จิตพร้อม? รับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ภูภู, 6 เมษายน 2012.

  1. ภูภู

    ภูภู เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    3,042
    ค่าพลัง:
    +56,089
    ขอกล่าวคำว่า ยินดีต้อนรับ
    ขอขอบคุณD้hammanee ผู้ที่มีจิตใจอันใสซื่อ บริสุทธิ์ ที่แนะนำมาให้เข้าสู่ทางตรง ทางลัดเข้าสู่นิพพานกันแบบง่ายๆ
    แต่สำหรับผู้ที่คิดว่า พระนิพพานไกลเกินเอื้อม หรือนิพพานนั้นไม่มีจริง เพราะนิพพานเป็นสิ่งสสมุติกันขึ้นมากัน แต่ก็จริง
    แต่ผู้ที่จะสามารถพบคำว่า นิพพานกันได้ ก็อยู่ที่ผู้ปฎิบัติเท่านั้น ที่จะเป็นฝ่ายที่รู้ด้วยตนเอง
    หรือใครกินใครอิ่ม ใครทำใครได้ นั่นเอง

    จึงไม่แปลกสำำหรับผู้ที่ยังไม่เคยปฎิบัติธรรม หรือทำจิตเกาะพระได้เป็นผล
    ก็มิอาจรู้ซึ้งถึงใจกับ คำว่า จิตยกนั้น อาการหรืออารมณ์ของจิตมันเป็น เช่นไร
    คุณอย่าเพิ่งเชื่อ หรือไม่เชื่อผู้กระทำได้แล้วนั้น ขอให้คุณลองมาทำดูก่อน
    เพราะผู้ปฎิบัติ ที่ทำสำเร็จเท่านั้น จึงจะบอกกับตนเองได้ และผลของการปฎิบัตินั้น มันจะแตกต่างไปจากที่คุณดำเนินชีวิตตามปกติหรือไม่ เมื่อปฎิบัติไปได้สักพักนึง ศีลของเราก็จะเริ่มเข้ม ที่เข้มก็เพราะกำลังใจเริ่มมีมาก เพราะสติก็จะเริ่มมีมากขึ้น การตัดสินอะไรก็จะง่ายดายขึ้น เพราะเรามีสติมากขึ้น จิตจึงรวมตัว หรือจิตเป็นสมาธิดีขึ้น บุญกุศลจึงตามมาทีหลัง
    และวันนั้น วันที่ที่คุณปฎิบัติได้สำเร็จ คำตอบที่คุณสงสัยนั้น จะผุดออกมาให้คุณรู้ คุณเห็นเอง โดยที่คุณไม่ต้องไปถามใครๆ
    ในเมื่อตนเองตอบตนเองได้แล้ว เราจึงจะไปตอบกับผู้อื่นๆกันได้ในภายหลัง
    เพราะการทำจิตเกาะพระ มีลักษณะอยู่ในตัว
    ได้แก่...
    จิตทรงสมาธิ ทรงฌานได้ไว และที่สำคัญก็คือ ความต่อเนื่อง(อันนี้ถือว่า เป็นหัวใจสำหรับผู้ใฝ่ธรรม ผู้ปฎิบัติ หรือนักภาวนาทั่วๆไป)
    ที่ผมพูดมานี้ สำหรับผู้ที่กระทำกันได้สำเร็จนะ
    คนในกระทู้นี้ก็มีอยู่หลายท่าน และบุคคลภายนอกกระทู้ หรือนอกเวปพลังจิต

    แต่ขออย่าแอบทำ แอบทำไม่ว่าอะไรใครหรอก แต่มันจะช้า จะเสียเวลา เพราะถ้าใครยิ่งทำได้ช้า เห็นผลช้า เดี๋ยวจะถอดใจ เลิกปฎิบัติ คราวนี้คุณเสียโอกาสทองแน่ๆ ขอบกตามตรง
    นี่ที่บอกให้ทุกคนมาลองทำกัน นี่พวกเรามิได้เสียกะตังค์กันสักบาทเดียวเลยนะ และครูในกระทู้นี้ก็เก่งๆกันทั้งนั้น และสอนไม่ได้คิดหวังอะไรด้วย
    และสิ่งที่ให้กับคุณไปนั้นก็คือ การให้ เท่านั้น ที่พวกเราต้องการ

    ปล. จริงๆแล้วผมอยากแนะนำให้ไปหาครูเพ็ญ(natthapatpun) แต่เกรงใจท่านเหลือเกิน เพราะใครมาหาผม แต่ตอนนี้ผมไม่ค่อยจะมีเวลามาสอนใคร ใครมาหาผม ผมจะส่งต่อไปหาครูเพ็ญทุกรายไป เพราะช่วงนี้ยอมรับว่า เวลาไม่มีจริงๆ
    แต่ถ้าได้ครูดัชชี่นี่ก็ OK! คุณลูกพลังนี่ก็เยี่ยม คุณนกชายก็แจ๋ว คุณน้องหนูก็เลิศ คุณวิทย์ก็ดีมาก แต่ช่วงนี้ท่านไม่ค่อยสบาย(กำลังถูกทดสอบกำลังใจมาก) และครูทุกท่านในนี้เยี่ยมหมด

    ขอให้คุณเลือกเอาเองตามใจชอบ ขอให้ถูกจริตคุณอันเป็นใช้ได้หมด
    (สงสัยคุณ Dhammanee ท่านคงจะมาปิดท้ายรายการแน่ๆ)

    โชคดี+สวัสดี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 มิถุนายน 2012
  2. newwave1959

    newwave1959 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    200
    ค่าพลัง:
    +2,681
    [FONT=&quot]ตรวจศีล (ศีลขาด ศีลทะลุ ศีลด่าง ศีลพร้อย)[/FONT]
    [FONT=&quot] <hr style="color:white" align="center" noshade="noshade" size="1" width="100%"> [/FONT]​
    [FONT=&quot]ตรวจศีลข้อ1

    ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
    ศึกษาสมาทานเพื่อการลด งด เว้นขาดจากโทสะ
    เจตนารมณ์ศีลข้อ 1 เพื่อล้างโทสะ ละเบียดเบียน

    ศีลขาด
    คือ เจตนาทำชีวิตสัตว์ให้ตกร่วง และแสดงออกซึ่งอาการโทสะทางกาย เช่น เตะหมา ตีแมว ต่อยคน ประทุษร้ายใครด้วยความโกรธ ฯลฯ (อริยกันตศีลเป็นศีลละเอียดกว่าศีลสามัญญตา)

    ศีลทะลุ
    คือ เจตนากล่าววาจาด้วยโทสะ หรือโกรธ เช่น สั่งฆ่า สั่งทำร้าย หรือพูดกระแทกแดกดัน ยั่วกันด้วยโทสะ ด้วยความไม่ชอบใจ หมั่นไส้ และวาจาใดอันอดมิได้ต่อโทสะภายใน

    ศีลด่าง
    คือ มีใจโกรธ อึดอัด ขัดเคือง อาฆาต พยาบาท ถือสาชิงชัง รังเกียจ ไม่ชอบใจหรือปรุงใจเป็นไปด้วยโทสะ (ยังครุ่นคิดแค้น คิดทำร้าย คิดทำไม่ดีไม่งามกับผู้อื่นอยู่)

    ศีลพร้อย
    คือ มีใจเบื่อ ซึม เซ็ง ซังกะตาย ถดถอย ท้อแท้ ไม่ยินดี โลกนี้เป็นสีเทา (อรติ)

    เป็นไทโดยศีล
    คือ ขัดเกลาตนจนอิสระเสรี ไม่มีความพร้อย ความด่าง ความทะลุ หรือขาดทางศีลธรรม โดยเฉพาะสายโทสะละเบียดเบียนนี้ ซึ่งจะรู้ชัดได้ดี เมื่อมีเมตตาสมาทานอย่างต่อเนื่อง


    ตรวจศีลข้อ2

    ศีลข้อ 2 อทินฺนาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
    ศึกษาสมาทานเพื่อการลด งด เว้นขาด จากโลภะ
    เจตนารมณ์ศีลข้อ 2 เพื่อลดโลภะ ละตระหนี่ แม้ตน

    ศีลขาด
    คือ เจตนาขโมย โกง ปล้นจี้ ตีชิง ฉกฉวย แม้ที่สุดหยิบของผู้อื่นโดยมิได้รับอนุญาต

    ศีลทะลุ
    คือ เจตนากล่าววาจา เลียบเคียง ลวงเล็ม หลอกล่อ หรือพูดเพื่อให้ได้มาสมโลภ

    ศีลด่าง
    คือ มีใจเอาเปรียบ เห็นแก่ได้ คิดอยากใคร่ของคนอื่น หรืออาศัยนิมิตสมมุติ เพื่อให้ได้มาเพื่อให้ได้อยู่โดยไม่สมคุณค่าฐานะแห่งนิมิตสมมุติ (รูปแบบ, ตำแหน่งแต่งตั้ง) นั้นๆ

    ศีลพร้อย
    คือ มีใจยินดีทรัพย์สินของโลก ของคนอื่น หรือมอบตนอยู่บนทางแห่งการได้มาสมโลภ

    เป็นไทโดยศีล
    คือ ขัดเกลาตนจนอิสระเสรี ไม่หลงใหลยินดีทรัพย์สินของโลก และสิ้นความผลักใส ชิงชังทั้งไร้ตระหนี่ตน เป็นคนขวนขวายใฝ่สร้างสรร ขยันชนิดทำงานฟรี ไม่มีเรียกร้องสนองตอบ หรือไม่มีความพร้อย ความด่าง ความทะลุ หรือขาดทางศีลธรรม โดยเฉพาะสายโลภะละตระหนี่นี้ +++ (ฆราวาสครองเรือนจะพ้นศีลพร้อยได้ยากมาก แต่สามารถตรวจจับดับความยินดีในการได้มาได้...เมื่อต้องอยู่กับทรัพย์สินก็ ควรอยู่เหนือทรัพย์สิน)



    ตรวจศีลข้อ3

    ศีลข้อ 3 กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
    ศึกษาสมาทานเพื่อการลด งด เว้นขาด จากราคะ
    เจตนารมณ์ศีลข้อ 3 เพื่อลดราคะ ละกามารมณ์

    ศีลขาด
    คือ เจตนามีสัมพันธ์ทางเพศ หรือโลมเล้าจับต้อง เสพสุขสัมผัสกับผู้มิใช่คู่ครองของตน แม้ในคนที่ไม่ได้แต่งงานกัน (การบริโภคกามตามสถานค้าประเวณีจัดเป็นความผิดขั้นนี้)

    ศีลทะลุ
    คือ เจตนากล่าววาจาจีบเกี้ยว พูดแซวเชิงราคะ กระซิกกระซี้ สัพยอก หยอกเย้า เร้าให้รักใคร่ พูดไปเพื่อผูกพัน หรือบำบัดบำเรออารมณ์ โดยกามราคะขับดัน ทั้งที่ผู้นั้นมิใช่คู่ครองของตน

    ศีลด่าง
    คือ มีใจคิดปรุงไปในสัมพันธ์ทางเพศ หรือมีอารมณ์แปรปรวนป่วนฝันฟุ้งบำรุงกาม และเรื่องราวคาวกามลามไหล อยู่ในใจกับใครอื่นซึ่งไม่ใช่คู่ครองของตน (นัยละเอียดต้องจบจิตคิดใคร่)

    ศีลพร้อย
    คือ มีใจยินดีในกาม ความเป็นคู่กับผู้อื่น หรือยินดีพึงใจในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อันชวนกำหนัดรัดรึงจากเพศตรงข้ามที่ไม่ใช่คู่ครองของตน (นัยละเอียดจบสนิทจิตยินดีในกาม)

    เป็นไทโดยศีล
    คือ ขัดเกลาตนจนอิสระเสรี ไร้ความยินดีในกาม ไม่มีความพร้อย ความด่าง ความทะลุ หรือขาดทางศีลธรรม โดยเฉพาะสายราคะ ละกามารมณ์นี้ (ต้องศีล 8 จึงมีสิทธิเป็นไท)



    ตรวจศีลข้อ4

    ศีลข้อ 4 มุสาวาท เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
    ศึกษาสมาทานเพื่อการลด งด เว้นขาด จากความเท็จ ความไม่แท้
    เจตนารมณ์ศีลข้อ 4 เพื่อลดมุสา พัฒนาสัจจวาจา

    ศีลขาด
    คือ เจตนากล่าวคำเท็จ โกหก หลอกลวง บิดเบือนไปจากความจริง หรือสัจจะ

    ศีลทะลุ
    คือ เจตนากล่าววาจา ระบายโทสะ บำเรอโลภะ บำรุงราคะ เป็นคำหยาบ

    ศีลด่าง
    คือ มีวาจาส่อไปในทางเสียด เสียดสีเชิงโทสะบ้าง เสียดสีเชิงโลภะบ้าง เสียดสีเชิงราคะบ้าง เสียดสีเชิงมานะทิฏฐิบ้าง เสียดสีเชิงมานะอัตตาบ้าง แม้จางบางเบา หรือพูดกบคนโน้นทีคนนี้ที เพื่อให้เกิดวิวาทบาดหมาง แยกก๊ก แบ่งเหล่า ก็จัดเข้าอยู่นัยนี้ เป็นวาจาส่อเสียด

    ศีลพร้อย
    คือ มีวาจาเรื่อยเปื่อยเฉื่อยฉ่ำไป เพ้อไป พล่อยไป พล่ามไป จะโดยแรงเร้าจากโทสะที่จากบางเบา โลภะที่จางบางเบา ราคะที่จางบางเบา หรือมานะทิฏฐิที่จางบางเบา มานะอัตตาที่จางบางเบา ก็จัดเข้าอยู่นัยนี้ เป็นวาจาเพ้อเจ้อ

    เป็นไทโดยศีล
    ขัดเกลาตนจนอิสระเสรี มีวาจาประชาสัมพันธ์ เป็นไปโดยสามารถของตนไร้อิทธิพลจากโทสะ โลภะ ราคะ มานะทิฏฐิ มานะอัตตามาครอบงำ หรือไม่มีความพร้อย ความด่าง ความทะลุ หรือขาดทางศีลธรรม โดยเฉพาะเรื่องราว ลดมิจฉาสู่สัมมา หรือลดมุสา (วาจาอันเป็นเท็จจากสัจจะ) พัฒนาสัจจวาจา



    ตรวจศีลข้อ5

    ศีลข้อ 5 สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
    ศึกษาสมาทานเพื่อการลด งด เว้นขาด จากเสพติด ชีวิตมืดบอด
    เจตนารมณ์ศีลข้อ 5 เพื่อลดโมหะ ละประมาท เพิ่มธาตุรู้หรือสติ

    ศีลขาด
    คือ เจตนาเสพสิ่งเสพติดมัวเมา เที่ยวกลางคืน เที่ยวดูการละเล่น เล่นการพนัน สังสรรกับคนชั่ว ปล่อยตัวเกียจคร้านอย่างตั้งใจ

    ศีลทะลุ
    คือ เจตนากล่าววาจาชักชวน โน้มเหนี่ยวนำพาตน คนอื่น สู่อบายมุขหรือโน้มน้าวอบายมุขมาสู่ตน คนอื่น และกล่าววาจาพร่ำพิไรใฝ่ถึงซึ่งอบายมุข (ทั้ง6)

    ศีลด่าง
    คือ มีใจทะยานอยากในอบายมุข ปรุงใจถวิลไปในอบายมุข หรือเรื่องราวคราวก่อนตอนเสพอบายมุขลามไหลอยู่ในใจ เก็บสัญญาเก่าก่อนตอนเสพอบายมุขมาย้อนเสพ

    ศีลพร้อย
    คือ ยังมีใจยินดีในอบายมุข เห็นคนเสพอบายมุขยังยินดี มีใจริษยา มิได้เกิดปัญญา เห็นภัยในอบายมุขและการเสพอบายมุข

    เป็นไทโดยศีล
    คือ ขัดเกลาตนจนอิสระเสรี หมดความยินดี และสิ้นอารมณ์ชิงชังในอบายมุข หรือไม่มีความพร้อย ความด่าง ความทะลุ หรือขาดทางศีลธรรม โดยเฉพาะสายมัวเมามือบอดนี้


    ****************************************************

    [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การตรวจศีล (ศีลขาด ศีลทะลุ ศีลด่าง ศีลพร้อย) [/FONT]

    [FONT=&quot]ขอให้ทุกท่านลองนำไปพิจารณา ดูว่าเราสามารถ รักษาศีลได้เคร่งครัด[/FONT]

    [FONT=&quot]หรือเข้มงวดได้แค่ไหน เพราะศีล5 นี้ เป็นหลักปฏิบัติเบื้องต้น ที่จะเป็นฐาน[/FONT]

    [FONT=&quot]ให้เราก้าวขึ้นไปจนถึงขั้น จิตโสดาบัน เป็นอย่างต่ำ และต่อจนถึง[/FONT]

    [FONT=&quot]จิตอรหันต์ ในบั้นปลายได้ในที่สุด[/FONT]


    [FONT=&quot]แต่ขอให้อย่ากังวลจนเกินไป ขอให้ทำอย่างมีสติ เชื่อว่าทุกๆท่าน[/FONT]

    [FONT=&quot]สามารถปฏิบัติได้ในที่สุด อย่างแน่นอน[/FONT]


    [FONT=&quot]ขอเจริญในธรรม[/FONT]

    [FONT=&quot]ด้วยจิตคารวะ[/FONT]

    [FONT=&quot]นิวเวป 1959 ......จบ.14[/FONT]

     
  3. ภูภู

    ภูภู เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    3,042
    ค่าพลัง:
    +56,089
    คำว่า ธรรมะนี้

    ทุกท่านทราบกันดีหมด แต่...
    จะมีสักกี่คนที่ รู้+เข้าใจ= ปฎิบัติตามกันได้เลย

    ทำไมถึงเป็นเช่น ขอตอบเพียงสั้นๆ ว่า...
    จิตคนเราส่วนใหญ่มันหยาบ
    คำว่า "หยาบ" ในที่นี้ มิได้หมายถึงว่า เลวนะ ไม่ดีนะ เป็นคำกลางๆ
    คำว่า หยาบในที่นี้หมายถึง จิตพวกเราไม่นิ่งกันเอง
    จึงได้แค่รับรู้ มากไปอีกนิดก็คือ เข้าใจ แต่ท้ายที่สุด ทำตามได้ยาก

    เหตุผลหลัก ก็คือ จิตไม่นิ่ง
    เมื่อจิตไม่นิ่งกัน นั่นก็หมายความว่า หยาบ นั่นเอง

    จากจิตหยาบ ฝึกให้ละเอียดกันได้ครับ แค่มาทำจิตเกาะพระอันนี้ไว อันนี้ตรง อันนี้เดินทางลัด เข้าสู่นิพพานกันได้ไว
    อันนี้ผมรับประกัน และครูท่านอื่นๆก็ประกัน
    แต่มีจำนวนไม่น้อยที่ยังทำไม่ได้ อันนี้เป็นเรื่องธรรมดานะ
    เหมือนคนมีดวงตาเห็นธรรม หรืออริยบุคคลจึงมีน้อยกว่า ปุถุชน หรือ คนธรรมดา
    แต่ถ้าทำกันง่ายๆ ก็จะมีพระอรหันต์ หรือจิตอรหันต์กันเต็มบ้าน เต็มเมืองไปหมดแล้ว
    ต่างคนต่างอยู่ เพราะต่างคนก็ต่างดูแลจิตของตนให้ดี ไม่ไปยุ่งเกี่ยว ยึดติดกับสิ่งอันเป็นสมมุติกันมาก
    นอกจากตนเองจะอยู่สุขสบาย สงบสุข โลกเราก็สงบสุขตามไปด้วย
    เพราะว่า ไม่มีใครมาทำร้ายกัน ไม่เบียดเบียนกัน ไม่มีใครทำกรรมไม่ดีแบบต่อเนื่องกัน

    แต่ถ้าจิตคนส่วนใหญ่นิ่งกันจริงๆ มันก็จะออกมากันแบบนี้
    แต่ที่เราเองก็ยุ่ง ก็ทุกข์กัน หรือผู้อื่นก็เหมือนกัน
    สาเหตุหลักๆก็คือ จิตไม่นิ่ง จิตจึงหยาบ จิตจึงไปรับเอาทุกข์มาจากภายนอกกลับเข้ามาสู่จิตใจตนเอง
    และท้ายที่สุด ถามว่า ใครทุกข์ ก็ต้องตอบว่า ตัวเราเอง

    สรุปแล้วอะไรสำคัญกว่า ระหว่างร่างกายกับจิตใจ
    พวกเราก็ลองไปถามตนเองกันดูนะ

    แต่ถ้าใครยังรู้สึกตนเองว่า วิ่งหนีทุกข์ วิ่งหาสุขกันอยู่ ยังอีกยาวไกล นั่นก็แสดงว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจธรรมะดีพอ
    แต่สำหรับผู้ที่กำลังมองหาความหลุดพ้น ขอให้มาที่นี่เลย ถูกทางที่สุด เพราะเรามุ่งเน้นผู้ปฎิบัติ โดยเฉพาะเรื่องจิต
    คือไม่ต้องมาพูดกันมาก ร่ำไร เสียเวลา
    ใครคิดว่าเบื่อการเกิด กลัวความตาย กลัวความผิดหวัง ขอให้ทางนี้ ไม่ต้องนำอะไรมาให้ มาตอบแทน
    ขอให้ท่านมาแค่ใจ ก็เพียงพอ คุณเป็นใคร คุณคือใคร มาจากไหน สีอะไร รวยหรือจน อยู่ที่ไหน เราไม่ถาม ไม่อยากรู้ ไม่จำเป็น
    กระทู้นี้ จัดตั้งเพื่อยกจิตคนโดยเฉพาะ มิใช่ปลัดอำเภอ มิใช่เจ้าหน้าที่การเงิน เที่ยวมาถามโน้นถามนี่ มาชักถามเอารายละเอียดกัน
    ตัวเป็นๆ ก็ยังไม่เคยเห็นกัน ชื่อจริง นามสกุลจริงก็ไม่รู้ แถมใช้ชื่อ นามแฝงกันทุกคน
    อันนี้ไม่สำคัญ
    สำคัญตรงที่ว่า ขอให้นำจิตมารายงานให้กับครูก็พอแล้ว
    และขอให้ผู้ปฎิบัติทุกท่าน พกความเพียร ความตั้งใจที่จะปฎิบัติกันให้เต็ม 100%
    เพราะครูที่นี่! เขามีใจให้เกิน 100%

    ปล. ธรรมะนั้นจึงไม่สามารถสอนและทำความเข้าใจกันได้ง่าย
    มีอยู่ทางเดียวเท่านั้น ที่จะเข้าใจ เข้าถึงจิต เข้าถึงธรรมะกันได้ ก็คือ
    ตัวคุณเองเท่านั้น ที่จะเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ หาอุบายมาทำให้จิตตนเอง นิ่ง
    ก่อนจิตจะนิ่งกัน ก็มิใช่เรื่องง่ายๆ จึงพูดกันบ่อยมากๆก็คือ สติ
    สติมาก สร้างสติกันให้มากที่สุด จึงจะทำให้จิตของคุณนิ่งได้
    แต่ถ้าสติมีไม่มากกัน จิตก็จะไม่นิ่งตามไปด้วย
    เมื่อจิตคุณไม่นิ่ง จิตก็จะไม่เป็นสมาธิ ไม่เกิดปัญญา
    เมื่อจิตไม่มีตัวที่กล่าวไปแล้วนั้น
    คุณก็ไม่มีสิทธิ์ จะเข้าไปดูจิตของตนเอง
    คุณเองจึงไม่มีสิทธิ์เข้าถึงกระแสธรรม
    และท้ายที่สุด คุณก็ไม่มีสิทธิ์เดินสายกลาง สายตรง หรือ คำว่า อริยมรรค
    เพราะว่า เราใช้จิตมาเรียนรู้ หรือเดินทาง จึงมิใช่เราเดิน

    เพราะเส้นทางลัดที่จะไปพระนิพพานนั้น ก็คือ มรรคมีองค์8
    หรือที่ทุกท่านรู้กันหมดแล้ว แต่จิตเดินยังไม่ถึงเท่านั้นเอง
    คือ ศีล สมาธิ ปัญญา

    การปฎิบัติธรรม เพื่อให้พ้นทุกข์ หรือเพื่อความหลุดพ้น จากกองทุกข์แบบถาวร หรือพ้นวัฎฎะนั้นไม่ยาก
    โดยไม่ต้องไปท่องจำจากตำรา ท่องพระไตรปิฎกกันมากนักหรอก เพราะมันไม่ทำให้คุณบรรลุธรรมกได้
    บรรลุธรรมจะต้องอาศัยการปฎิบัติ(90%) โดยเฉพาะด่านอรหันต์ ก็คือ ตามดู ตามรู้จิตของตนเองก่อน
    ด่านนี้ถือว่า หินมาก เพราะผู้ปฎิบัติส่วนใหญ่มักสอบไม่ผ่าน เพราะความเพียรน้อย สติก็น้อยตามไปด้วย
    เพราะเรื่องสตินั้น จึงถือเป็นสิ่งสำคัญมาก
    เพราะใครจะหาดวงจิตเดิมแท้ของตนเองได้หรือไม่ ก็ตรงที่สติมีมากหรือน้อย
    แต่ถ้าใครรู้ตัวเองว่ามีสติน้อยเกินไป ก็ขอให้เร่งสร้างสติกันเสีย

    สติ คือ หัวใจของจิต
    ความต่อเนื่อง คือ หัวใจของผู้ปฎิบัติ หรือนักภาวนา
    ส่วนใครจะทำสำเร็จกันหรือไม่ ช้าหรือเร็ว ก็ขึ้นอยู่กับความเพียรของตนเอง เป็นหลัก


    The_enD


     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 มิถุนายน 2012
  4. natthapatpun

    natthapatpun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,124
    ค่าพลัง:
    +25,214

    ส่งเข้ามาได้ตลอดค่ะพี่ภู เพราะตอนนี้หนูจับคู่สอน เพื่อให้จิตบุญทุกท่านสร้างบารมีไปพร้อมกัน และถ้าหนูไม่ว่างลูกศิษย์ก็จะได้มีครูให้ธรรมะอย่างต่อเนื่อง ส่วนพี่ลูกพลัง หนูยกให้ช่วยงานพี่ภูเต็มที่ เพียงแต่ท่านอย่าขาดส่งธรรมะบนกระทู้นะ เพราะนี่ก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ท่านจะได้ทำงานเผยแผ่ธรรมะคำสอนของพระพุทธเจ้า ธรรมะที่ออกมาจากจิตบุญล้วนมีแต่ความบริสุทธิ์ เป็นธรรมะไม่เจอกิเลส แม้ว่าพวกเราจะยืมภาษาโลกมาใช้สื่อสาร แต่ภาษาจิตก็ยังคงคมใสเหมือนเดิม แต่ถ้าจะมีใครคิดอกุศลก็เป็นเรื่องของจิตท่าน ไม่ใช่จิตเราชาวจิตบุญ

    จิตบุญท่านอื่น ๆ ที่ยังไม่พร้อมสอนอันเนื่องมาจากอยู่ระหว่างการวิปัสสนากฎไตรลักษณ์ขั้นสูงสุดหลังจากจิตยกแล้ว ก็ขอให้ท่านส่งธรรมะขึ้นกระทู้เรื่อย ๆ นะคะ ซ้อมจิตให้หนักแน่นในพระธรรม ไม่ว่าจะเป็นธรรมะที่ผุดออกมาจากจิตบุญของท่านเอง หรือเป็นธรรมะของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่ท่านนำมาสื่อให้ทราบก็ล้วนออกมาจากจิตท่านที่กลั่นกรองดีแล้ว ล้วนเป็นประโยชน์กับชาวธรรมทั้งสิ้น ขอให้ท่านทั้งหลายจงทำหน้าที่ของท่านต่อไป บ้านพักกายพักจิตของพวกเราเกิดเมื่อไร ทุกอย่างจะถูกปรับเข้าไปสู่ระบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและเบิกบานใจยิ่ง ขึ้น ตอนนี้ขอให้จิตบุญทุกท่านซ้อมจิตสาธยายธรรมกันไปพลางก่อนค่ะ รวมถึงพี่นิวเวป น้องโจ น้องลูกหว้า คุณแอ๋ว น้องฟ้า คุณเมิล และจิตบุญอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอ่ยนาม ขอให้ทุกท่านตั้งจิตให้ตรงดำรงจิตให้มั่น ขอให้รู้อยู่ทุกลมหายใจเข้าออกว่าบ้านของพวกท่านอยู่บนนิพพาน เมื่อพวกเราหมดหน้าที่ทางโลกแล้วพวกเราจะละขันธ์ห้ากลับบ้านบนนิพพานกันนะคะ

    ขอให้ทุกท่านเจริญพรและเจริญสุขยิ่ง ๆ ขึ้นไปเทอญ

    พี่เพ็ญ
     
  5. watjojoj

    watjojoj เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    562
    ค่าพลัง:
    +9,793
    ขอขอบพระคุณทุกๆท่านครับ ที่ทำให้ผมได้ค้นพบเส้นทางที่ควรเดิน แม้ตอนนี้ผมยังทำได้ไม่ดีเท่าไหร่ แต่ไม่ท้อครับ ไม่อยากเกิดแล้วครับ เหนื่อย
     
  6. แสงจันทร

    แสงจันทร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มกราคม 2012
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +2,618
    สวัสดีค่ะพี่ภู ครูเพ็ญ ครูดัชนี ครูอัญญมะณี ครูวิทย์ ครูลูกพลัง ครูลูกหว้า ครูโจ ครูนก ครูนิวเวฟ ครูจารุณีและทุกท่าน
    ทุกข์ คืออะไร ทุกข์ คือเวทนาชนิดหนึ่งที่มีหลายลักษณะ หลายอาการ แสงจันทรเองก็มีความทุกข์ที่เกิดจากการปวดหัวไหล่ บ่า ซึ่งเป็นมานาน สาเหตุบางทีอาจมาจากการที่ต้องใช้แรงดึงเก้าอี้ที่แม่นั่งอาบน้ำออกมาหน้าประตูเพื่อเอาตัวออกจากห้องน้ำทุกวัน วันละ 2 รอบ(มีเพื่อนพี่เค้าบอก)หรืออาจจะเพราะมี...มาเกาะตามความเชื่อ(ซึ่งมีคนบอกเหมือนกัน) เคยไปหาหมอกระดูกแต่ยังไม่หายและตอนนี้สลับข้างปวดแล้วค่ะ เวลาถอดเสื้อนี่ลำบากค่ะ ถ้าไม่มีใครอยู่ต้องค่อยๆดึงกว่าจะถอดได้ บางทีปวดมาก เวลานอนกลางดึกมักสะดุ้งตื่นขึ้นมาเมื่อพลิกตัวหรือบางทีก็ปวดปรี๊ดขึ้นมา เมื่อก่อนตอนที่ยังไม่ได้ทำจิตเกาะพระจะรู้สึกว่าตัวเองช่างทุกข์จริงหนอ เมื่อมาเจอพี่ภูในกระทู้ภัยพิบัติ เลยได้ตามมาอ่านการทำจิตเกาะพระและเริ่มทำตามที่พี่ภู ครูเพ็ญ ครูดัช บอก อาการปวดที่เกิดขึ้นกับกายสังขารนั้นยังมีอยู่ แต่มันเกิดขึ้น มีอยู่ และดับไป ความเจ็บปวดมันเกิดขึ้นไม่รู้สาเหตุ เกิดแล้วมันก็เจ็บปวดไปสักพัก และในที่สุดมันก็ดับ(หายเจ็บ)ไป ไม่มีเวลากำหนดแน่นอนมันก็จะกลับมาเกิดการปวดอีก และไม่นานมันก็จะหายปวดไป ถามว่าตอนนี้มันเป็นความทุกข์อยู่หรือเปล่า ความเจ็บปวดไหล่ บ่าที่เกิดขึ้น มันไม่ทุกข์อีกต่อไปแล้ว เพราะจิตเราจะเฝ้าดูอย่างเดียว มันเกิดขึ้น เดี๋ยวมันก็ดับไป ถ้ากายสังขารมันทุกข์ก็ต้องปล่อยมัน แต่จิตเราไม่ทุกข์อีกต่อไปแล้ว เวลาที่มันปวดมากๆๆก็จะเอามืออีกข้างตบที่หัวไหล่ และบอกว่าปวดหนอ ปวดหนอ ปวดหนอ(ทำจิตนิ่งและเกาพระทันที) สักครู่ก็จะหายปวด เหมือนที่พระพุทธเจ้าท่านทรงสอนไว้"ถ้าไม่รู้จักทุกข์ ก็พ้นทุกข์ไม่ได้" จะว่าไปแล้วนี่เป็นเพียงทุกขเวทนาเล็กๆๆ ที่ได้พบ และไม่เป็นความทุกข์เพราะเรื่องนี้อีกแล้ว
    คนเรามีความทุกข์หลากหลาย ไม่เหมือนกัน ทุกข์นั้นเกิดจากอะไรหรือ ทุกข์ก็เกิดจากจิตเราเองที่เห็นหรือคิดว่ามันเป็นทุกข์ เพราะจิตไม่นิ่งดิ่งขึ้นดิ่งลงไปโน่นมานี่หากิเลสทุกเวลาทำให้สติหายไป มนุษย์ทุกวันนี้จึงมีกิเลสพอกตัวกันเหลือคณานับ แต่ถ้าท่านใดอยากได้สติกลับคืนมา พร้อมกับจิตที่สงบ นิ่ง สบาย ไม่อยากอย่างที่คิด มาทำจิตเกาะพระกันเพื่อชะล้างกิเลสที่พอกตัวอยู่ในขณะนี้ให้ค่อยๆๆสลายออกไปและในที่สุดกิเลสก็ไม่สามารถจะมารุกรานเราได้อีกต่อไป ท่านใดที่กำลังหัดทำอยู่ก็ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะ ขอให้สำเร็จเข้าสู่นิพพานกัน เพื่อจะได้ไม่ต้องมาเจอกับคำว่าทุกข์อีกต่อไป ส่วนท่านใดที่กำลังคิด ตัดสินใจอยู่ อย่าลังเลเลยนะค่ะ ทำเพื่อตัวท่านเอง มิใช่เพื่อใครเลย อย่าเชื่อถ้ายังไม่ได้ทำ ลงมือปฏิบัติกันเลยจะได้รู้ จะได้เห็นด้วยตัวท่านเอง แล้วท่านจะพบกับรอยยิ้มที่แสนวิเศษ.....
     
  7. เมิล

    เมิล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    421
    ค่าพลัง:
    +3,132
    ชอบรูปนี้ อิ อิ ^ ^
    เอามาจากเฟสของพุทธศรัทธา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. NOKMAM

    NOKMAM เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    300
    ค่าพลัง:
    +6,157
    จิตเปรียบเหมือนกระจกเงา : พระราชสุเมธาจารย์ (พระอาจารย์โรเบิร์ต สุเมโธ)

    “...จิตเปรียบเหมือนกระจกเงา มันสะท้อนภาพ

    ผู้ฉลาดรู้ว่าภาพมันก็สักแต่ว่าภาพ ไม่ใช่ตัวตน
    ภาพไม่ทำอันตรายต่อตัวกระจกแต่ประการใด
    กระจกสะท้อนสภาวะที่โสโครกที่สุด
    แต่ตัวกระจกเองจะเปรอะเปื้อนก็หาไม่
    และภาพนั้นก็เปลี่ยนไปไม่เที่ยง

    สิ่งโสโครกและโคลนตมก็มีบทบาทสำคัญเหมือนกัน
    โทสะและอกุศลจิตเป็นเหมือนปุ๋ยคอก
    มันเหม็นไม่มีใครอยากเข้าใกล้
    แต่มันให้อาหารแก่ต้นไม้
    ทำให้เราได้ดอกไม้สวยๆงามๆ


    ถ้าบุคคลสามารถพิจารณาดูปุ๋ยคอก
    และรู้เรื่องราวของมัน
    แทนที่จะแสดงอาการรังเกียจแล้วละก็


    บุคคลผู้นั้นก็รู้ถึงคุณค่าของมัน...”


    [​IMG]
    [​IMG] [​IMG]
     
  9. porpao

    porpao เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    47
    ค่าพลัง:
    +506

    โมทนา สาธุด้วยค่ะคุณแสงจันทร์ อ่านแล้วปลาบปลื้มเลยค่ะ น้องก็ตั้งใจว่าต่อไปจะเลิกทานเนื้อสัตว์ใหญ่ให้ได้มากที่สุดค่ะ ขอพรนี้จงกลับไปสู่คุณครูทุก ๆ ท่าน คุณแสงจันทร์ และกัลยาณมิตรในห้องนี้ร้อยเท่าพันเท่าด้วยค่ะ
     
  10. สู่วันใหม่

    สู่วันใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    102
    ค่าพลัง:
    +314
    เอาภาพสมเด็จองค์ปฐมมาฝากครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. watjojoj

    watjojoj เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    562
    ค่าพลัง:
    +9,793
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <o:shapedefaults v:ext="edit" spidmax="1026"/> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <o:shapelayout v:ext="edit"> <o:idmap v:ext="edit" data="1"/> </o:shapelayout></xml><![endif]--> [FONT=&quot]คือว่าผมดัดแปลงบทแผ่เมตตาขององค์ปฐมเล็กน้อยครับไม่ทราบว่าจะสามารถใช้ได้ไหม จาก...[/FONT]
    [FONT=&quot]นะ โมพระพุทธสิกขีพระพุทธเจ้า ขอได้โปรดดลบันตาลให้สรรพสัตว์ทั้ง [/FONT]3 [FONT=&quot]โลกได้ หลุดพ้นจากภัยพิบัติวัฏฏสงสารโดยสิ้นเชิงด้วยพระบารมีมิอาจประมาณลูกขอนอบน้อมนมัสการด้วยจิตใจ ขอให้ลูกมีจิตสะอาดสว่างใส หลุดพ้นไซร้ สู่บ้านนิพพานเทอญ สัมปะจิตฉามิ[/FONT]
    เป็น

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <o:shapedefaults v:ext="edit" spidmax="1026"/> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <o:shapelayout v:ext="edit"> <o:idmap v:ext="edit" data="1"/> </o:shapelayout></xml><![endif]-->
    [FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot]นะ โมพระพุทธสิกขีพระพุทธเจ้า ขอได้โปรดดลบันตาลให้สรรพสัตว์ทั้ง [/FONT]3 [FONT=&quot]โลกได้ หลุดพ้นจากภัยพิบัติวัฏฏสงสารโดยสิ้นเชิงด้วยพระบารมีมิอาจประมาณลูกขอนอบน้อมนมัสการด้วยจิตใจ ขอให้ลูกมีจิตสะอาดสว่างใส หลุดพ้นไซร้ สู่บ้านนิพพาน ณ ชาตินี้เทอญ เทอญ สัมปะจิตฉามิ[/FONT][FONT=&quot][/FONT]

    [FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot][/FONT]
     
  12. watjojoj

    watjojoj เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    562
    ค่าพลัง:
    +9,793
    ขอเล่าเรื่องประทับใจซักเรื่องครับ คือว่า3-4เดือนก่อน(ตอนนั้นเวลาใครชวนไปวัดนี่คือจำใจแบบปฏิเสธไม่ได้)ผมได้มีโอกาสไปที่ศูนย์พุทธ(ไปส่งแม่แฟน)เพื่อนแม่แฟนได้พาขึ้นไปไหว้องค์ปฐมที่ชั้นสอง เจอครั้งแรกโอ้โห สวยมากกกกกกครับ(ไม่ทรา่บว่าคือองค์ปฐม คิดว่าที่ผ่านมามีพระพุทธเจ้าองค์เดียวครับคิดในใจว่ามีด้วยเหรอวะ (กราบขออโหสิกรรมครับ))อึ้งไปเลย พอกลับมาแม่แฟนก็ให้อ่านประวัติหลวงปู่ปาน พออ่านจบใจผมอยู่วัดท่าซุงเลยครับ เลยหาวิธีไปให้ได้ ตังไม่มียืมเขาเอา ชุดขาวไม่มียืมเขาอีก(ตังไม่มีและไม่ทราบว่าใส่ชุดอะไรก็ได้) ขับจากปทุมไปแบบมั่วๆ ไปถึงหน้าวัดก็ยืมเก้ๆกังๆหมุนไปหมุนมา คิดว่าตรูจะกลับดีไหมวะเนี่ย คิดว่าเอาวะมาแล้วเลยจัดซะ3วัน ฝึกมโนแบบมืดๆมัวๆ กลับมาก็รู้สึกว่าตัวเองดีขึ้นอยู่อย่างนึงคืนโกรธยากขึ้นและหายเร็ว สวดมนต์ทุกวัน จากที่ตกงาน(น้ำท่วมครับ)อยู่ก็ได้งานที่ใหม่ เงินเดือนมากขึ้นเกือบ2เท่า ก็ไม่น่าเชื่อตัวเองเลยครับ ทุกวันนี้ลูกน้องทั้งเก่าและใหม่ไม่เชื่อว่าจะเป็นไปได้ หาว่าผมบ้าไปแล้วซะงั้น เฮ้อ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มิถุนายน 2012
  13. dutchanee

    dutchanee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    1,127
    ค่าพลัง:
    +12,745
    แว๊ปเข้ามาโมทนาสาธุการกับทุกท่านในกระทู้จ๊ะ
    ใครที่อยู่ตามขอบแอบอ่าน หรือ มีความตั้งใจจะไม่เกิดแล้ว
    เข้ามาค่ะ เข้ามาคุยกันได้เลย ทุกท่านที่อยู่ในกระทู้
    ยินดีต้อนรับนะคะ ใคร ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของ
    เวป รีบสมัครเข้ามาคุย มาฝึกจิตเกาะพระกันค่ะ
    หากไม่พร้อมเข้ามาคุยในกระทู้ มีอีเมลล์
    แปะอยู่เข้ามาทางเมลล์ได้นะคะ
    โมทนาสาธุการค่ะ
     
  14. ลูกพลัง

    ลูกพลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    413
    ค่าพลัง:
    +8,932
    ธรรมโอสถ

    ก่อนอื่นก็ขอโมทนาสาธุ สาธุกับคุณแสงจันทรด้วย ที่อุตส่านำทุกข์เวทนาของตนเองมาวิปัสสนาและมาเล่าสู่กันฟังเพื่อเป็นธรรมทาน ด้วยดวงจิตอันยิ่งใหญ่ สาธุ สาธุ.. และยังเป็นแรงบันดาลใจให้เราเขียนธรรม เรื่องต่อไปนี้

    การขับสิ่งแปลกปลอมออกและรักษาตัวเอง..สำหรับนักภาวนา
    เกริ่นนำ: เห็นผู้อื่นได้รับทุกข์เวทนาจึงขอทรงพรหมวิหารสี่ 2ข้อแรก แบ่งปันวิธีการ เผื่อว่าท่านใดสามารถหยิบฉวยเลือกใช้ได้ตามถนัด (โดยธรรมดาแล้ว เราจะวางอุเบกขาไม่ขอก้าวล่วงกรรมขอผู้อื่น.. แต่ในที่นี้ก็แค่ขอแบ่งปันวิทยาการก็แล้วกัน ส่วนว่ากรรมใคร กรรมเขา ก็ว่ากันไป.. เจ้าหนี้ ลูกหนี้ ของใครของมันดูแลกันเอาเองนะครับ..)

    ความจริงแล้ววิธีที่ดีที่สุดก็คือ วิธีที่คุณแสงจันทรได้กรุณาแบ่งปันให้เราๆท่านๆรับทราบกันแล้วนั่นก็คือ การวิปัสสนาทุกข์เวทนาหรือ การตามรู้เวทนาที่เกิดกับกายสังขาร แล้วปลงลงพระไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้-วาง เกิด-ดับ จนเวทนาดับไปในที่สุด.. (เหมาะกับชนกลุ่มน้อย..บุคคลที่พิเศษจริงๆ ที่ต้องการจะจบกรรมเก่าในชาตินี้)
    ที่เรากล่าวว่าดีที่สุดหมายความว่า เป็นวิธีการที่ยอมรับสภาพการชดใช้กรรมตามความเป็นจริง โดยที่จิตไม่เป็นทุกข์ไปด้วยนั่นเอง..

    คราวนี้มาว่าหัวข้อที่เราตั้งใจจะมาพูดก็คือ วิธีการที่ดีรองๆลงมา (คือเป็นการเบี่ยงกรรมและอโหสิกรรม)
    ก่อนอื่นเราต้องทราบก่อนว่า ทุกข์เวทนาที่มาเกิดกับกายสังขารนั้นมาจากอะไร? โดยเฉพาะเป็นอย่างต่อเนื่อง ไม่หายสักที หรืออาการแปลกๆผิดปกติจากคนทั่วๆไป
    ตอบว่า: เกิดจากการสร้างกรรมปาณาติบาต(การฆ่าสัตว์ตัดชีวิตหรือทำร้ายทรมานสัตว์สิ่งมีชีวิตทั้งน้อยและใหญ่) ตั้งแต่ในอดีตชาติมาจวบจนถึงปัจจุบันที่ท่านได้นั่งอ่านอยู่นี้ ดังนั้นผลแห่งกรรมจึงมาบังเกิดแก่กายสังขารของเราอยู่เนืองๆ อย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้หรือบางทีก็จะเป็นแบบหนักๆเลย ล้วนแต่มาจากกรรมเก่าแทบทั้งสิ้น.. สังเกตดูบางคนไม่ค่อยจะเป็นอะไรเลย แต่บางคนเป็นโน้นเป็นนี่อยู่รำ่ไป พอหายเอ้า..ดันเป็นไอ้นี่อีก คือกรรมของคนสองจำพวกนี้นั้นย่อมที่จะไม่เหมือนกัน ฝ่ายนึงไม่ชอบฆ่าหรือทำร้ายสัตว์ แต่ฝ่ายนึงฆ่าได้แบบไม่หยี่หล่ะเลย ย่อมยังผลให้กรรมนั้นแตกต่างกันมาก ถ้าเราแน่ใจว่าชาตินี้ตอนเป็นเด็กๆเราก็ไม่ค่อยได้ชอบฆ่าสัตว์มันก็อาจจะเกิดจากชาติปางก่อน (ไว้คอยให้ได้ปุเพนิวาสานุสสติญาณก่อนแล้วก็กลับไประลึกอดีตชาติดูกันเอาเองเถิด..)

    เราขออนุญาติเรียงลำดับไล่จากง่ายไปหายากนะครับ แล้วเราๆท่านๆก็เลือกตามใจถนัด(ความสามารถ) แล้วกัน:-
    - เวลาทำบุญทำทานเสร็จก็แผ่เมตตาให้เจ้ากรรมนายเวรของตนเองและขออโหสิกรรมจากเขาด้วย โดยเฉพาะเจ้ากรรมที่คอยเบียดเบียนกายสังขารเรานี้ หมั่นทำให้บ่อยๆๆ (อาจจะยุ่งยากในการหาที่จะไปทำบุญทำทานบ้าง)
    - เวลาสวดมนต์ภาวนาเสร็จก็แผ่เมตตาให้เจ้ากรรมนายเวรของตนเองและขออโหสิกรรมจากเขาด้วย โดยเฉพาะเจ้ากรรมที่คอยเบียดเบียนกายสังขารเรานี้ หมั่นทำให้บ่อยๆๆ (อันนี้ยุ่งยากน้อยลงหน่อย แต่กุศลมีมากกว่าการทำบุญภายนอก)
    - ทำนำ้มนต์ปลุกเสกเอง นำมาดื่ม ทา ถู รด พรม อาบ ตามถนัด (สามารถขับไล่สิ่งแปลกปลอมให้แก่ตนเองและผู้อื่นได้)
    ให้นำนำ้สะอาดดื่มได้มาซักขวดลิตร แล้วตั้งจิตให้นิ่งเป็นสมาธิอย่างยิ่งยวด (ประสิทธิภาพอยู่ที่กำลังสมาธิ)
    เอามือจับขวดนำ้ไว้แล้วก็กลั้นหายใจสวดคาถา (หมายถึงระหว่างสวดคาถาจนจบยกนึง)
    "ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ      อุปาลี นันทะสีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา     นะลาเฏ ติละกา มะมะ"
    (พอจบยกก็หายใจได้) ให้สวดเช่นนี้ 7จบ หรือ 9จบ หรือ 21จบ หรือ 108จบ จนเสร็จแล้วก็ให้เป่าลมออกจากปากไปที่ขวดนำ้มนต์ ก็เป็นอันเสร็จกิจ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ช่วยเหลือผู้คนได้เป็นจำนวนมากๆ
    (จำนวนจบก็แล้วแต่ระดับความขลังของผู้ปลุกเสก ถ้าสมาธิตำ่ก็ต้องสวดหลายๆจบเช่น 108จบ หรือ 21จบ)
    หมายเหตุ: ความจริงแล้วคาถานี้เป็นส่วนหนึ่งของคาถาชินบัญชร ท่อนนี้จะเป็นท่อนที่ใช้ในการปลุกเสกได้
    หรือจะว่ากลอนสด ด้วยการสวดคาถาซักกี่จบแล้วก็เป่าใส่เป้าหมายเช่น บริเวนที่เจ็บ หรือ จุดที่เราต้องการน่ะ
    การสวดคาถาถ้าไม่มีสมาธิและสติไม่ตั้งมั่นแล้ว มันก็ไม่ต่างกับนกแก้วนกขุนทองสวดไปยังนั้นน่ะ มิอาจเกิดพลานิสงค์ใดๆเลย โปรดจำกันไว้ให้ดีๆนะครับ..
    - ถ้าผู้ใดเคยฝึกพลังจักระมาหรือพลังใดๆก็แล้วแต่ ก็สามารถกำหนดพลังนั้นๆไปเยียวยาหรือไปขับไล่สิ่งแปลกปลอมให้ออกมาได้ แต่จะต้องมีกำลังสมาธิที่เข้มแข็งด้วย
    - สำหรับผู้ที่คุ้นเคยกับอาณาปานสติ หายใจเข้าออก(พุทโธ) ก็ให้ใช้เปลี่ยนคำภาวนาเป็น "อุ อะ นะ มะ" หายใจเข้า-อุอะ หายใจออก-นะมะ เป็น"วิชาตั้งธาตุ" แล้วก็กำหนดให้หมุนฟอกกายสังขารไปทั่วทั้งตัวหรือจุดที่เจ็บป่วยหรือมีสิ่งแปลกปลอมแฝงตัวอยู่
    - ตั้งสมาธิกำหนด"มโนธาตุ"เป็นธาตุไฟ หมุนควงเข้าไปขับไล่สิ่งแปลกปลอมให้ออกไป
    - กำหนดเตโชกสิณเป็นไฟ ให้เคลื่อนย้ายไปในจุดที่เราต้องการภายในกายเพื่อขับไล่สิ่งแปลกปลอมออกไป
    - ทำจิตเกาะพระโดยให้มีพระอยู่ประจำกายประจำใจ เมื่อมีสมาธิที่ดีมากๆคือจิตนิ่งหรือทรงฌานได้สูงถึงฌาน4 ก็จะมีพุทธานุภาพ อันสิ่งแปลกปลอมไม่สามารถเข้ามาในกายสังขารได้(เหมือนมีเกราะเป็นรังษีพุทธะห่อหุ้มเอาไว้) หรือแม้นว่าเข้ามาก่อนแล้วก็ไม่อาจจะทนอยู่ได้ด้วยพลังแห่งพุทธะ เมื่อแล้วเสร็จก็แผ่เมตตาให้เจ้ากรรมนายเวรของตนเองและขออโหสิกรรมจากเขาด้วย โดยเฉพาะเจ้ากรรมที่คอยเบียดเบียนกายสังขารเรานี้ หมั่นทำให้บ่อยๆๆ ถ้าทรงฌานได้ทั้งวันก็ให้อธิษฐานจิตแผ่บุญไปตลอดทั้งวันเลยไม่ต้องคอยจนแล้วเสร็จ (อันนี้เริ่มยากขึ้นมาอย่างมากๆ แต่ถ้าผู้ทำจิตเกาะพระได้แล้วก็ไม่เป็นปัญหาอะไร ง่ายมาก)

    ทั้งหมดทั้งปวงการมีสมาธิที่ตั้งมั่นหรือการทรงฌานได้อย่างมั่นคงต่อเนื่องก็จะทำให้มีพลานุภาพอย่างมากๆ
    สำหรับผู้ที่มีกำลังสมาธิเข้มแข็งก็จะสามารถขับสิ่งแปลกปลอมออกมาได้ไม่ยาก แต่ถ้ากำลังสมาธิยังติดๆดับๆอยู่ก็อาจจะต้องทำอยู่ซักหลายๆวันมันจึงจะยอมออก แต่ถ้าเป็นจำพวกคุณไสยมนต์ดำผู้ที่จะขับออกได้จะต้องมีกำลังจิตเหนือกว่า ผู้ที่ส่งเข้ามาจึงจะขับออกได้
    แต่ว่าหลวงพ่อฤาษีของเรา ท่านได้เมตตาให้คาถาสนองกลับคุณไสยมานั่นก็คือ
    "สัมปจิตฉามิ" ก็ภาวนาไปๆ อาราธนาคุณพระรัตยตรัยเข้ามาช่วยด้วย (ลำพังบารมีตนเองมันน้อยเกินไปก็ต้องอาศัยบารมีพระรัตนตรัยมาช่วยด้วย)

    สุดท้ายแล้ว ไม่ว่าท่านจะเลือกวิธีใดๆตามถนัดก็แล้วแต่ สิ่งที่ท่านจะต้องทำก็คือ (ภายหลังจากขับสิ่งแปลกปลอมออกมาแล้ว)
    - ให้อธิษฐานจิตขอเชิญท่านท้าวเวสสุวรรณช่วยมารับจิตวิญญานเหล่านี้ไปด้วย (อาจจะเป็นวิญญานเล็กหรือใหญ่ก็แล้วแต่) เพื่อไม่ให้กลับมารบกวนอีก
    - แล้วก็ให้อธิษฐานจิตอุทิศบุญให้แก่จิตวิญญานนั้นๆได้ไปสู่ภพภูมิที่ดีขึ้น เลิกจองเวรจองกรรม แล้วหมั่นอุทิศบุญให้อีกเนืองๆ หรือจะไปถวายสังฆทานแล้วอุทิศบุญแบบจำเพาะเจาะจงก็ได้

    ข้อควรพึงระวัง: อันการใดๆก็แล้วแต่ที่บุคคลภายนอกเข้าไปก้าวก่ายกรรมของผู้อื่น ไม่มากก็น้อยก็อาจได้รับโบนัส ส่วนกรรมนั้นมาด้วย จงจำเอาไว้กันให้ดีๆด้วยนะครับ.. (เว้นแต่ตั้งใจ นั่นก็เป็นอีกเรื่องนึง..)

    เนื้อหาในวันนี้ออกจะเป็นไปในทางโลก ทางกิเลสอยู่ไม่น้อย.. ผู้มีปัญญาพึงแยกแยะหยิบจับสิ่งที่เหมาะสมกับตนเองแล้วประยุกต์ใช้กันเองก็แล้วกันนะครับ แล้วก็ต้องกราบขออภัยถ้ามีข้อความใดผิดพลาดไปและมิได้ขยายความให้ยาวเท่าที่ควรด้วยครับ..
    ภายหลังจากภัยพิบัติใหญ่ในกาลภายภาคหน้า วิทยาการทางแพทย์สมัยปัจจุบันและหยวกยาคงจะหาได้ยากมาก
    ดังนั้น"ธรรมโอสถ" ที่เกิดจากกำลังจิต จึงพอจะช่วยเหลือผู้คนได้บ้างไม่มากก็น้อย..

    อันบุญกุศลที่เกิดจากการให้ธรรมทานในครั้งนี้ ข้าพเจ้าขออุทิศให้แก่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทถ่ายทอดวิชาให้แก่ข้าพเจ้าทั้งหมดทั้งมวลด้วยเทอญ.. สาธุ สาธุ..

    ขอให้ทุกๆท่านเจริญในธรรม.. สาธุสวัสดี
     
  15. natthapatpun

    natthapatpun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,124
    ค่าพลัง:
    +25,214
    ยังทิ้งคำภาวนาไม่้ได้ ทำอย่างไรดี

    ขออนุญาตนำบทสนทนาธรรมทางอีเมลขึ้นบนกระทู้เป็นธรรมทานสำหรับท่านที่ยังติดคำภาวนาอยู่ค่ะ จะได้รู้วิธีปรับปรุงจิตและวางกำลังใจในการปฏิบัติสมาธิโดยวิธีจิตเกาะพระไปพร้อมกัน พี่เพ็ญยกผลบุญทั้งหมดให้กับน้องเอิ้นที่ตั้งคำถามเข้ามาค่ะ

    ....................................................

    ถึงพี่เพ็ญ พี่หนูครับ

    สวัสดีค่ะ

    วันนี้ ตื่นมาก็ จับภาพพระเหมือนเดิม ก่อนจะลุกมานั่ง สมาธิ ในช่วงเช้า คือ ถ้าไม่นั่งเลย เหมือน ขาดอะไรไปอย่าง สักนิด สักหน่อยก็ยังดี

    ที่ทำอยู่นี้ถูกต้องแล้ว แม้จะฝึกจิตเกาะพระ แต่การนั่งสมาธิบำเพ็ญภาวนาก็ต้องทำด้วย จะช่วยเสริมพลังจิตให้เข้มข้นยิ่งขึ้น

    แต่ แค่ตื่นมาก็ จับลมหายใจแล้ว มันเลยค่อยข้าง จะไปตีกัน ทำให้ฟุ้งซ่านพอดูสำหรับวันนี้ครับ

    จิตยังชินอานาฯอยู่ พี่ก็เป็น แต่ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ ขอให้วางกำลังใจให้ถูก ทุกอย่างลงล็อกหมด อ่านคำตอบต่อไปค่ะ

    การจับภาพพระบ้างในบ้างครั้งไม่เหมือน ช่วงในระหว่างวัน ที่ทรงภาพพระแบบสบายๆ โดยที่ไม่ได้สนใจลมหายใจเลย แุถมบางทีก็ติดคำภาวนาไปอีก (คงอยู่ในช่วงปรับตัวน่ะครับ)

    ถูกต้องคร้าบบบบบ การจับภาพพระก็คือการกำหนดภาพพระแทนคำภาวนานั่นเอง


    ส่วนภาพพระก็ ทรงขึ้นๆ ลงๆ บ้าง ภาพสีขาวกับ แก้ว แต่จะชินกับภาพสีขาวมากกว่า แต่พอภาพแก้วก็ จะพยายามทำตามที่พี่เพ็ญ บอกครับ คือ เอาสติไป รู้ เอาสติ ไปตาม ให้มัน แนบแน่นยิ่งขึ้น

    เก่งมากคร้าบบบบบบบ นี่แลคือผลจากการฝึกอานาปานัสสติ มีสติดี สติเร็ว สติแข็ง ส่งผลให้มีกำลังใจมากกว่าคนที่ไม่ค่อยได้ฝึกดูลมหายใจ

    ปัญหาของวันนี้

    1.ยังทิ้งคำภาวนาไม่้ได้น่ะครับ ทำอย่างไรดี

    ถ้างั้นให้ทำอย่างนี้นะ เริ่มต้นให้ภาวนาไปสักพักพอให้ใจชุ่มเย็นสบาย แล้วฝึกทิ้งคำภาวนา เปลี่ยนไปนึกภาพพระแทน แต่ถ้านึกแล้วภาพพระไม่ปรากฎก็ให้มีสติตามดูลมหายใจเฉย ๆ ไม่ต้องยกเอาคำภาวนาขึ้นมาอีก ใหม่ ๆ ก็อาจจะฝืนใจนิดหน่อย แต่ก็ต้องฝึกค่ะ เพราะจิตเกาะพระจะมีกำลังจิตกำลังฌานสูงกว่าอานาปานัสสติค่ะ

    เรื่องนี้ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ค่ะ ค่อยฝึกค่อยทำไปเดี๋ยวก็ปรับจิตได้เอง เพราะอาการอย่างที่น้องเอิ้นเล่ามาพี่เคยเป็นมาก่อน เพราะพี่ก็เริ่มจากอานาปานัสสติเหมือนกัน แล้วก็ติดคำภาวนา พุท-โธ มานานถึงสามปีเต็ม พอจะทิ้งคำภาวนาก็มีอาการคล้ายน้องเอิ้นเหมือนกัน พี่ก็เลยปรับใช้อานาฯนำก่อน แล้วฝึกทิ้งคำภาวนา เปลี่ยนไปจับภาพพระแทน

    ทำไม่ยากค่ะ ทำบ่อย ๆ เดี๋ยวจิตก็ชินค่ะ ค่อย ๆ เอาสติกับปัญญาไปตะล่อมจิต แต่อย่าไปบังคับจิตนะ เดี๋ยวจิตจะเครียด ต้องใช้สติปัญญาหาอุบายให้จิตทิ้งคำภาวนาเปลี่ยนไปจับภาพพระแทน ด้วยการวางใจเป็นกลาง พบกันครึ่งทาง 50/50 ค่ะ

    2.ทำไมการทรงภาพพระ ระหว่างวัน ง่ายกว่าช่วงที่ตื่นมาแล้ว เราชิน กับการนั่งสมาธิ อานาปานสติ

    ใหม่ ๆ ก็เป็นอย่างนี้ทุกรายค่ะ เพราะเราไม่ชินกับการฝึกสติตอนตื่นนอนใหม่ การฝึกจับภาพพระตอนตื่นนอนใหม่แต่ยังไม่ลืมตาเป็นช่วงที่จิตว่างจากกิเลสมากที่สุด ถ้าเราฝึกจิตนึกถึงภาพพระช่วงนั้นจะช่วยให้จิตจำภาพพระได้เร็วขึ้น และจิตนิ่งเป็นสมาธิตั้งแต่ยังเช้า คือฝึกให้เราฉลาดทรงฌานไว้ตั้งแต่ยังไม่ลืมตาก่อนที่จิตจะไปเจอกับกิเลสในระหว่างวัน ให้ฝึกทำบ่อย ๆ ค่ะ เดี๋ยวทุกอย่างจะปรับจูนเข้าหากันเองทั้งกาย สติ จิต

    3.ถ้าตื่นมาแล้ว อานาปาสติ ตอนเช้า จับภาพพระ ต้องทิ้งคำภาวนา มีวิธีไหน ที่จะทำให้มันลืม คำภาวนาไปก่อนไหมครับ

    ตอบไปแล้วค่ะ แต่ทวนอีกที ให้เริ่มต้นด้วยคำภาวนาก่อนสักแป๊บหนึ่ง พอให้ใจสบาย แล้วฝึกทิ้งคำภาวนาเปลี่ยนไปเป็นนึกถึงภาพพระแทน แต่ให้เน้นใจสบายเป็นใหญ่นะคะ ถ้าทำแล้วไม่เวิร์คก็ให้ทิ้งทั้งคำภาวนาและภาพพระ เปลี่ยนไปเป็นตามดูลมหายใจเฉย ๆ พอให้จิตคลายจากกายยึดเกาะคำภาวนาก่อน แล้วค่อยตะล่อมจิตไปดูภาพพระใหม่

    4.ลักษณะของภาพแก้ว คือ เป็นภาพพระที่ไม่มีรายละเอียดอะไรเลย เหมือนดวงกสิณที่เป็นแก้ว เกลี้ยงๆ แบบนี้ใช้ได้ไหมครับ เพราะถ้าเป็นภาพพระ บางทีี่รายละเอียดของภาพจะเยอะกว่ากสิณมาก

    ใช้ได้ค่ะ ที่น้องเอิ้นถามนั้น น้องเอิ้นเข้าใจถูกต้องแล้วค่ะ

    5.การสลับ ฌาณ ก็ทำครับ ถ้าเกิด ธุระยุ่งมากๆ จะลง มา ฌาณ1 หรือ 2 ทันทีเลย เพราะ ถ้า ฌาณ 3 ยังไม่ไหวครับ

    ค่ะ ค่อย ๆ ทำไปค่ะ รักษาใจเป็นกลางไว้

    อารมณ์ในช่วงนี้ - เย็นๆ สบาย มีสติ ในการ ดูจิต ที่คิดไม่ดี เหมือนมันยังมีจิตที่ไม่ดี อยู่ในตัวเราครับ ทำอย่างไร มันถึงจะหายครับ

    อารมณ์ความคิดเรื่องกุศลหรืออกุศลเป็นเรื่องธรรมดาของขันธ์ห้า เราไม่สามารถห้ามไม่ให้ขันธ์ห้าผลิตความคิดได้ เพราะสังขารร่างกายนี้มันไม่ใช่ของเรา(จิต) เรา(จิต)จึงบังคับบัญชามันไม่ได้

    เพราะอะไรสังขารร่างกายนี้จึงไม่ใช่ของเรา(จิต) เพราะยังไงกายหยาบนี้มันก็ต้องตายแน่ ๆ แต่ตายเมื่อไรไม่รู้ รู้แต่ว่ามันต้องตายแน่ ด้วยเหตุว่าชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็นของเที่ยง ควรกำหนดรู้ รู้ แล้ว ปล่อยวางไป ปล่อยวางแล้ว

    เราไม่สามารถห้ามความคิดได้ก็จริง แต่เราสมารถสร้างสติขึ้นมาเป็นตัวควบคุมความคิดได้ การสร้างสติวิธีที่ง่ายที่สุดคือ ไม่ว่าเจอกระทบอะไรหรือคิดอะไรให้เบนจิตเบนใจไปนึกถึงพระทันที ตอนที่เรานึกถึงพระนั้นเรามีสติเราจึงนึกได้ ถ้าไม่มีสตินึกถึงพระไม่ได้อย่างแน่นอน

    การฝึกสติกับความคิด ไม่ต้องไปซีเรียสอะไรมากค่ะ เริ่มแรกก็ฝึกมีสติตามดูอารมณ์ไปก่อน ยังไม่ต้องไปวิปัสสนาอะไรทั้งนั้น มีสติตามดูอารมณ์อย่างเดียว แล้วใช้ปัญญาแยกแยะว่า อารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นกุศลหรืออกุศล เป็นอารมณ์ รัก โลภ โกรธ หรือหลง

    เมื่อตามดูตามรู้อารมณ์แล้วก็ไม่ต้องทำอะไร แค่รู้แล้วก็วาง ปล่อยวางไป แต่ให้ทำบ่อย ๆ ทำเนือง ๆ สติจะไวขึ้นและตามทันอารมณ์ความคิดมากขึ้นค่ะ

    ให้สังเกตว่าถ้าสติตามทันอารมณ์หรือความคิด ความคิดจะหยุดเกือบทันทีหรือทันที นี่คืออานิสงค์ของการฝึกสติ สามารถช่วยหยุดความคิดได้ค่ะ

    ขอบคุณพี่เพ็ญและพี่หนูมากๆ ครับ ช่วงนี้ฝนตกรักษาสุขภาพด้วยครับ ภัยพิบัติ ก็ ใกล้ๆ เข้ามาทุกทีแล้ว


    น้องเอิ้น


    ขอบคุณค่ะ น้องเอิ้นก็เช่นกันรักษาสุขภาพด้วยค่ะ ถึงแม้กายหยาบนี้จะไม่ใช่ของเรา แต่เราก็ยังต้องอาศัยร่างกายนี้เป็นฐานที่ตั้งการงานของจิตฝึกปฏิบัติธรรมจนกว่าจะสำเร็จมรรคผลนิพพาน

    ไม่ต้องห่วงเรื่องภัยพิบัติค่ะ ถ้าจิตเราดีแล้วภัยอะไรก็ไม่สามารถกระทบถึงจิตของเราได้

    ขอให้เจริญสุขและเจริญในธรรมยิ่ง ๆ ขึ้นไปจนถึงซึ่งนิพพานโดยเร็วพลันในชาติปัจจุบันนี้เทอญ

    พี่เพ็ญ
     
  16. natthapatpun

    natthapatpun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,124
    ค่าพลัง:
    +25,214
    ใช้ได้ค่ะ อะไรที่ทำไปโดยเจตนาเป็นกุศลกับจิตกับใจ ขอให้ขวนขวายทำบุญกันให้บ่อย ทำกันให้เนือง ๆ คำว่าขวนขวายทำบุญในที่นี้ หมายถึงทำบุญภายในค่ะ มีอานิสงค์ผลบุญมากกว่าทำบุญภายนอก ขอให้นักปฏิบัติธรรมทุกท่านขวนขวายทำบุญภายในคือบำเพ็ญภาวนาสมาธิและแผ่เมตตาอย่างสม่ำเสมอ ผลบุญที่ท่านได้จากการบำเพ็ญภาวนานั้น จะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้จิตของท่านทำจิตเกาะพระได้แนบแน่นและเดินทางถึงนิพพานโดยเร็วพลัน
     
  17. โมกขทรัพย์

    โมกขทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    474
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,849
    ผมชอบสไตล์การ แต่งแต้มธรรมะบนตัวอักษรของคุณภูเจ้าของกระทู้มากครับ(ชื่อเหมือนผมเลยนะเนี่ย) การแสดงออกถึงความตั้งใจที่จะตอบทุกคนด้วยความเป็นกลาง จิตใจเยือกเย็น ไม่หวั่นไหวต่อคำยั่วยุต่างๆ แสดงถึงอารมณ์ของจิตที่ผ่านการอบรมมาอย่างดี และทรงพรหมวิหาร ๔ ตลอดเวลา โมทนาสาธุด้วยครับ จิตสาธารณะแบบนี้ เป็นลักษณะของจิต พุทธภูมิครับ(ผมเดาเอาไม่ทราบว่าถูกไหมเอ่ย) ขอให้คุณภูเจ้าของกระทู้ พึงรักษาความมั่นคงแบบนี้ไปนานๆนะครับ และขอให้เจริญทั้งทางโลกและทางธรรมครับ พร้อมทั้งกันนี้ผมได้ขอฝากกระทู้ด้วยครับ

    http://palungjit.org/threads/ประสบการณ์จริง-เจ้ากรรมนายเวร-ในอดีตชาติของผม.343778/


    ในกระทู้ผมได้เล่าเรื่องเกี่ยวกับกรรมของผม ผมรู้ได้โดยการเจริญกรรมฐาน ตามแนวของหลวงพ่อฤาษีฯครับ และในกระทู้ได้กล่าวถึงการปฏิบัติธรรมของผมโดยละเอียด ว่าผมมีการเจริญกรรมฐานแบบไหน หากท่านใดสนใจจะลองเอาไปฝึกฝนอาจจะถูกกับจริตของบางท่าน ผมขอโมทนาด้วยครับ สาธุ สาธุ สาธุครับ
     
  18. โมกขทรัพย์

    โมกขทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    474
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,849
    ผมขออนุญาติ การปฏิบัติธรรมของผมในช่วงเช้าและเย็นของผมมา แสดงไว้ณ.ที่กระทู้นี้ด้วยนะครับ เผื่อมีประโยชน์กับบางท่านที่สนใจเรื่องการจับภาพพระ และอุบายต่างๆสำหรับการทำจิตให้ สงบ เป็นเอกัตคตารมณ์ครับ

    มีหลายท่าน PM ไปหาผม เรื่องการปฏิบัติ กรรมฐานอย่างไรให้ได้เกิดผล ผมพิจารณาแล้วเห็นมีประโยชน์ จึงจะเอามาเพื่อเป็นเครื่องช่วยให้เกิดแรงใจในการปฏิบัิติ เผื่อจะถูกจริตกับใครบ้าง ก็นำไปใช้ได้ตามอัธยาศัยได้เลยครับ

    เริ่มเลยผมจะตื่นประมาณ ตี ๒ :๔๕ โดยประมาณ ลุกขึ้นมาทำธุรกิจส่วนตัว แล้ว ลงไปทำงานที่ชั้นล่างของบ้าน(งานในที่ไม่ขอกล่าวนะครับเพราะไม่มีประโยชน์ อะไรกับการปฏิบัติธรรม) ผมจะทำงานเสร็จประมาณ ตี๔ ขาดเกินไม่ ถึง สิบนาที หลังจากนั้นก็จะจุดเทียน บูชา พระรัตนตรัย แล้วเริ่มสวดมนต์ ซึ่งบทสวดมนต์ผมมีดังนี้ครับ
    ตั้งนะโมสามจบ ตามด้วย บทสวด อะระหัง และอิติปิโส อย่างละจบ
    หลังจากนั้นตามด้วยคาถาเงินล้าน อีก ๙ จบ สมาทานศีล บทแผ่เมตตา และ และขอขมาพระรัตนตรัย และกราบลาพระครับ

    สวดแบบช้าๆ เอาเนื้อๆ ไม่รีบไม่เร่ง ไม่ค่อยหรือไม่ดังเกินไป จิตจดจ่ออยู่กับบทสวดมนต์ตลอดเวลา ผมจะนึกภาพบทสวดขึ้นมาและให้ ตัวอักษรเหล่านั้นไหลผ่านตา(ตาในใจ) พร้อมกับ ปากท่องไปด้วยครับ ใช้เวลาประมาณ ๒๕
    -๓๐ นาทีโดยประมาณ ต่อจากนั้น เปิดไฟล์เสียงของหลวงพ่อ บทสมาทานพระกรรมฐาน



    เสร็จแล้ว นั่งเพ่งภาพพระให้ ชุ่มใจ ก่อนซัก ๒-๓ นาที ก่อนจะ นั่งเอาขาขวาทับ ขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ผมนั่งแบบ สบายๆ ไม่เกร็ง เพราะจะทำให้นั่งได้นาน หลังไม่งอ และที่สำคัญ นั่งตัวตรงแบบนี้ลมเดินสะดวกดี สำคัญต้องตั้งกายตรง จิตตั้งมั่น แต่ไม่ตรงจนเกร็งจนรู้สึกปวด และไม่ปล่อยจนหลังงอ
    จน ทำเสียสมดุลไป เพราะจะกลายเป็นขี้เกียจไป ให้นั่งสบายๆ ทำใจสบายๆ ผมแนะนำให้นั่งแบบไหนก็ได้ครับเอาแบบถนัด เพราะถ้าฝืน ทำให้การภาวนา เวทนาเกิด จนจิตรวมได้ยาก
    เพราะตอนที่ผมไปฝึกมโนฯก็ไม่เห็นต้องนั่งขัดสมาธิเลยครับ นั่งบนเก้าอี้เอา เน้นที่สบายแต่ไม่ขี้เกียจครับ


    หลัง จากนั้นผมค่อยๆหลับตา สูดลมหายใจลึกๆแรงๆ ยาวๆ เพื่อ ปล่อยลมหยาบออกไปให้หมด ซัก ๓-๔ ครั้ง


    กำหนด ลมหายใจ เข้าออก เริ่มจากลมหายใจเข้าพร้อมคำภาวนา นะมะ(ใครจะใช้อะไรก็ตามสะดวกเลยครับ แต่ผมใช้ นะมะ พะธะ) ให้ผ่านปลายจมูก ผ่านกึ่งกลางอก และไปจบที่ เหนือสะดือ ประมาณสองนิ้ว หายใจออกพร้อมคำภาวนาให้เริ่มจากจุดเหนือสะดือ ผ่านกึ่งกลางอก กระทบที่ปลายจมูก ทำแบบนี้ซ้ำๆย้ำๆจนจิตเข้าสู่สภาวะฌานที่ละเอียด หลังจากนั้นกำหนดภาพพระขึ้นมา อธิฐานให้ใส สว่าง เล็กสุด ใหญ่สุดจนเต็มฟ้า ให้เป็นร้อยๆองค์ ไปข้างหน้า ข้างบน ประทับบนไหล่ซ้าย ขวา อยู่ในอก นั่งบนหัว เอาให้ชุ่ม เอาให้พอ หลังจากนั้น ประคองภาพไว้ ให้องค์พระมานั่งอยู่ระดับสายตา อธิฐานให้ใหญ่พอระดับที่จะมองเห็นได้ทุกสัดส่วน พอดี เต็มองค์

    ตอน หายใจเข้าพร้อมกับคำภาวนา ให้เอาความรู้สึกทั้งหมดและวิ่งตามลมมากระทบอก จบที่กระทบปลายจมูก ส่วนองค์พระกำหนดไว้ให้พอดีระดับสายตา ใหญ่เท่าระดับที่เรากำหนดไว้ตอนแรกก่อนที่จะเริ่มจับลมนั้น
    พอ หายใจออกพร้อมคำภาวนาความรู้สึกไหลขึ้นมา กระทบจุดแรกคือ ท้อง ตามด้วย หน้าอก และสุดท้ายคือปลายจมูก(แบบที่ผมทำเขาเรียกว่าจับลมสามฐานครับ) และให้กำหนดเอาความรู้สึกว่าองค์พระวิ่งลงตามลมหายใจ จากตรงหน้าไหลมาอก และและองค์พระเริ่มเล็กลง และไปสุดที่สะดือ กลายเป็นองค์เล็กสุด สว่างเล็กๆอยู่ตรงนั้น
    หายใจ เข้า พร้อมคำภาวนา เอาความรู้สึกไหลตามลมหายใจ ให้องค์พระไหลตามขึ้นมาด้วยกระทบที่อก จบที่ปลายจมูก จนองค์พระใหญ่เท่าเดิมเริ่มแรกที่เรากำหนด
    พอ หายใจออกพร้อมคำภาวนาความรู้สึกไหลขึ้นมา กระทบจุดแรกคือ ท้อง ตามด้วย หน้าอก และสุดท้ายคือปลายจมูก และให้กำหนดเอาความรู้สึกว่าองค์พระวิ่งลงตามลมหายใจ ไหลมาอก และเริ่มเล็กลง และไปสุดที่สะดือ กลายเป็นองค์เล็กสุด สว่างเล็กๆอยู่ตรงนั้น
    หายใจเข้าองค์พระใหญ่ระดับสายตา หายใจออก องค์พระเล็กสุด ไปอยู่ระดับจุดกำเนิดลมคือระดับสะดือ
    ทำ แบบนี้ติดต่อกันไปเรื่อย จนคำภาวนาหายไป จิตจะเริ่มรวมได้ กำหนดรู้ทั้งองค์พระและ ลมหายใจที่กระทบตลอดเวลา ถ้าเผลอ ไปคิดเรื่องอื่น ดึงกลับมาที่จุดเริ่มต้นใหม่


    ผม ทำแบบนี้ จนคำภาวนาหายไป ผมไม่สนใจ เอาจิตจับที่ลม กับองค์พระอย่างเดียว พอจิตนิ่งได้ที่ ผมจะมองเห็นลม วิ่งเป็นสายตามองค์พระขึ้นมาเลยครับ จนในที่สุด จับลมได้แผ่วๆ องค์พระเป็นประกายใส สว่างไสว ไหลเข้าไหลออกอยู่อย่างนั้น ทีนี้นึกครึ้มอก ครึ้มใจ ก็ให้ไปสว่างบนหัวบ้าน ตรงไหล่ ทั้งสองข้างบ้าง ข้างหลังบ้าง เรียกว่า เอาให้ครบทั้ง ๓๖๐ องศาเลยครับ
    พอจิตนิ่งดีแล้ว จะรู้สึกว่า มันสว่างจ้า องค์พระใสดีจนเป็นประกายระยิบระยับ ทีนี้ผมไม่ให้องค์พระไหลแล้วครับ กำหนดให้ท่านนั่งอยู่ตรงหน้า อย่างนั้นในระดับสายตาพอดี พร้อมกับความโพรงของจิต ที่มันรู้สึกได้ เหมือนกับมันสว่างๆไปหมด ลมหายใจแผ่วแทบไม่รู้สึก แขน ขา หายไป (หากอยากรู้ว่า ประสาทกับกายแยกกันรึยังให้ลองกำหนดขยับนิ้วดู ถ้านิ้วยังขยับอยู่แสดงว่ายังใช้ไม่ได้ ถ้า นิ้วไม่ขยับแสดงว่า ประสาทแยกกับกายสิ้นเชิงแล้ว ถือว่าใช้ได้)

    ทรง อารมณ์แบบนั้นให้นานที่สุดครับ จะรู้สึกถึง ความว่าง สว่าง จิตรวมเป็นหนึ่งเดียว ไม่มีวอกแวกเรื่องอื่น พอจิตมันอิ่มได้ที่แล้ว มันจะคลายตัวของมันเอง ให้ลองกำหนดจิตให้เห็นคำภาวนาใหม่ จับที่ลมหายใจใหม่ พร้อมกับกำหนดภาพพระใหม่ เหมือนซักซ้อม ฌานเพื่อให้เกิด วสี คือความคล่อง ในการ เข้าออก ฌาน


    ผมเข้าใจตามความรู้สึกของผมอย่างนี้ครับ

    ฌาน๑ วิตก วิจาร์ณ ปิติ สุข เอกัคคตารมณ์
    ๑. วิตก จิตกำหนดนึกคิด โดยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกว่าหายใจเข้าหรือออก ทั้งคำภาวนา และภาพพระ[FONT=&quot]

    [/FONT]๒. วิจาร ถ้ากำหนดลมหายใจ ก็ใคร่ครวญกำหนดรู้ไว้เสมอว่าเราหายใจเข้าหรือหายใจออก[FONT=&quot]
    [/FONT]หายใจเข้าออกยาวหรือสั้นหายใจเบาหรือแรง ในวิสุทธิมรรคท่านให้รู้กำหนดลมสามฐานคือหายใจเข้า[FONT=&quot]
    [/FONT]ลมกระทบจมูก กระทบอก กระทบศูนย์เหนือสะดือนิดหน่อยหายใจออกลมกระทบศูนย์ กระทบอก[FONT=&quot]
    [/FONT]กระทบจมูกหรือริมฝีปาก[FONT=&quot]
    [/FONT]ถ้าภาวนา ก็กำหนดรู้ไว้เสมอว่า เราภาวนาถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ประการใด[FONT=&quot]
    [/FONT]ถ้าเพ่งภาพกสิณ ก็กำหนดหมายภาพกสิณว่า เราเพ่งกสิณอะไรมีสีสันวรรณะเป็นอย่างไร[FONT=&quot]
    [/FONT]ภาพกสิณเคลื่อนหรือคงสภาพ สีของกสิณเปลี่ยนแปลงไปหรือคงเดิมภาพที่เห็นอยู่นั้นเป็นภาพกสิณ[FONT=&quot]
    [/FONT]ที่เราต้องการ หรือภาพหลอนสอดแทรกเข้ามา ภาพกสิณเล็กหรือใหญ่ สูงหรือต่ำดังนี้เป็นต้น อย่างนี้[FONT=&quot]
    [/FONT]เรียกว่า วิจาร[FONT=&quot]
    [/FONT]๓. ปีติ ความชุ่มชื่นเบิกบานใจ มีเป็นปกติ[FONT=&quot]
    [/FONT]๔. ความสุขเยือกเย็น เป็นความสุขทางกายอย่างประณีตซึ่งไม่เคยมีมาในกาลก่อน[FONT=&quot]
    [/FONT]๕. เอกัคคตารมณ์ มีอารมณ์เป็นหนึ่ง คือ ตั้งมั่นอยู่ในองค์ทั้ง ๔ประการนั้นไม่คลาดเคลื่อน[FONT=&quot]
    [/FONT]

    ข้อที่ควรสังเกตก็คือ ปฐมฌานหรือปฐมสมาบัตินี้
    เมื่อขณะทรงสมาธิอยู่นั้นหูยังได้ยินเสียง[FONT=&quot]
    [/FONT]ภายนอกทุกอย่าง แต่ว่าอารมณ์ภาวนาหรือรักษาอารมณ์ไม่คลาดเคลื่อน ไม่รำคาญในเสียงเสียงก็ได้ยิน[FONT=&quot]
    [/FONT]แต่จิตก็ทำงานเป็นปกติ อย่างนี้ท่านเรียกว่า ปฐมฌาน คือ อารมณ์เพ่งอยู่โดยไม่รำคาญในเสียง[FONT=&quot]
    [/FONT]ทรงความเป็นหนึ่งไว้ได้ ท่านกล่าวว่า กายกับจิตเริ่มแยกตัวกันเล็กน้อยแล้วตามปกติจิตย่อมสนใจ[FONT=&quot]
    [/FONT]ในเรื่องของกาย เช่นหูได้ยินเสียง จิตก็คิดอะไรไม่ออกเพราะรำคาญในเสียงแต่พอจิตเข้าระดับ[FONT=&quot]
    [/FONT]ปฐมฌาน กลับเฉยเมยต่อเสียง คิดคำนึงถึงอารมณ์กรรมฐานได้เป็นปกติที่ท่านเรียกว่าปฐมสมาบัติ[FONT=&quot]
    [/FONT]ก็เพราะอารมณ์สมาธิเข้าถึงเกณฑ์ของปฐมฌานที่จิตกับกายเริ่มแยกทางกันบ้างเล็กน้อยแล้วนั่นเอง

    ซึ่งเรามีครบหมดทุกองค์ประกอบ
    ฌาน๒. คำภาวนาหายไป มีบ้างที่กลับมา ลมหายใจแผ่วๆ ลงภาพพระชัดเจนขึ้น ได้เสียงข้างนอกอยู่แต่ไม่รำคาญ ครับ
    ฌาน๓ ลมละเอียดมากขึ้น คำภาวนาหายไปสิ้นเชิง ภาพพระแจ่มใสขึ้นกว่าเดิมจนเกือบจะเป็นประกายพรึก มีแสงแวปๆบ้าง
    ฌาน๔ แทบจะจับลมหายใจไม่ได้ แขน ขาหายไป เหลือเพียงจิตดวงเดียว สว่างโพลง แต่ไม่รู้สึกแสบตา ภาพพระเป็นประกายพรึก แจ่มใสขีดสุด
    ผมลองกำหนดคำภานาขึ้นมาจดจ่ออยู่กับคำภาวนา สักพัก คำภานาก็หายไปเหลือแต่จิตดวงเดียวเหมือนเดิม คือผมพยายามจะไต่ระดับจาก ฌาน๑-๔เพื่อฝึกความคล่องตัว(วสี) เริ่มสนุกครับ มันส์ดี ไม่รู้สึกเบื่อเลย

    ครั้ง แรกๆตอนที่ผม ทรงฌานได้ละเอียดนั้น ผมจะใช้มโนฯไปกราบพระเลยครับ เพราะพอกำหนดให้มาอยู่ ฌานที่ละเอียด มากๆ จิตมันจะเริ่มอิ่มตัว มันจะคลายของมันเองตอนนี้ล่ะครับ ก่อนที่มันจะคลายมากกว่านี้ ผมก็จะรีบกำหนดจิตไปกราบพระบนนิพานเลยเอากำไรไว้ก่อน ฮ่าๆ เดี๋ยวจะขาดทุน ขึ้นไปกราบองค์พระศาสดา ตอนเช้าๆ ท่าน สวยงามเหลือเกิน เป็นแก้วใส แต่งชุด วิสุทธิเทพงามเป็นประกายพรึก พร้อมทั้งอัคร สาวก ซ้ายขวา ที่แต่งชุดเป็นภิกษุปกติแต่ตัวท่านใสเป็นแก้ว แวว วาวและเหล่า พระอรหันต์ที่อยู่ข้างบน ล้วนแต่ ใสเป็นแก้ว กันทั้งสิ้น

    หลังจากนั้นบางคราว ก็เห็นหลวงพ่อฤาษีมายืนยิ้มด้วยความเมตตาให้ มีอยู่ครั้งหนึ่งผมจำได้ว่า ท่านกล่าวกับผมว่า
    ทรงอารมณ์ถูกแล้วลูกพยายามมาบ่อยๆนะ ทรงจิตให้ได้อารมณ์นี้ให้นานที่สุด ผมก็รับคำท่าน ส่วนมาก ท่านทรงจีวร ถือไม้ท้าวมาด้วย

    มีอยู่คราวหนึ่ง ตอนนั้นผมขอให้ท่านอนุเคราะห์ ขอให้ท่านทรงเครื่องวิสุทธิเทพ แหม๋
    !! อีตอนนี้ล่ะครับ หลวงพ่อเรา หล่อมากครับ หนุ่มเฟี้ยวมาเชียว แล้วขอความอนุเคราะห์ให้ท่านกลับไปเป็นเหมือนเดิม เพราะผมไม่ชิน กับภาพ หลวงพ่อ ตอน ทรงเครื่อง ผมชอบหลวงพ่อตอนหลวงพ่อ ถือไม้เท้า ห่มจีวรนี่ล่ะครับ คุ้นตาดี

    หลังจากนั้นบางครั้งผมจะกำหนดจิต แยกกายเท่าจำนวนพระ แล้วก้มกราบท่าน
    ทั้งหมด ต้องรีบครับ เพราะจิตจะอิ่ม มันจะคลายตัวก่อนหลังจากนั้นแวะไปกราบท่านปู่ท่านย่า แล้วแวะไปนมัสการ พระจุฬามุณีและพระเขี้ยวแก้ว ลักษณะเหมือนงาช้างเล็กๆ ที่ใสเป็นประกาย อยู่ใน ผอบใส แล้วกำหนดจิตกลับมาอยู่ที่ตัว ตอนนี้จิต คลายตัวแล้วครับ พอจิตคลาย เวทนา เริ่มกิน ล่ะ เอาจับอริยสัจ ทันที เริ่มจาก

    ทุกข์ ไอ้ความรู้สึก ปวดนี่ล่ะ ปวดแข้ง ปวดขา ปวดหลัง โอ๊ย สารพัดปวด ตอนนี้ท้องเริ่มร้อง เพราะหิว เริ่มเห็นตัวทุกข์ชัดเจน

    สมุทัย
    เหตุที่ทุกข์ เพราะมันมีร่างกายนี่ล่ะ เจ็บแข้งปวดขา ปวดหลัง อยู่นี่ ก็เพราะร่างกายตัวเดียว นอกจากมันจะทุกข์แล้วมันยังจะแก่ ไม่มีความสวยความงาม มีแต่เจ็บไข้ได้ป่วย แถมยังไม่รู้จักบุญคุณเราอีก เวลามันตายก็ห้ามมันให้ตายไม่ได้


    นิโรธ
    คือสภาพที่หายจากทุกข์ ก็ตอนที่ไปกราบพระบนนิพานนี่ล่ะครับ จิตมันสุขอย่าบอกใครเชียว สงบ สะอาด สว่าง เบาสบายไปหมด
    ใครจะว่าเป็นนิพพานชั่วคราวอะไรก็ช่าง แต่ผมก็ไมสนใจ เอาใจสบายเป็นพอครับ


    มรรค
    อันนี้ก็ชัดเจนอยู่แล้ว ทางดับทุกข์ อันประกอบด้วย องค์แปดประการ เริ่มแรกเลย



    สัมมาทิฏฐิ
    เห็นชอบเห็นชอบอะไร[FONT=&quot]? [/FONT]ก็เห็นว่า พระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์มีจริงน่ะสิเห็นอริสัจที่ พระพุทธองค์ตรัสรู้ แล้วนำมาสั่งสอนให้พวกเราได้รู้อยู่นี่ไง


    สัมมาสังกัปป
    คืออะไรคือการดำริชอบ การคิดชอบนั่นเอง ก็เหมือนกับที่พวกท่านกัลยามิตรทั้งหลายนี้ กำลังมีความคิดที่ถูกต้องแล้ว เช่นการคิดจะทำความดี สั่งสมบุญบารมี ทำตรัยสิกขาให้ถึงพร้อมทำบารมีสิบให้ครบถ้วน แม้ไม่ได้บวชกาย แต่เราก็บวชด้วยใจ


    สัมมากัมมันตะ
    การประพฤติชอบอันนี้ พวกเราก็รู้แล้วไม่ต้องคุยกันมาก บุคคลที่สั่งสมบุญย่อมรู้ว่าอะไรควรไม่ควรอยู่แล้ว


    สัมมาวาจา
    คือ เจรจาชอบ หมายถึง การพูดต้องสุภาพ ไม่พูดเพ้อเจอ ส่อเสียด โกหก หยาบคาย ผมว่าปิยะวาจา คือสิ่งที่บ่งบอกว่าเราถูกอบรมเีลี้ยงดูมาแบบไหนนะครับ

    สัมมาอาชีวคือ การทำมาหากินอย่างสุจริตชน ไม่คดโกง เอาเปรียบคนอื่น ๆ มากเกินไป
    สัมมาวายามะ คือ ความเพียร เพียรจะทำแต่สิ่งที่ดีๆ ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค์ ผมว่า หลายคนในที่นี้มีเต็มเปี่ยมแล้ว

    สัมมาสติ คือ การไม่ปล่อยให้เกิดความพลั้งเผลอ จิตเลื่อนลอย ดำรงอยู่ด้วยความรู้ตัวอยู่เป็นประจำ อันนี้สำคัญนะครับ เป็นตัวยับยั้งอกุศลกรรมทั้งปวง

    สัมมาสมาธิ คือ การฝึกจิตให้ตั้งมั่น สงบ สงัด จากกิเลส นิวรณ์อยู่เป็นปกติ อันนี้เราทำกันประจำยิ่งคนได้มโนมยิทอย่างท่านในที่นี้หลายคนๆ ผมว่า คงไม่เคยขาดกัน ยิ่งเจริญมากเท่าไร ยิ่งดีครับ

    สรุปง่ายๆคือ มรรคแปด แยกย่อยได้ เป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ครับ และเสริมเพิ่มเติมเข้าไปด้วยก็คือการอธิฐานถึงพระนิพพานโดยเร็วด้วยครับ

    ผมคงไม่อธิบายยืดยาวมากมายครับ เดี๋ยวจะกลายว่าเอามะพร้าวห้าวมาขายสวน คิดว่าหลายๆท่านคงจะทราบดีกันอยู่แล้ว

    บ่นมาซะเยอะเลย ไม่ทราบว่า กัลยามิตรท่านใดพอจะเข้าใจในแนวทางผมบ้างรึเปล่าครับ ผม ก็ยังอ่อนหัด เยอะครับ เข้าใจว่า ในบอร์ดนี้ คงจะมีคนที่มีภูมิจิตภูมิธรรมสูง หลายท่าน ยังไงผมก็ขอคำชี้แนะด้วยล่ะกันนะครับ ถ้าหาก ผมทำอะไรผิดพลาดไป

    เอ๊า
    ..!! แวะไปไหนล่ะนั่น กลับมาเรื่องเดิมครับ



    หลังจากที่จิตมันถอนอารมณ์อิ่มมา อันดับแรก จิตเรามีกำลังสูง ให้จับวิปัสสนาเลยครับ จะเอาตัวไหนก็ตามที่ท่านถนัด จะจับขันธ์๕ หรืออริสัจ หรือ วิปัสสนาญาณ๙ ก็ตามอัธยาศัย หลวงพ่อเล็ก วัดท่าขนุนท่านเคยกล่าวเอาไว้ว่า
    หากเราไม่ รีบจับวิปัสสนา นั่งแล้วเลิกเลย จะกลายเป็นว่า เราไปเพิ่มกำลังให้กิเลส เพราะ ตอนนี้จิตมีกำลังสูงสุด หากเราคิดในทางอกุศลในตอนนั้น กิเลสมันก็ได้กำลังเพิ่มทันทีเพราฉะนั้น ขั้นตอนที่จิตมีกำลังสุดให้ รีบจับวิปัสสนาเลยครับ ส่วนผมก็จับ แต่ไม่รู้ว่า จิตมันจะถอนกิเลสได้มากน้อยเท่าไร เพราะจิตมันยังเลวอยู่มาก มันคบกับกิเลสมาหลายกัปล์ หลายกัลป์ เกินไป ผมเลยต้องใช้ความพยายามมากเป็นเท่าตัว ได้ทีละนิดล่ะหน่อยก็เอาครับ ดีกว่าไม่ได้อะไรเลยจริงมั้ยครับ ผมจับวิปัสสนาไปเรื่อยๆ นาฬิกาก็ดังหมดเวลาพอดี ผมตั้งเอาไว้เฉพาะนั่งภาวนานั้น ชม.ครึ่งครับ



    และสรุปการภาวนา ผมได้ ใช้กรรมฐานหลายตัวเลยครับ

    ๑ พุทธนุสติ จากการใช้ภาพพระ
    ๒ ธรรมมานุสติ จาก องค์ภาวนา
    ๓ สังฆานุสติ จากที่ไปพบหลวงพ่อบนนิพพาน
    ๔ อานาปานสติ กรรมฐานกองใหญ่สุด สำคัญสุด จับกองไหน ก็เอากองนี้เป็นหลักไว้ครับ
    ๖ กสิณ จากการใช้ภาพพระเป็นองค์กสิณ
    ๗ เทวตานุสติ จากที่ไปพบ ท่านปู่อินทร์และแม่ย่า บนดาวดึงสเทวโลก
    ๘ อุปสมานุสติ จากที่ไปกราบพระบนนิพพาน (ผมมักใช้มโนไปนิพพานมากกว่าที่อื่น ครับ นรกไม่ชอบเพราะอึดอัด สวรรค์ก็เฉยๆ นอกจากไปกราบท่านปู่ท่านย่า กราบพระเขี้ยวแก้วที่จุฬามณีที่อื่นก็ไม่ได้ไป)
    ๙ กายคตานุสติ จากที่จับ อริยสัจ ว่าร่างกายมันเป็นทุกข์
    เห็นไหมครับ วันๆหนึ่งๆ ได้กรรมฐานหลายกองเลย
    ๐ มรณานุสติ จากการพิจรณาร่างกายมันต้องตาย ต้องเน่าต้องเปื่อยผุพัง

    เล่ามายืดยาวแล้ว ทั้งหมดก็คือ การภาวนา ของผมในทุกวันตอนเช้า ตลอดระยะเวลา ๕ ถึง ๖ เดือนที่ผ่านมานี้ มีบางครั้งผม เหนื่อย ผมท้อ เวลาที่ อกุศลกรรมเข้าแทรก ผมจะคิดทันทีว่า "
    มารมาแล้ว" มารมาทำให้ท้อ ทำให้ผมเลิกทำความเพียร พอคิดได้แบบนี้มาร ก็แจ้นหนีชั่วคราว เพราะผมรู้ทัน แต่เขาไม่ไปไหนหรอกครับ มารเขามีบททดสอบเยอะ เขามาได้หมด รักโลภ โกรธ หลง เขาขยันออกข้อสอบเราจะตาย ถ้าเราขาดสติเมื่อไร จบกันครับ อย่าเสียรู้มารเชียว พระพุทธองค์ให้ฝึกสติก็เพราะเหตุนี้ล่ะครับ ผมเลยต้องเร่งสปีดให้เร็วที่สุด เพราะไม่รู้ว่า ชีวิตมันจะยืนยาวเท่าไร เพราะชีวิตเป็นของไม่เที่ยงแต่ความตายเป็นของเที่ยง ถ้าเกิดผมตายวันนี้พรุ่งนี้ ผมจะได้ไม่เสียชาติเกิดที่ได้เกิดมาเป็นคน ได้โอกาสพบพระพุทธศาสนา ได้ศึกษาคำสอนของสมเด็จพระบรมครู ได้เป็นลูกหลวงพ่อ ก็เป็นบุญกุศลที่เปรียบไม่ได้แล้ว

    สรุปแล้วผมใช้เวลา ในการ ปฏิบัติธรรม ในรอบเช้า ประมาณ ๒ชม.ครับ

    ส่วนรอบเย็นนั้นก็คล้ายๆกันครับ เริ่มตั้งแต่สี่ทุ่มจนถึงเที่ยงคืนบ้าง หรือตามแต่โอกาส แต่จะพยายามไม่ให้ขาดครับ


    ผมจำได้ว่า ตอนที่ผมได้มโนฯใหม่ๆ ขึ้นไปกราบหลวงพ่อบนโน้น หลวงพ่อท่านกล่าวว่า "ลูกหลานของพ่อ พ่อจะตามมาให้หมด จะเอามาอยู่บนนี้ให้หมด หรืออย่างน้อยๆก็ต้องไม่ตกนรก" อันนี้ล่ะครับ ที่ทำผมปิติ จนกลั้นน้ำตาไม่ได้ หลวงพ่อท่านช่างมีเมตตาเหลือเกินครับ

    ที่คุณได้ฝึกมโนฯนั้น เป็นกุศลใหญ่เลยนะครับ เพราะหลวงพ่อกล่าวว่า หากคนไ่ม่มีของเก่า ไม่มีทางที่จะได้มโน้ฯเป็นอันขาด เพราะมโนฯ ต้องฝึกกันเป็ํนแสนๆชาติ และที่สำคัญคุณต้องเคยเป็นลูกหลานของหลวงพ่อแน่นอนครับ เหมือนกับผม ที่อดีตชาตินั้น เคยเป็นทหารรับจ้างของหลวงพ่อ สุดท้ายแล้ว ก็ไปสมัครร่วมรบกับท่านโดยที่ไม่เอาค่าจ้างอะไร


    ลูกหลานหลวงพ่อทุกคน จะเก่งเรื่องฤทธิ์ครับ สังเกตุให้ดีจะได้มโนฯแทบทั้งนั้น และมโนฯก็เป็นอภิญญาเล็ก ที่จะทำให้เป็นบาทไปสู่ อภิญญา ๕ หากตั้งใจก็ทำได้ครับ


    ลูกหลานหลวงพ่อมีสองแบบ ก็คือ พวกที่เก่งจนไปนิพพานได้ กับพวกที่เก่งจนต้องไปอยู่นรกครับ เนื่องมโนฯหากใช้ผิด ก็จะคิดว่ากูนี่เจ๋ง กูนี่แน่ เที่ยวไปทำอะไรที่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทำให้เสียเวลาในเข้าถึงมรรผล การใช้มโนฯที่ถูกต้องนั้น ต้องน้อมเข้ามาในใจของตน ว่านรกสวรรค์ พรหม นิพพานมีจริง คำสอนของพระพุทธเจ้ามีจริง และอย่าลังเลสงสัยในการทำความดี


    ผมเคยอ่านบทความหนึ่งของ อาจารย์ นพ.สมศักดิ์ สืบสงวน ท่านกล่าวว่า ลูกหลานที่อธิฐานตามหลวงพ่อนั้น หากจะให้ถึงนิพพานในชาตินี้ต้อง ทำความเพียรแบบเร่งรัด และต้องทุกข์กว่าคนอื่นถึง ๗เ่ท่า เพราะอย่างที่บอก หลวงพ่อท่านเหลืออีกเพียง ๗ชาติเท่านั้นที่จะบรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ท่านหักเข้านิพพานเลยดังนั้นบารมีท่านจึงมาก พวกเราๆที่อธิฐานตามกันมา จึงเรียกว่า บารมีเข้าขั้นปรมัตถ์ทั้งหมดครับ เพียงแต่จะเร่งรัดตัวเองได้แค่ไหน หาก ไม่ขี้เกียจก็จบกิจในชาตินี้


    ลูกหลานหลวงพ่อ ที่่เกิดมาไม่ทันยุคของท่าน หากได้ฟัง ได้อ่าน คำสอนของท่าน จะรู้สึกคุ้นเคย รู้สึกอยากพบ รู้สึกอยากปฏิบัติ ตามแนวปฏิปทาของท่าน ให้รู้เอาไ้ว้เลยว่า คุณคือส่วนหนึ่งของลูกหลานท่านครับ และท่านก็จะเอาคุณไปอยู่ด้วยแน่นอน หากคุณตั้งใจจริงและไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค์ ผมกล้ารับประกันเลยครับ หากคุณปฏิบัติตามแนวคำสอนของท่าน อย่างจริงจัง ไม่เกินหนึ่งเดือน ชีวิตคุณจะเปลี่ยนไปอย่างไม่น่าเชื่อเลยครับ ลองดูสิครับ ไหนๆก็เกิดมาแล้ว ซักครั้งในชีวิตจะเป็นไรไป

    ผมไม่ได้บอกให้คุณเชื่อ แต่ผมต้องการให้คุณพิสูจน์เอง



    ขอทุกท่านเจริญในธรรมยิ่งๆขึ้นไปด้วยครับ
     
  19. โมกขทรัพย์

    โมกขทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    474
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,849
    โมทนาในธรรมทานเป็นอย่างสูงครับผม สาธุ สาธุ สาธุ
     
  20. โมกขทรัพย์

    โมกขทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    474
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,849
    เรื่องภัยพิบัติ นั้น เตรียมตัวตั้งแต่เนิ่นๆนะครับ เริ่มแต่เดือนหน้านี้เป็นต้นไปครับ เฝ้าระวังครับ

    สังเกตุว่าให้นะครับ ช่วงนี้อาจจะมีเกจิดังหลายท่าน ท่านละสังขารเพื่อช่วยให้ชะลอการเกิดภัยพิบัติออกไปสักหน่อยครับ แต่นั่นก็แล้วแต่ บารมีของหลวงปู่หลวงพ่อท่านจะยื้อไว้ได้นานเท่าไรนะครับ


    โมทนาในกุศลกรรมทั้งมวลของทุกท่าน และเจ้าของกระทู้ด้วยครับ สาธุ สาธุ สาธุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...