วนมากรักใคร่พอใจ. <O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมละคำเพ้อเจ้อเว้นขาดจากคำเพ้อเจ้อพูดถูกกาลพูดแต่คำ<O:p></O:p>
    ที่เป็นจริงพูดอิงอรรถพูดอิงธรรมพูดอิงวินัยพูดแต่คำมีหลักฐานมีที่อ้างมีที่กำหนด<O:p></O:p>
    ประกอบด้วยประโยชน์โดยกาลอันควร. <O:p></O:p>
    [] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการพรากพืชคามและภูตคาม<O:p></O:p>
    [] . พระสมณโคดมฉันหนเดียวเว้นการฉันในราตรีงดจากการฉันในเวลาวิกาล. <O:p></O:p>
    ๑๐. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการฟ้อนรำขับร้องประโคมดนตรีและดูการเล่น<O:p></O:p>
    อันเป็นข้าศึกแก่กุศล.<O:p></O:p>
    ๑๑. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการทัดทรงประดับและตบแต่งร่างกายด้วยดอกไม้<O:p></O:p>
    ของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว. <O:p></O:p>
    ๑๒. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่.<O:p></O:p>
    ๑๓. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับทองและเงิน. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 869pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1159 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 8"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 821pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1095>[] ๑๔. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับธัญญาหารดิบ. <O:p></O:p>
    ๑๕. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ.<O:p></O:p>
    ๑๖. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับสตรีและกุมาร. <O:p></O:p>
    ๑๗. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับทาสีและทาส. <O:p></O:p>
    ๑๘. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับแพะและแกะ. <O:p></O:p>
    ๑๙. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับไก่และสุกร. <O:p></O:p>
    ๒๐. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับช้างโคม้าและลา. <O:p></O:p>
    ๒๑. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับไร่นาและที่ดิน. <O:p></O:p>
    [] ๒๒. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้. <O:p></O:p>
    ๒๓. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการซื้อการขาย. <O:p></O:p>
    ๒๔. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการโกงด้วยตราชั่งการโกงด้วยของปลอม<O:p></O:p>
    และการโกงด้วยเครื่องตวงวัด. <O:p></O:p>
    ๒๕. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการรับสินบนการล่อลวงและการตลบตะแลง.<O:p></O:p>
    ๒๖. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการตัดการฆ่าการจองจำการตีชิงการปล้น<O:p></O:p>
    และการกรรโชก. <O:p></O:p>
    จบจุลศีล. <O:p></O:p>
    มัชฌิมศีล<O:p></O:p>
    [] ดูกรภิกษุทั้งหลายอีกอย่างหนึ่งเมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคตพึงกล่าวเช่นนี้ว่า<O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการพรากพืชคามและภูตคามเช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังประกอบการพรากพืชคาม<O:p></O:p>
    และภูตคามเห็นปานนี้คือพืชเกิดแต่เง่าพืชเกิดแต่ลำต้นพืชเกิดแต่ผลพืชเกิดแต่ยอด<O:p></O:p>
    พืชเกิดแต่เมล็ดเป็นที่ครบห้า. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 9"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 890pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1187 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 10"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 842pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1123>[๑๐] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการบริโภคของที่ทำการสะสมไว้เช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังประกอบการบริโภคของ<O:p></O:p>
    ที่ทำการสะสมไว้เห็นปานนี้คือสะสมข้าวสะสมน้ำสะสมผ้าสะสมยานสะสมที่นอน<O:p></O:p>
    สะสมเครื่องประเทืองผิวสะสมของหอมสะสมอามิษ. <O:p></O:p>
    [๑๑] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศลเช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังขวนขวายดูการเล่นอัน<O:p></O:p>
    เป็นข้าศึกแก่กุศลเห็นปานนี้คือการฟ้อนการขับร้องการประโคมมหรสพมีการรำเป็นต้น<O:p></O:p>
    การเล่านิยายการเล่นปรบมือการเล่นปลุกผีการเล่นตีกลองฉากภาพบ้านเมืองที่สวยงาม<O:p></O:p>
    การเล่นของคนจัณฑาลการเล่นไม้สูงการเล่นหน้าศพชนช้างชนม้าชนกระบือชนโค<O:p></O:p>
    ชนแพะชนแกะชนไก่รบนกกระทารำกระบี่กระบองมวยชกมวยปล้ำการรบการตรวจพล<O:p></O:p>
    การจัดกระบวนทัพกองทัพ. <O:p></O:p>
    [๑๒] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการขวนขวายเล่นพนันอันเป็นที่ตั้งแห่งความ<O:p></O:p>
    ประมาทเช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยัง<O:p></O:p>
    ขวนขวายเล่นการพนันอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทเห็นปานนี้คือเล่นหมากรุกแถวละ<O:p></O:p>
    แปดตาแถวละสิบตาเล่นหมากเก็บเล่นดวดเล่นหมากไหวเล่นโยนบ่วงเล่นไม้หึ่ง<O:p></O:p>
    เล่นกำทายเล่นสะกาเล่นเป่าใบไม้เล่นไถน้อยๆเล่นหกคะเมนเล่นกังหันเล่นตวงทราย<O:p></O:p>
    เล่นรถน้อยๆเล่นธนูน้อยๆเล่นเขียนทายกันเล่นทายใจเล่นเลียนคนพิการ. <O:p></O:p>
    [๑๓] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่เช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอัน<O:p></O:p>
    สูงใหญ่เห็นปานนี้คือเตียงมีเท้าเกินประมาณเตียงมีเท้าทำเป็นรูปสัตว์ร้ายผ้าโกเชาว์ขนยาว<O:p></O:p>
    เครื่องลาดที่ทำด้วยขนแกะวิจิตรด้วยลวดลายเครื่องลาดที่ทำด้วยขนแกะสีขาวเครื่องลาดที่มี<O:p></O:p>
    สัณฐานเป็นช่อดอกไม้เครื่องลาดที่ยัดนุ่นเครื่องลาดขนแกะวิจิตรด้วยรูปสัตว์ร้ายมีสีหะและ<O:p></O:p>
    เสือเป็นต้นเครื่องลาดขนแกะมีขนตั้งเครื่องลาดขนแกะมีขนข้างเดียวเครื่องลาดทองและเงิน<O:p></O:p>
    แกมไหมเครื่องลาดไหมขลิบทองและเงินเครื่องลาดขนแกะจุนางฟ้อน๑๖คนเครื่องลาด<O:p></O:p>
    หลังช้างเครื่องลาดหลังม้าเครื่องลาดในรถเครื่องลาดที่ทำด้วยหนังสัตว์ชื่ออชินะอันมีขน<O:p></O:p>
    อ่อนนุ่มเครื่องลาดอย่างดีทำด้วยหนังชะมดเครื่องลาดมีเพดานเครื่องลาดมีหมอนข้าง. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 11"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 885pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1180 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 12"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 837pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1116>[๑๔] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการประกอบการประดับตบแต่งร่างกายอันเป็น<O:p></O:p>
    ฐานแห่งการแต่งตัวเช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธา<O:p></O:p>
    แล้วยังขวนขวายประกอบการประดับตบแต่งร่างกายอันเป็นฐานแห่งการแต่งตัวเห็นปานนี้<O:p></O:p>
    คืออบตัวไคลอวัยวะอาบน้ำหอมนวดส่องกระจกแต้มตาทัดดอกไม้ประเทืองผิว<O:p></O:p>
    ผัดหน้าทาปากประดับข้อมือสวมเกี้ยวใช้ไม้เท้าใช้กลักยาใช้ดาบใช้ขรรค์ใช้ร่ม<O:p></O:p>
    สวมรองเท้าประดับวิจิตรติดกรอบหน้าปักปิ่นใช้พัดวาลวิชนีนุ่งห่มผ้าขาวนุ่งห่มผ้ามีชาย. <O:p></O:p>
    ติรัจฉานกถา<O:p></O:p>
    [๑๕] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากติรัจฉานกถาเช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญ<O:p></O:p>
    บางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังประกอบติรัจฉานกถาเห็นปานนี้คือพูดเรื่อง<O:p></O:p>
    พระราชาเรื่องโจรเรื่องมหาอำมาตย์เรื่องกองทัพเรื่องภัยเรื่องรบเรื่องข้าวเรื่องน้ำ<O:p></O:p>
    เรื่องผ้าเรื่องที่นอนเรื่องดอกไม้เรื่องของหอมเรื่องญาติเรื่องยานเรื่องบ้านเรื่องนิคม<O:p></O:p>
    เรื่องนครเรื่องชนบทเรื่องสตรีเรื่องบุรุษเรื่องคนกล้าหาญเรื่องตรอกเรื่องท่าน้ำ<O:p></O:p>
    เรื่องคนที่ล่วงลับไปแล้วเรื่องเบ็ดเตล็ดเรื่องโลกเรื่องทะเลเรื่องความเจริญและความเสื่อม<O:p></O:p>
    ด้วยประการนั้นๆ. <O:p></O:p>
    [๑๖] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการกล่าวถ้อยคำแก่งแย่งกันเช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังกล่าวถ้อยคำแก่งแย่งกัน<O:p></O:p>
    เห็นปานนี้เช่นว่าท่านไม่รู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ข้าพเจ้ารู้ทั่วถึงท่านจักรู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ได้<O:p></O:p>
    อย่างไรท่านปฏิบัติผิดข้าพเจ้าปฏิบัติถูกถ้อยคำของข้าพเจ้าเป็นประโยชน์ของท่านไม่เป็น<O:p></O:p>
    ประโยชน์คำที่ควรจะกล่าวก่อนท่านกลับกล่าวภายหลังคำที่ควรจะกล่าวภายหลังท่านกลับ<O:p></O:p>
    กล่าวก่อนข้อที่ท่านเคยช่ำชองมาผันแปรไปแล้วข้าพเจ้าจับผิดวาทะของท่านได้แล้วข้าพเจ้า<O:p></O:p>
    ข่มท่านได้แล้วท่านจงถอนวาทะเสียมิฉะนั้นจงแก้ไขเสียถ้าสามารถ.<O:p></O:p>
    [๑๗] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้เช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังขวนขวายประกอบทูตกรรม<O:p></O:p>
    และการรับใช้เห็นปานนี้คือรับเป็นทูตของพระราชาราชอำมาตย์กษัตริย์พราหมณ์คฤหบดี<O:p></O:p>
    และกุมารว่าท่านจงไปในที่นี้ท่านจงไปในที่โน้นท่านจงนำเอาสิ่งนี้ไปท่านจงนำเอาสิ่งนี้ใน<O:p></O:p>
    ที่โน้นมาดังนี้. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 13"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 884pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1179 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 14"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 836pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1115>[๑๘] ๑๐. พระสมณโคดมเว้นขาดจากการพูดหลอกลวงและการพูดเลียบเคียงเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังพูดหลอกลวงพูด<O:p></O:p>
    เลียบเคียงพูดหว่านล้อมพูดและเล็มแสวงหาลาภด้วยลาภ. <O:p></O:p>
    จบมัชฌิมศีล. <O:p></O:p>
    มหาศีล<O:p></O:p>
    ติรัจฉานวิชา<O:p></O:p>
    [๑๙] ดูกรภิกษุทั้งหลายอีกอย่างหนึ่งเมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคตพึงกล่าวเช่นนี้ว่า<O:p></O:p>
    . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่นอย่างที่<O:p></O:p>
    สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วย<O:p></O:p>
    ติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือทายอวัยวะทายนิมิตทายอุปบาต ทำนายฝันทำนายลักษณะ<O:p></O:p>
    ทำนายหนูกัดผ้าทำพิธีบูชาไฟทำพิธีเบิกแว่นเวียนเทียนทำพิธีซัดแกลบบูชาไฟทำพิธีซัดรำ<O:p></O:p>
    บูชาไฟทำพิธีซัดข้าวสารบูชาไฟทำพิธีเติมเนยบูชาไฟทำพิธีเติมน้ำมันบูชาไฟทำพิธีเสกเป่า<O:p></O:p>
    บูชาไฟทำพลีกรรมด้วยโลหิตเป็นหมอดูอวัยวะดูลักษณะที่บ้านดูลักษณะที่นาเป็นหมอ<O:p></O:p>
    ปลุกเสกเป็นหมอผีเป็นหมอลงเลขยันต์คุ้มกันบ้านเรือนเป็นหมองูเป็นหมอยาพิษเป็น<O:p></O:p>
    หมอแมลงป่องเป็นหมอรักษาแผลหนูกัดเป็นหมอทายเสียงนกเป็นหมอทางเสียงกาเป็น<O:p></O:p>
    หมอทายอายุเป็นหมอเสกกันลูกศรเป็นหมอทายเสียงสัตว์. <O:p></O:p>
    [๒๐] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด<O:p></O:p>
    ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือทายลักษณะแก้วมณีทายลักษณะไม้พลองทายลักษณะผ้า<O:p></O:p>
    ทายลักษณะศาตราทายลักษณะดาบทายลักษณะศรทายลักษณะธนูทายลักษณะอาวุธ<O:p></O:p>
    ทายลักษณะสตรีทายลักษณะบุรุษทายลักษณะกุมารทายลักษณะกุมารีทายลักษณะทาส<O:p></O:p>
    ทายลักษณะทาสีทายลักษณะช้างทายลักษณะม้าทายลักษณะกระบือทายลักษณะโคอุสภะ<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 15"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 877pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1169 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 16"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 829pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1105>ทายลักษณะโคทายลักษณะแพะทายลักษณะแกะทายลักษณะไก่ทายลักษณะนกกระทา<O:p></O:p>
    ทายลักษณะเหี้ยทายลักษณะตุ่นทายลักษณะเต่าทายลักษณะมฤค.<O:p></O:p>
    [๒๑] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด<O:p></O:p>
    ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือดูฤกษ์ยาตราทัพว่าพระราชาจักยกออกพระราชาจักไม่ยกออก<O:p></O:p>
    พระราชาภายในจักยกเข้าประชิดพระราชาภายนอกจักถอยพระราชาภายนอกจักยกเข้าประชิด<O:p></O:p>
    พระราชาภายในจักถอยพระราชาภายในจักมีชัยพระราชาภายนอกจักปราชัยพระราชาภายนอก<O:p></O:p>
    จักมีชัยพระราชาภายในจักปราชัยพระราชาพระองค์นี้จักมีชัยพระราชาพระองค์นี้จักปราชัย<O:p></O:p>
    เพราะเหตุนี้ๆ.<O:p></O:p>
    [๒๒] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด<O:p></O:p>
    ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือพยากรณ์ว่าจักมีจันทรคราสจักมีสุริยคราสจักมีนักษัตรคราส<O:p></O:p>
    ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินถูกทางดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินผิดทางดาวนักษัตรจักเดินถูกทาง<O:p></O:p>
    ดาวนักษัตรจักเดินผิดทางจักมีอุกกาบาตจักมีดาวหางจักมีแผ่นดินไหวจักมีฟ้าร้อง<O:p></O:p>
    ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักขึ้นดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักตกดวงจันทร์<O:p></O:p>
    ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักมัวหมองดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักกระจ่างจันทร<O:p></O:p>
    คราสจักมีผลเป็นอย่างนี้สุริยคราสจักมีผลเป็นอย่างนี้นักษัตรคราสจักมีผลเป็นอย่างนี้ดวงจันทร์<O:p></O:p>
    ดวงอาทิตย์เดินถูกทางจักมีผลเป็นอย่างนี้ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินผิดทางจักมีผลเป็นอย่างนี้<O:p></O:p>
    ดาวนักษัตรเดินถูกทางจักมีผลเป็นอย่างนี้ดาวนักษัตรเดินผิดทางจักมีผลเป็นอย่างนี้มีอุกกาบาต<O:p></O:p>
    จักมีผลเป็นอย่างนี้มีดาวหางจักมีผลเป็นอย่างนี้แผ่นดินไหวจักมีผลเป็นอย่างนี้ฟ้าร้องจักมีผล<O:p></O:p>
    เป็นอย่างนี้ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรขึ้นจักมีผลเป็นอย่างนี้ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์<O:p></O:p>
    และดาวนักษัตรตกจักมีผลเป็นอย่างนี้ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรมัวหมองจักมีผลเป็น<O:p></O:p>
    อย่างนี้ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรกระจ่างจักมีผลเป็นอย่างนี้. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 17"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 886pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1181 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 18; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 838pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1117 colSpan=2>[๒๓] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด<O:p></O:p>
    ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือพยากรณ์ว่าจักมีฝนดีจักมีฝนแล้งจักมีภิกษาหาได้ง่าย<O:p></O:p>
    จักมีภิกษาหาได้ยากจักมีความเกษมจักมีภัยจักเกิดโรคจักมีความสำราญหาโรคมิได้หรือ<O:p></O:p>
    นับคะแนนคำนวณนับประมวลแต่งกาพย์โลกายตศาสตร์<O:p></O:p>
    [๒๔] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด<O:p></O:p>
    ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือให้ฤกษ์อาวาหมงคลฤกษ์วิวาหมงคลดูฤกษ์เรียงหมอน<O:p></O:p>
    ดูฤกษ์หย่าร้างดูฤกษ์เก็บทรัพย์ดูฤกษ์จ่ายทรัพย์ดูโชคดีดูเคราะห์ร้ายให้ยาผดุงครรภ์<O:p></O:p>
    ร่ายมนต์ให้ลิ้นกระด้างร่ายมนต์ให้คางแข็งร่ายมนต์ให้มือสั่นร่ายมนต์ไม่ให้หูได้ยินเสียง<O:p></O:p>
    เป็นหมอทรงกระจกเป็นหมอทรงหญิงสาวเป็นหมอทรงเจ้าบวงสรวงพระอาทิตย์บวงสรวง<O:p></O:p>
    ท้าวมหาพรหมร่ายมนต์พ่นไฟทำพิธีเชิญขวัญ. <O:p></O:p>
    [๒๕] . พระสมณโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเช่น<O:p></O:p>
    อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด<O:p></O:p>
    ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือทำพิธีบนบานทำพิธีแก้บนร่ายมนต์ขับผีสอนมนต์ป้องกัน<O:p></O:p>
    บ้านเรือนทำกะเทยให้กลับเป็นชายทำชายให้กลายเป็นกะเทยทำพิธีปลูกเรือนทำพิธี<O:p></O:p>
    บวงสรวงพื้นที่พ่นน้ำมนต์รดน้ำมนต์ทำพิธีบูชาไฟปรุงยาสำรอกปรุงยาถ่ายปรุงยาถ่ายโทษ<O:p></O:p>
    เบื้องบนปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่างปรุงยาแก้ปวดศีรษะหุงน้ำมันหยอดหูปรุงยาตาปรุงยานัดถุ์<O:p></O:p>
    ปรุงยาทากัดปรุงยาทาสมานป้ายยาตาทำการผ่าตัดรักษาเด็กใส่ยาชะแผล<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายข้อที่ปุถุชนกล่าวชมตถาคตจะพึงกล่าวด้วยประการใดซึ่งมีประมาณ<O:p></O:p>
    น้อยยังต่ำนักเป็นเพียงศีลนั้นเท่านี้แล. <O:p></O:p>
    จบมหาศีล.<O:p></O:p>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><O:p></O:p>
    ทิฏฐิ๖๒<O:p></O:p>
    [๒๖] ดูกรภิกษุทั้งหลายยังมีธรรมอย่างอื่นอีกแลที่ลึกซึ้งเห็นได้ยากรู้ตามได้ยาก<O:p></O:p>
    สงบประณีตจะคาดคะเนเอาไม่ได้ละเอียดรู้ได้เฉพาะบัณฑิตซึ่งตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญา<O:p></O:p>
    อันยิ่งเองแล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้งที่เป็นเหตุให้กล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมเหล่านั้นเป็นไฉน? <O:p></O:p>
    . ปุพพันตกัปปิกาทิฏฐิ๑๘<O:p></O:p>
    [๒๗] ดูกรภิกษุทั้งหลายมีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งกำหนดขันธ์ส่วนอดีตมีความเห็น<O:p></O:p>
    ไปตามขันธ์ส่วนอดีตปรารภขันธ์ส่วนอดีตกล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิดด้วยเหตุ๑๘ประการ<O:p></O:p>
    ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้นอาศัยอะไรปรารภอะไรจึงกำหนดขันธ์ส่วนอดีตมีความเห็น<O:p></O:p>
    ไปตามขันธ์ส่วนอดีตปรารภขันธ์ส่วนอดีตกล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิดด้วยเหตุ๑๘ประการ. <O:p></O:p>
    สัสสตทิฏฐิ<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายมีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งมีทิฏฐิว่าเที่ยงบัญญัติอัตตาและโลก<O:p></O:p>
    ว่าเที่ยงด้วยเหตุประการก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้นอาศัยอะไรปรารภอะไร<O:p></O:p>
    จึงมีทิฏฐิว่าเที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยงด้วยเหตุประการ? <O:p></O:p>
    ปุพเพนิวาสานุสสติ<O:p></O:p>
    . ดูกรภิกษุทั้งหลายสมณะหรือพราหมณ์บางคนในโลกนี้อาศัยความเพียรเครื่อง<O:p></O:p>
    เผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบเนืองๆอาศัยความไม่ประมาทอาศัย<O:p></O:p>
    มนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัย<O:p></O:p>
    อยู่ในกาลก่อนได้หลายประการคือตามระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้างสองชาติบ้างสามชาติบ้าง<O:p></O:p>
    สี่ชาติบ้างห้าชาติบ้างสิบชาติบ้างยี่สิบชาติบ้างสามสิบชาติบ้างสี่สิบชาติบ้างห้าสิบชาติบ้าง<O:p></O:p>
    ร้อยชาติบ้างพันชาติบ้างแสนชาติบ้างหลายร้อยชาติบ้างหลายพันชาติบ้างหลายแสนชาติ<O:p></O:p>
    บ้างว่าในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้น<O:p></O:p>
    เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพ<O:p></O:p>
    โน้นแม้ในภพนั้นเราก็ได้มีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 899pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1199 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 851pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1135>เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาบังเกิด<O:p></O:p>
    ในภพนี้ย่อมตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการพร้อมทั้งอาการ<O:p></O:p>
    พร้อมทั้งอุเทศฉะนี้เขากล่าวอย่างนี้ว่าอัตตาและโลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขา<O:p></O:p>
    ตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียดส่วนเหล่าสัตว์นั้นย่อมแล่นไปย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิด<O:p></O:p>
    แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้ข้อนั้นเพราะเหตุไรเพราะเหตุว่าข้าพเจ้าอาศัยความเพียร<O:p></O:p>
    เครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบเนืองๆอาศัยความไม่ประมาท<O:p></O:p>
    อาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์<O:p></O:p>
    ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการคือตามระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้างสองชาติบ้าง<O:p></O:p>
    สามชาติบ้างสี่ชาติบ้างห้าชาติบ้างสิบชาติบ้างยี่สิบชาติบ้างสามสิบชาติบ้างสี่สิบชาติบ้าง<O:p></O:p>
    ห้าสิบชาติบ้างร้อยชาติบ้างพันชาติบ้างแสนชาติบ้างหลายร้อยชาติบ้างหลายพันชาติบ้าง<O:p></O:p>
    หลายแสนชาติบ้างว่าในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้น<O:p></O:p>
    มีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากภพนั้น<O:p></O:p>
    แล้วได้ไปเกิดในภพโน้นแม้ในภพนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้น<O:p></O:p>
    มีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากภพนั้น<O:p></O:p>
    แล้วได้มาบังเกิดในภพนี้ย่อมตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ<O:p></O:p>
    พร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุเทศฉะนี้ด้วยการได้บรรลุคุณวิเศษนี้ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่อัตตา<O:p></O:p>
    และโลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขาตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียดส่วนเหล่าสัตว์นั้น<O:p></O:p>
    ย่อมแล่นไปย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิดแต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้ดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    นี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่าเที่ยง<O:p></O:p>
    ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง. <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    สัสสตทิฏฐิ<O:p></O:p>
    [๒๘] . อนึ่งในฐานะที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไรปรารภอะไรจึงมีทิฏฐิ<O:p></O:p>
    ว่าเที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง? ดูกรภิกษุทั้งหลายสมณะหรือพราหมณ์บางคนในโลกนี้<O:p></O:p>
    อาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบเนืองๆอาศัยความ<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 888pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1184 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 840pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1120>ไม่ประมาทอาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิตตามระลึก<O:p></O:p>
    ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการคือตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน<O:p></O:p>
    ได้สังวัฏฏวิวัฏฏกัปหนึ่งบ้างสองบ้างสามบ้างสี่บ้างห้าบ้างสิบบ้างว่าในกัปโน้นเรามีชื่อ<O:p></O:p>
    อย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ<O:p></O:p>
    มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้นแม้ในกัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น<O:p></O:p>
    มีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนด<O:p></O:p>
    อายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากนั้นแล้วได้มาบังเกิดในกัปนี้ย่อมตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่<O:p></O:p>
    ในกาลก่อนได้หลายประการพร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุเทศฉะนี้เขากล่าวอย่างนี้ว่าอัตตาและ<O:p></O:p>
    โลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขาตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียดส่วนเหล่าสัตว์นั้นย่อมแล่นไป<O:p></O:p>
    ย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิดแต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้ข้อนั้นเพราะเหตุไรเพราะ<O:p></O:p>
    เหตุว่าข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบ<O:p></O:p>
    เนืองๆอาศัยความไม่ประมาทอาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่น<O:p></O:p>
    แห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการคือตามระลึกถึงขันธ์ที่เคย<O:p></O:p>
    อาศัยอยู่ในกาลก่อนได้สังวัฏฏวิวัฏฏกัปหนึ่งบ้างสองบ้างสามบ้างสี่บ้างห้าบ้างสิบบ้าง<O:p></O:p>
    ว่าในกัปโน้นเรามีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้น<O:p></O:p>
    เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้น<O:p></O:p>
    แม้ในกัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นเสวยสุข<O:p></O:p>
    เสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากนั้นแล้วได้มาบังเกิดในกัปนี้ย่อม<O:p></O:p>
    ตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการพร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุเทศฉะนี้<O:p></O:p>
    ด้วยการได้บรรลุคุณวิเศษนี้ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่อัตตาและโลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขา<O:p></O:p>
    ตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียดส่วนเหล่าสัตว์นั้นย่อมแล่นไปย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิด<O:p></O:p>
    แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้ดูกรภิกษุทั้งหลายนี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง<O:p></O:p>
    อาศัยแล้วปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่าเที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 893pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1191 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 845pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1127>[๒๙] . อนึ่งในฐานะที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไรปรารภอะไรจึงมี<O:p></O:p>
    ทิฏฐิว่าเที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง? ดูกรภิกษุทั้งหลายสมณะหรือพราหมณ์บางคน<O:p></O:p>
    ในโลกนี้อาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบ<O:p></O:p>
    เนืองๆอาศัยความไม่ประมาทอาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่น<O:p></O:p>
    แห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการคือตามระลึกถึงขันธ์ที่เคย<O:p></O:p>
    อาศัยอยู่ในกาลก่อนได้สิบสังวัฏฏวิวัฏฏกัปบ้างยี่สิบบ้างสามสิบบ้างสี่สิบบ้างว่าในกัปโน้น<O:p></O:p>
    เรามีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นได้เสวยสุขเสวยทุกข์<O:p></O:p>
    อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้นแม้ในกัปนั้น<O:p></O:p>
    เรามีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์<O:p></O:p>
    อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้นครั้นจุติจากนั้นแล้วได้มาบังเกิดในกัปนี้ย่อมตามระลึก<O:p></O:p>
    ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการพร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุเทศฉะนี้เขาจึง<O:p></O:p>
    กล่าวอย่างนี้ว่าอัตตาและโลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขาตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียด<O:p></O:p>
    ส่วนเหล่าสัตว์นั้นย่อมแล่นไปย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิดแต่สิ่งที่เที่ยงเสมอ<O:p></O:p>
    คงมีอยู่แท้ข้อนั้นเพราะเหตุไรเพราะเหตุว่าข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส<O:p></O:p>
    อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบเนืองๆอาศัยความไม่ประมาทอาศัยมนสิการ<O:p></O:p>
    โดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ใน<O:p></O:p>
    กาลก่อนได้หลายประการคือตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้สิบสังวัฏฏวิกัฏฏกัป<O:p></O:p>
    บ้างยี่สิบบ้างสามสิบบ้างสี่สิบบ้างว่าในกัปโน้นเรามีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้น<O:p></O:p>
    มีผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น<O:p></O:p>
    ครั้นจุติจากนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้นแม้ในกัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้นมีโคตรอย่างนั้นมี<O:p></O:p>
    ผิวพรรณอย่างนั้นมีอาหารอย่างนั้นเสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆมีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น<O:p></O:p>
    ครั้นจุติจากนั้นแล้วได้มาบังเกิดในกัปนี้ย่อมตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้<O:p></O:p>
    หลายประการพร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุเทศฉะนี้ด้วยการได้บรรลุคุณวิเศษนี้ข้าพเจ้าจึงรู้<O:p></O:p>
    อาการที่อัตตาและโลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขาตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียดส่วนเหล่าสัตว์นั้น<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 873pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1164 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 8"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 825pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1100>ย่อมแล่นไปย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิดแต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้ดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    นี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่าเที่ยงย่อม<O:p></O:p>
    บัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง.<O:p></O:p>
    [๓๐] . อนึ่งในฐานะที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไรปรารภอะไรจึงมี<O:p></O:p>
    ทิฏฐิว่าเที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง? ดูกรภิกษุทั้งหลายสมณะหรือพราหมณ์บางคน<O:p></O:p>
    ในโลกนี้เป็นนักตรึกเป็นนักค้นคิดกล่าวแสดงปฏิภาณของตนตามที่ตรึกได้ตามที่ค้นคิด<O:p></O:p>
    ได้อย่างนี้ว่าอัตตาและโลกเที่ยงคงที่ตั้งอยู่มั่นดุจยอดภูเขาตั้งอยู่มั่นดุจเสาระเนียดส่วนเหล่า<O:p></O:p>
    สัตว์นั้นย่อมแล่นไปย่อมท่องเที่ยวไปย่อมจุติย่อมเกิดแต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายนี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้วจึงมี<O:p></O:p>
    ทิฏฐิว่าเที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยงดูกรภิกษุทั้งหลายสมณพราหมณ์พวกนั้น<O:p></O:p>
    มีทิฏฐิว่าเที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยงด้วยเหตุประการนี้แล. <O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายก็สมณพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งที่มีทิฏฐิว่าเที่ยงจะบัญญัติอัตตา<O:p></O:p>
    และโลกว่าเที่ยงสมณพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมดย่อมบัญญัติด้วยเหตุประการนี้เท่านั้น<O:p></O:p>
    หรือแต่อย่างใดอย่างหนึ่งนอกจากนี้ไม่มี. <O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายเรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่าฐานะเป็นที่ตั้งแห่งทิฏฐิเหล่านี้อันบุคคลถือไว้<O:p></O:p>
    อย่างนั้นแล้วยึดไว้อย่างนั้นแล้วย่อมมีคติอย่างนั้นมีภพเบื้องหน้าอย่างนั้นและตถาคตย่อม<O:p></O:p>
    รู้เหตุนั้นชัดทั้งรู้ชัดยิ่งกว่านั้นทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วยเมื่อไม่ยึดมั่นก็ทราบความเกิดขึ้น<O:p></O:p>
    ความดับไปคุณและโทษของเวทนาทั้งหลายกับอุบายเป็นเครื่องออกไปจากเวทนาเหล่านั้น<O:p></O:p>
    ตามความเป็นจริงจึงทราบความดับได้เฉพาะตนเพราะไม่ถือมั่นตถาคตจึงหลุดพ้น. <O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายธรรมเหล่านี้แลที่ลึกซึ้งเห็นได้ยากรู้ตามได้ยากสงบประณีต<O:p></O:p>
    จะคาดคะเนเอาไม่ได้ละเอียดรู้ได้เฉพาะบัณฑิตซึ่งตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง<O:p></O:p>
    แล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้งที่เป็นเหตุให้กล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ. <O:p></O:p>
    จบภาณวารที่หนึ่ง. <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 9"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 900pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1200 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 10"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 852pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1136>เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ<O:p></O:p>
    [๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลายมีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่าง<O:p></O:p>
    ไม่เที่ยงจึงบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงด้วยเหตุประการ<O:p></O:p>
    ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญพวกนั้นอาศัยอะไรปรารภอะไรจึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่าง<O:p></O:p>
    ไม่เที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงด้วยเหตุประการ? <O:p></O:p>
    . () ดูกรภิกษุทั้งหลายมีสมัยบางครั้งบางคราวโดยระยะกาลยืดยาวช้านาน<O:p></O:p>
    ที่โลกนี้พินาศเมื่อโลกกำลังพินาศอยู่โดยมากเหล่าสัตว์ย่อมเกิดในชั้นอาภัสสรพรหมสัตว์<O:p></O:p>
    เหล่านั้นได้สำเร็จทางใจมีปีติเป็นอาหารมีรัศมีซ่านออกจากกายตนเองสัญจรไปได้ในอากาศ<O:p></O:p>
    อยู่ในวิมานอันงามสถิตอยู่ในภพนั้นสิ้นกาลยืดยาวช้านานดูกรภิกษุทั้งหลายมีสมัยบางครั้ง<O:p></O:p>
    บางคราวโดยระยะกาลยืดยาวช้านานที่โลกนี้กลับเจริญเมื่อโลกกำลังเจริญอยู่วิมานของพรหม<O:p></O:p>
    ปรากฏว่าว่างเปล่าครั้งนั้นสัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากชั้นอาภัสสรพรหมเพราะสิ้นอายุหรือเพราะ<O:p></O:p>
    สิ้นบุญย่อมเข้าถึงวิมานพรหมที่ว่างเปล่าแม้สัตว์ผู้นั้นก็ได้สำเร็จทางใจมีปีติเป็นอาหาร<O:p></O:p>
    มีรัศมีซ่านออกจากกายตนเองสัญจรไปได้ในอากาศอยู่ในวิมานอันงามสถิตอยู่ในภพนั้น<O:p></O:p>
    สิ้นกาลยืดยาวช้านานเพราะสัตว์ผู้นั้นอยู่ในวิมานนั้นแต่ผู้เดียวเป็นเวลานานจึงเกิดความกระสัน<O:p></O:p>
    ความดิ้นรนขึ้นว่าโอหนอแม้สัตว์เหล่าอื่นก็พึงมาเป็นอย่างนี้บ้างต่อมาสัตว์เหล่าอื่นก็จุติจาก<O:p></O:p>
    ชั้นอาภัสสรพรหมเพราะสิ้นอายุหรือเพราะสิ้นบุญย่อมเข้าถึงวิมานพรหมเป็นสหายของสัตว์<O:p></O:p>
    ผู้นั้นแม้สัตว์พวกนั้นก็ได้สำเร็จทางใจมีปีติเป็นอาหารมีรัศมีซ่านออกจากกายตนเองสัญจร<O:p></O:p>
    ไปได้ในอากาศอยู่ในวิมานอันงามสถิตอยู่ในภพนั้นสิ้นกาลยืดยาวช้านานดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    บรรดาสัตว์จำพวกนั้นผู้ใดเกิดก่อนผู้นั้นย่อมมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่าเราเป็นพรหมเราเป็น<O:p></O:p>
    มหาพรหมเป็นใหญ่ไม่มีใครข่มได้เห็นถ่องแท้เป็นผู้กุมอำนาจเป็นอิสระเป็นผู้สร้าง<O:p></O:p>
    เป็นผู้นิรมิตเป็นผู้ประเสริฐเป็นผู้บงการเป็นผู้ทรงอำนาจเป็นบิดาของหมู่สัตว์ผู้เป็นแล้ว<O:p></O:p>
    และกำลังเป็นสัตว์เหล่านี้เรานิรมิตข้อนั้นเพราะเหตุไรเพราะเหตุว่าเราได้มีความคิดอย่างนี้<O:p></O:p>
    ก่อนว่าโอหนอแม้สัตว์เหล่าอื่นก็พึงมาเป็นอย่างนี้บ้างความตั้งใจของเราเป็นเช่นนี้และ<O:p></O:p>
    สัตว์เหล่านี้ก็ได้มาเป็นอย่างนี้แล้วแม้พวกสัตว์ที่เกิดภายหลังก็มีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 11"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 887pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1183 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 12"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 839pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1119>ท่านผู้เจริญนี้แลเป็นพรหมเป็นมหาพรหมเป็นใหญ่ไม่มีใครข่มได้เห็นถ่องแท้เป็นผู้กุมอำนาจ<O:p></O:p>
    เป็นอิสระเป็นผู้สร้างเป็นผู้นิรมิตเป็นผู้ประเสริฐเป็นผู้บงการเป็นผู้ทรงอำนาจเป็นบิดา<O:p></O:p>
    ของหมู่สัตว์ผู้เป็นแล้วและกำลังเป็นพวกเราอันพระพรหมผู้เจริญนี้นิรมิตแล้วข้อนั้นเพราะ<O:p></O:p>
    เหตุไรเพราะเหตุว่าพวกเราได้เห็นพระพรหมผู้เจริญนี้เกิดในที่นี้ก่อนส่วนพวกเราเกิดภายหลัง<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายบรรดาสัตว์จำพวกนั้นผู้ใดเกิดก่อนผู้นั้นมีอายุยืนกว่ามีผิวพรรณกว่า<O:p></O:p>
    มีศักดิ์มากกว่าส่วนผู้ที่เกิดภายหลังมีอายุน้อยกว่ามีผิวพรรณทรามกว่ามีศักดิ์น้อยกว่า<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายก็เป็นฐานะที่จะมีได้แลที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากชั้นนั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้<O:p></O:p>
    เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้วก็ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเมื่อบวชแล้วอาศัยความเพียรเป็น<O:p></O:p>
    เครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบเนืองๆอาศัยความไม่ประมาท<O:p></O:p>
    อาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคย<O:p></O:p>
    อาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้หลังแต่นั้นไประลึกไม่ได้เขาจึงได้กล่าวอย่างนี้ว่าท่านผู้ใดแลเป็น<O:p></O:p>
    พรหมเป็นมหาพรหมเป็นใหญ่ไม่มีใครข่มได้เห็นถ่องแท้เป็นผู้กุมอำนาจเป็นอิสระ<O:p></O:p>
    เป็นผู้สร้างเป็นผู้นิรมิตเป็นผู้ประเสริฐเป็นผู้บงการเป็นผู้ทรงอำนาจเป็นบิดาของหมู่สัตว์<O:p></O:p>
    ผู้เป็นแล้วและกำลังเป็นพระพรหมผู้เจริญใดที่นิรมิตพวกเราพระพรหมผู้เจริญนั้นเป็นผู้เที่ยง<O:p></O:p>
    ยั่งยืนคงทนมีอันไม่แปรผันเป็นธรรมดาจักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปเช่นนั้นทีเดียวส่วนพวกเรา<O:p></O:p>
    ที่พระพรหมผู้เจริญนั้นนิรมิตแล้วนั้นเป็นผู้ไม่เที่ยงไม่ยั่งยืนมีอายุน้อยยังต้องจุติมาเป็นอย่างนี้<O:p></O:p>
    เช่นนี้ดูกรภิกษุทั้งหลายนี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้ว<O:p></O:p>
    จึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยง<O:p></O:p>
    บางอย่างไม่เที่ยง. <O:p></O:p>
    [๓๒] . () อนึ่งในฐานะที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไรปรารภอะไร<O:p></O:p>
    จึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่าง<O:p></O:p>
    ไม่เที่ยง? ดูกรภิกษุทั้งหลายพวกเทวดาชื่อว่าขิฑฑาปโทสิกะมีอยู่พวกนั้นพากันหมกมุ่นอยู่แต่<O:p></O:p>
    ในความรื่นรมย์คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลาเมื่อพวกนั้นพากันหมกมุ่น<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 13"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 889pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1185 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 14"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 841pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1121>อยู่แต่ในความรื่นรมย์คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลาสติก็ย่อมหลงลืมเพราะสติ<O:p></O:p>
    หลงลืมจึงพากันจุติจากชั้นนั้นดูกรภิกษุทั้งหลายก็เป็นฐานะที่จะมีได้แลที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่ง<O:p></O:p>
    จุติจากชั้นนั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้วจึงออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต<O:p></O:p>
    เมื่อบวชแล้วอาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบ<O:p></O:p>
    เนืองๆอาศัยความไม่ประมาทอาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็น<O:p></O:p>
    เครื่องตั้งมั่นแห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้หลังแต่นั้นไประลึกไม่ได้<O:p></O:p>
    เขาจึงกล่าวอย่างนี้ว่าท่านพวกเทวดาผู้มิใช่เหล่าขิฑฑาปโทสิกะย่อมไม่พากันหมกมุ่นอยู่แต่ใน<O:p></O:p>
    ความรื่นรมย์คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลาเมื่อพวกนั้นไม่พากันหมกมุ่นอยู่แต่<O:p></O:p>
    ในความรื่นรมย์คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลาสติย่อมไม่หลงลืมเพราะสติ<O:p></O:p>
    ไม่หลงลืมพวกเหล่านั้นจึงไม่จุติจากชั้นนั้นเป็นผู้เที่ยงยั่งยืนคงทนมีอันไม่แปรผัน<O:p></O:p>
    เป็นธรรมดาจักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปเช่นนั้นทีเดียวส่วนพวกเราเหล่าขิฑฑาปโทสิกะหมกมุ่น<O:p></O:p>
    อยู่แต่ในความรื่นรมย์คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลาเมื่อพวกเรานั้นพากันหมกมุ่น<O:p></O:p>
    อยู่แต่ในความรื่นรมย์คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลาสติย่อมหลงลืมเพราะสติ<O:p></O:p>
    หลงลืมพวกเราจึงพากันจุติจากชั้นนั้นเป็นผู้ไม่เที่ยงไม่ยั่งยืนมีอายุน้อยยังต้องจุติมาเป็นอย่างนี้<O:p></O:p>
    เช่นนี้ดูกรภิกษุทั้งหลายนี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้ว<O:p></O:p>
    จึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยง<O:p></O:p>
    บางอย่างไม่เที่ยง. <O:p></O:p>
    [๓๓] . () อนึ่งในฐานะที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไรปรารภอะไร<O:p></O:p>
    จึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่าง<O:p></O:p>
    ไม่เที่ยง? ดูกรภิกษุทั้งหลายพวกเทวดาชื่อว่ามโนปโทสิกะมีอยู่พวกนั้นมักเพ่งโทษกันและกัน<O:p></O:p>
    เกินควรเมื่อมัวเพ่งโทษกันเกินควรย่อมคิดมุ่งร้ายกันและกันเมื่อต่างคิดมุ่งร้ายกันและกัน<O:p></O:p>
    จึงลำบากกายลำบากใจพากันจุติจากชั้นนั้นดูกรภิกษุทั้งหลายก็เป็นฐานะที่จะมีได้แลที่สัตว์<O:p></O:p>
    ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากชั้นนั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้วออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต<O:p></O:p>
    เมื่อบวชแล้วอาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลสอาศัยความเพียรที่ตั้งมั่นอาศัยความประกอบ<O:p></O:p>
    เนืองๆอาศัยความไม่ประมาทอาศัยมนสิการโดยชอบแล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 15"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 887pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1183 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 16"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 839pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1119>แห่งจิตตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้หลังแต่นั้นไประลึกไม่ได้เขาจึงกล่าว<O:p></O:p>
    อย่างนี้ว่าท่านพวกเทวดาผู้มิใช่เหล่ามโนปโทสิกะย่อมไม่มัวเพ่งโทษกันและกันเกินควร<O:p></O:p>
    เมื่อไม่มัวเพ่งโทษกันและกันเกินควรก็ไม่คิดมุ่งร้ายกันและกันเมื่อต่างไม่คิดมุ่งร้ายกันและกัน<O:p></O:p>
    แล้วก็ไม่ลำบากกายไม่ลำบากใจพวกนั้นจึงไม่จุติจากชั้นนั้นเป็นผู้เที่ยงยั่งยืนคงที่มีอัน<O:p></O:p>
    ไม่แปรผันเป็นธรรมดาจักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปเช่นนั้นทีเดียวส่วนพวกเราได้เป็นพวก<O:p></O:p>
    มโนปโทสิกะมัวเพ่งโทษกันและกันเกินควรเมื่อมัวเพ่งโทษกันและกันเกินควรก็คิดมุ่งร้าย<O:p></O:p>
    กันและกันเมื่อต่างคิดมุ่งร้ายกันและกันก็พากันลำบากกายลำบากใจพวกเราจึงพากันจุติจาก<O:p></O:p>
    ชั้นนั้นเป็นผู้ไม่เที่ยงไม่ยั่งยืนมีอายุน้อยยังต้องจุติมาเป็นอย่างนี้เช่นนี้ดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    นี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยง<O:p></O:p>
    บางอย่างไม่เที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง.<O:p></O:p>
    [๓๔] . () อนึ่งในฐานะที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไรปรารภอะไร<O:p></O:p>
    จึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่าง<O:p></O:p>
    ไม่เที่ยง? ดูกรภิกษุทั้งหลายสมณะหรือพราหมณ์บางคนในโลกนี้เป็นนักตรึกเป็นนักค้นคิด<O:p></O:p>
    กล่าวแสดงปฏิภาณของตนตามที่ตรึกได้ตามที่ค้นคิดได้อย่างนี้ว่าสิ่งที่เรียกว่าจักษุก็ดีโสตะก็ดี<O:p></O:p>
    ฆานะก็ดีชิวหาก็ดีกายก็ดีนี้ได้ชื่อว่าอัตตาเป็นของไม่เที่ยงไม่ยั่งยืนไม่คงทนมีอัน<O:p></O:p>
    แปรผันเป็นธรรมดาส่วนสิ่งที่เรียกว่าจิตหรือใจหรือวิญญาณนี้ชื่อว่าอัตตาเป็นของเที่ยง<O:p></O:p>
    ยั่งยืนคงทนมีอันไม่แปรผันเป็นธรรมดาจักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปเช่นนั้นทีเดียวดูกรภิกษุทั้งหลาย<O:p></O:p>
    นี้เป็นฐานะที่ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้วปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยง<O:p></O:p>
    บางอย่างไม่เที่ยงย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง.<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายสมณพราหมณ์เหล่านั้นมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง<O:p></O:p>
    ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงด้วยเหตุประการนี้แล. <O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งมีทิฏฐิว่าบางอย่างเที่ยง<O:p></O:p>
    บางอย่างไม่เที่ยงจะบัญญัติอัตตาและโลกว่าบางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงสมณพราหมณ์<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 48pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top width=64>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 17"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 892pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1189 colSpan=2><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 18; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; WIDTH: 844pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=1125 colSpan=2>เหล่านั้นทั้งหมดย่อมบัญญัติด้วยเหตุประการนี้เท่านั้นหรือแต่อย่างใดอย่างหนึ่งนอกจาก<O:p></O:p>
    นี้ไม่มี. <O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายเรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่าฐานะที่ตั้งแห่งทิฏฐิเหล่านี้บุคคลถือไว้อย่างนั้น<O:p></O:p>
    แล้วยึดไว้อย่างนั้นแล้วย่อมมีคติอย่างนั้นมีภพเบื้องหน้าอย่างนั้นและตถาคตย่อมรู้เหตุนั้น<O:p></O:p>
    ชัดทั้งรู้ชัดยิ่งกว่านั้นทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วยเมื่อไม่ยึดมั่นก็ทราบความเกิดขึ้น<O:p></O:p>
    ความดับไปคุณและโทษของเวทนาทั้งหลายกับอุบายเป็นเครื่องออกไปจากเวทนาเหล่านั้น<O:p></O:p>
    ตามความเป็นจริงจึงทราบความดับเฉพาะตนเพราะไม่ถือมั่นตถาคตจึงหลุดพ้น.<O:p></O:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลายธรรมเหล่านี้แลที่ลึกซึ้งเห็นได้ยากรู้ตามได้ยากสงบประณีต<O:p></O:p>
    จะคาดคะเนเอาไม่ได้ละเอียดรู้ได้เฉพาะบัณฑิตซึ่งตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง<O:p></O:p>
    แล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้งที่เป็นเหตุให้กล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ.

    [MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.363750/[/MUSIC]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <O:p></O:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 กรกฎาคม 2008
  2. odd_dec

    odd_dec สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    28
    ค่าพลัง:
    +3
    ช่วยกรุณาด้วยครับ ติหน่อยครับ ไม่รู้ว่าพอจะไปรอดไหม ถ้าเสียงใช้ได้จะพยายาแก้ไขต่อไปครับ เผื่อได้ร่วมสร้างกุศล ชาติหน้าจะได้มีเสียงเพราะๆกับเขาบ้าง หลายท่านอ่านได้ดีมากๆ เลยครับ อนุโมทนาด้วยนะครับ
     
  3. kwanpeemai

    kwanpeemai Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2007
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +33
    เพราะดีคะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...