พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ปางจงกรมแก้ว

    คอลัมน์ รื่นร่ม รมเยศ

    โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

    [​IMG]

    ไม่ค่อยได้เห็นบ่อยนัก เห็นภาพวาดลายเส้น เป็นพระพุทธรูปทรงยืน พระหัตถ์ทั้งสองห้อยลงมาประสานอยู่หน้าพระเพลา แสดงอาการก้าวเดินจงกรม พระเนตรทอดต่ำลงมา อยู่ในอาการสำรวม เห็นปั๊บก็รู้ว่า "กำลังเดิน"

    ความเป็นมาดังที่กล่าวไว้ในตอนก่อน (ตอนว่าด้วยปางถวายเนตร) พระอรรถกถาจารย์เพิ่มเข้ามาภายหลัง เพราะในพระไตรปิฎกกล่าวว่า หลังตรัสรู้ พระพุทธเจ้าประทับเสวยวิมุติสุขใต้ต้นโพธิ์ และต้นไม้อื่นในปริมณฑลเพียง 4 สัปดาห์ แต่อรรถกถาเพิ่มเข้ามาอีก 3 สัปดาห์ รวมเป็น 7 สัปดาห์

    เหตุที่เพิ่มนั้นเราไม่ทราบ แต่พอจะเดาได้บางเรื่องบางประเด็น (จะกล่าวถึงภายหลัง) ก่อนอื่นขอเล่าตามที่ท่านรจนาไว้ก่อน

    ในสัปดาห์ที่ 3 หลังตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงถอยจากจุดที่ทรงยืนจ้องต้นพระศรีมหาโพธิ์ เข้ามาอยู่ตรงกึ่งกลางระหว่างต้นพระศรีมหาโพธิ์กับอนิมิสสเจดีย์ ทรงเดินจงกรมไปมาอยู่ตลอดเจ็ดวัน

    จงกรม แปลตามศัพท์ว่า เดินธรรมดานี่แหละครับ แต่นำมาใช้เรียกการเดินช้าๆ และเดินกลับไปกลับมาด้วย ถามว่าทำไมต้องเดินกลับไปกลับมา ตอบง่าย เพราะในการฝึกสมาธิ พระท่านจะทำสถานที่สำหรับเดินจงกรมเป็นพิเศษ บางแห่งสร้างเป็นแท่น หรือแพลตฟอร์มเตี้ยๆ จึงต้องกำหนดพื้นที่ที่กว้างยาวพอเหมาะแก่การนี้ การเดินจะต้องใช้ระยะเวลานานพอสมควร เพื่อให้จิตเป็นสมาธิ จึงต้องเดินกลับไปกลับมาหลายเที่ยว

    จุดประสงค์ของการเดินจงกรมในกรณีของพระพุทธองค์นั้น เข้าใจว่าเพื่อทรงเปลี่ยนพระอิริยาบถเท่านั้นเอง สังเกตดูพระพุทธองค์ประทับเสียส่วนมาก ไม่ได้ทรงพระดำเนินเลย ใต้ต้นโพธิ์ก็นั่ง ใต้ต้นไทรก็นั่ง ใต้ต้นเกดก็นั่ง ใต้ต้นจิกก็นั่ง แต่ละแห่งก็นั่ง "มาราธอน" ถึง 7 วัน พูดด้วยภาษาสามัญก็ว่าคงต้องเมื่อยขบแหละครับ เพิ่งจะมียืนและเดินก็ตอนนี้เอง และถ้าจะคิดลึกไปกว่านี้ การที่พระพุทธองค์ทรงทำอย่างนี้ ก็เท่ากับบอกนัยสำคัญดังนี้

    1.เน้นย้ำเรื่อง "สายกลาง" จริงอยู่ สายกลางที่ว่าคือ ข้อปฏิบัติตามหลักอริยมรรคมีองค์แปด เพื่อพ้นทุกข์ แต่ในความหมายที่ประยุกต์มาเพื่อใช้กับกรณีอื่น คือ "ความพอดี" ถ้าหากเกณฑ์ให้พระพุทธองค์ประทับอย่างเดียว ไม่มีการพักผ่อนพระอิริยาบถ หรือเปลี่ยนพระอิริยาบถเลย ก็เท่ากับไม่เน้น "ความพอดี" กลายเป็นสนับสนุนการกระทำที่ "ตึง" เกินไป ไม่รู้จัก "พักผ่อน" เสียบ้าง

    2.การพักผ่อนที่ว่านี้ คือ การเปลี่ยนอิริยาบถ มิใช่การนอนหลับ นั่งนานๆ เกิดความเมื่อยขบ ลุกมาเดินเสียบ้าง แต่ในการเดินนั้นก็เดินอย่างสำรวม มีสติกำกับทุกย่างก้าว การทำเช่นนี้เป็นการ "พักผ่อนที่มิได้พักผ่อน" หรือการ "ไม่พักผ่อนที่เป็นการพักผ่อน"

    ผมว่านี้คือ "รหัสนัย" ที่พึงไขให้แจ้งชัด พระพุทธศาสนาสอนให้เห็นความสำคัญของกาลเวลา ไม่พึงปล่อยกาลเวลาให้ล่วงเลยไปเปล่า โดยมิได้ทำอะไรให้เกิดประโยชน์ หายใจเข้าออกทุกวินาที ให้ถือเอาประโยชน์จากการหายใจให้ได้ ทุกการเคลื่อนไหว ทุกอิริยาบถ ควรจะเป็นเครื่องมือ หรือสื่อแห่งการปฏิบัติธรรม

    พระพุทธองค์ทรงเดินจงกรมไปมา หลังจากยืนจ้องต้นโพธิ์อยู่เจ็ดวัน บางท่านอาจคิดว่าทรงทรมานพระองค์เอง ทั้งๆ ที่ทรงเลิกละวิธีอย่างนั้นมาแล้ว แต่แท้ที่จริง พระองค์ทรง "พักผ่อน" แต่พักผ่อนด้วยการ "ทำงาน" อย่างอื่น คือ เปลี่ยนพระอิริยาบถ

    เคยถามนักปราชญ์ท่านหนึ่งผู้ซึ่งตลอดชีวิตของท่านทำแต่งาน ว่าท่านไม่พักผ่อนบ้างเลยหรือ ท่านบอกว่า พักผ่อน ไม่พักก็แย่สิ ท่านเปลี่ยนอิริยาบถ เปลี่ยนงานทำเป็นระยะ เช่น เขียนหนังสือวิชาการหนักสมองไปสักระยะหนึ่ง สมองล้าเข้า ก็หันมาเขียนเรื่องเบาสมอง ท่านว่านี้คือการพักผ่อน "พักโดยไม่พัก" ท่านว่าอย่างนั้น

    ผมว่าท่านคงได้ "เคล็ดลับ" จากพุทธจริยาวัตรตอนนี้นี่เอง ทั้งหมดนี้ ผมเดาเอาทั้งนั้นครับ ไม่เชื่อก็อย่าดูหมิ่น

    เพราะฉะนั้น ในการฝึกสมาธิวิปัสสนา นอกจากจะให้นั่งแล้ว ยังให้เดินจงกรมด้วย ถือเป็นส่วนหนึ่งแห่งการฝึกปฏิบัติ (หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน ท่านให้ศิษย์ "วิ่งจงกรม" แทนเดินช้าๆ ก็ถือว่าเป็นการ "จงกรม" เหมือนกัน)

    นั่งจนเหมื่อยแล้ว ลุกเดินบ้าง อย่างน้อยก็เป็นการพักผ่อน ยืดเส้นยืดสาย แต่ในการพักผ่อนนั้น ได้ทำงานไปในตัวอย่างต่อเนื่องด้วย จึงไม่ต้องแปลกใจที่ทำไมบางท่านทำสมาธิกันได้ทน ตลอดทั้งวันก็ไม่เหนื่อย

    ก็จะเหนื่อยอะไรเล่า ได้พักผ่อนอยู่ในตัวนี่ครับ

    http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01bud02200952&sectionid=0121&day=2009-09-20
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ช้างป่า

    Daily News Online > โลกสีสวย > ศิลปวัฒนธรรม > สบาย ๆ สไตล์"ไมตรี" > ช้างป่า

    [​IMG]

    ครูคนหนึ่งเล่าให้ผมฟังว่า ได้ถามลูกศิษย์วัย 10 ขวบว่า

    “สัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติไทยเป็นสัตว์อะไร”

    “หมีแพนด้าครับ” เป็นคำตอบของลูกศิษย์

    แสดงให้เห็นว่ากระแสของหมีแพนด้ามาแรงเหลือเกิน

    ครูจึงต้องอธิบายให้รู้ว่า ที่ถูกต้อง สัตว์ประจำชาติไทย คือ ช้าง

    ตั้งแต่หมีแพนด้าโด่งดัง

    มีข่าวเรื่องหมีแพนด้าทุกวันจนทำให้คนรักช้าง พากันอิจฉาหมีแพนด้า ในจำนวนนั้นมีผมร่วมอยู่ด้วยคนหนึ่ง และถ้าช้างรู้ มันก็ต้องน้อยใจ

    มีเจ้าของช้างรายหนึ่ง ถึงกับต้องเอาสีขาวกับสีดำมาทาตัวช้างเพื่อให้มีสีเหมือนแพนด้าก็มี

    ที่ทำเช่นนี้คงต้องการให้ช้างมีสีสวยเหมือนหมีแพนด้า หรือไม่ก็ต้องการประชดก็เป็นได้ ที่คนไทยพากันเห่อหมีมากกว่าช้างทั้ง ๆ ที่หมีแพนด้าไม่ได้เป็นสมบัติของไทย เพียงแต่มาอาศัยเกิดในเมืองไทยเท่านั้น ซึ่งอีกไม่นานก็จะถูกพาตัวกลับจีน

    ว่ากันตามที่จริงแล้ว ช้างเป็นสัตว์ที่น่ารักไม่แพ้หมีแพนด้า เพียงแต่คนไม่สามารถอุ้มช้างและโอบกอดช้างได้ ทั้งที่ช้างเป็นสัตว์ที่น่าอุ้ม น่ากอดไว้บนตักมากที่สุด

    ปกติ สัตว์ตัวใหญ่จะไม่น่ารัก เช่น เสือ สิง กระทิง แรด ม้า วัว ควาย หรือสัตว์บางชนิดอาจจะน่ารัก แต่ผมมั่นใจว่าสัตว์ที่เอ่ยนามมานี้ไม่มีสัตว์ชนิดใด น่ารักเหมือนช้าง

    ช้างตัวใหญ่อย่างเดียวไม่พอ ยังหัวใหญ่ หูยังกับใบเรือ จมูกยาวเหมือนงู ขาก็ตัน เท้าก็โต แต่กลับมีตาเล็กนิดเดียว แถมตัวยังดำอีกต่างหาก (ยกเว้นช้างเผือก)

    ถ้ามองแยกเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของช้างจะไม่น่าดูเลย แต่ถ้ามองรวม ๆ ทั้งตัว ถือได้ว่าช้างเป็นสัตว์ที่รูปงามและสง่า

    ช้างไม่ได้เป็นเพียงสัตว์ที่น่ารักเท่านั้น ยังฉลาดด้วย ช้างเลียนแบบมนุษย์ได้เกือบทุกอย่าง เช่น ให้ช้างเต้นรำ ให้ช้างยืนสองขา ให้ช้างนั่ง แม้แต่ให้ช้างวาดรูป ช้างก็ทำได้ดี

    คนทั่วโลกอยากเห็นช้าง ทั้งเห็นช้างเฉย ๆ และเห็นช้างแสดง คณะลครสัตว์จึงขาดช้างไม่ได้

    สถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่งก็จะใช้ช้างนี้แหละเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยว

    ปกติในอดีตนานมาแล้วช้างจะอาศัยอยู่ในป่ามีแต่ช้างป่า คนไปคล้องช้างจากป่าออกมาใช้งาน จนกลายเป็นช้างบ้าน

    ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ผมเคยไปส่องสัตว์ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พบช้างป่าตัวหนึ่งกำลังหากินอยู่ข้างทาง ทำให้ตื่นเต้นเอามาก ๆ เพราะปกติเคยเห็นแต่ช้างบ้าน

    นักท่องเที่ยวทุกคนที่ไปส่องสัตว์ในเวลากลางคืนจะเป็นเช่นนี้ทุกคน คือจะตื่นเต้นเหมือนกับที่ผมตื่นเต้น และไม่ใช่ว่าจะโชคดีได้เห็นช้างทุกคน เพราะบางคนไปส่องสัตว์ที่เขาใหญ่มาแล้วหลายครั้ง ได้เห็นแต่กวาง ไม่ได้เห็นช้างป่าแม้แต่ตัวเดียว

    ผมยังเคยแนะนำให้หัวหน้าอุทยานหาช้างบ้านมาล่ามโซ่ไว้ใต้ต้นไม้ในป่าที่ไหนสักแห่ง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ส่องไฟเพื่อทุกคนจะได้ไม่ผิดหวัง จะได้ตื่นเต้น เพราะไม่รู้หรอกว่าเป็นช้างป่าหรือไม่

    บางคนไปเที่ยวเขาใหญ่โชคดีกว่าผม คือได้เห็นช้างป่าเป็นโขลง

    การได้เห็นช้างป่ามาก ๆ เช่นนี้ไม่ได้ตื่นเต้นอย่างเดียว ยังเกิดอาการกลัวด้วย คือกลัวว่าช้างทั้งโขลงจะชวนกันวิ่งเข้ามาหา

    ผู้รู้เคยแนะนำว่า ถ้าพบช้างป่าอย่าทำให้ช้างตกใจ หรือถ้าถูกช้างไล่ ก็ให้วิ่งแบบหักมุม เพราะช้างตัวใหญ่จะหมุนหรือกลับตัวลำบาก

    ผมก็ว่าไปอย่างนั้นเอง เพราะช้างป่าถ้าไม่จำเป็นจะไม่ทำร้ายมนุษย์เด็ดขาดอย่าว่าจะทำร้ายเลย แค่ช้างป่าได้กลิ่นมนุษย์ ก็หนีห่างแล้ว

    ฉะนั้น คนที่มีกลิ่นตัวแรง เวลาเดินทางเข้าป่ามักจะไม่ค่อยได้เห็นช้าง หรือจะพรมน้ำหอมก่อนเข้าป่าก็ไม่ได้ ช้างจมูกไวจะหนีเข้าป่าลึกทันที

    “คนที่เข้าป่าแล้วได้พบเห็นช้างถือว่าฟลุกเต็มที ส่วนใหญ่จะเห็นแต่ขี้ช้าง” ผู้รู้สรุป

    ข้อมูลอันนี้น่าจะเป็นจริงที่สุดเพราะผมก็เข้าป่าบ่อย เคยพบช้างป่าตัวเป็น ๆ เฉพาะที่เขาใหญ่เพียงแห่งเดียวเท่านั้น

    ตอนไปเข้าป่าที่เพชรบูรณ์ ที่ประจวบคีรีขันธ์ และที่ห้วยขาแข้ง ในเขตจังหวัดอุทัยธานี ทั้ง ๆ มีช้างป่าอาศัยอยู่ไม่น้อย แต่ผมได้เห็นเพียงขี้ของพวกมันเท่านั้น

    ถ้าต้องการให้เห็นช้างป่า ดีที่สุดจะต้องทำห้างอยู่บนต้นไม้แอบดูช้างเวลาพวกมันมากินน้ำ ซึ่งมีหลายอุทยานเริ่มใช้วิธีนี้เพื่ออำนวยความสะดวกให้นักนิยมไพร

    ผมก็ไม่ทราบว่า ปัจจุบันนี้เมืองไทยของเรามีช้างป่าจำนวนมากน้อยแค่ไหน แต่ขอเดาว่าน่าจะมีมากขึ้น มีมากจนช้างบางตัวต้องออกจากป่ามาขโมยพืชไร่ชาวบ้านกิน

    ล่าสุดเมื่อเร็ว ๆ นี้บริเวณใกล้ ๆ กับอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีช้างป่าตัวหนึ่งอายุประมาณ 15 ปี ต้องล้มทั้งยืน นอนตายสนิท

    ที่ช้างต้องตายเกิดจากสาเหตุถูกไฟฟ้าช็อต ซึ่งชาวไร่ได้ขึงลวดที่มีกระแสไฟฟ้ากั้นเป็นรั้วไว้ เพื่อป้องกันไม่ให้ช้างป่าเข้าไปกินพืชไร่ที่ปลูกไว้

    ปกติจะปล่อยกระแสไฟฟ้าเพียงเบาบางแค่ให้ช้างเวลาสัมผัสลวดแล้วจะตกใจ หนีเข้าป่า ทว่าครั้งนี้คงจะปล่อยกระแสไฟฟ้าแรงไปหน่อย จึงทำให้ช้างล้ม (ตาย) ไปตัวหนึ่ง

    ผมเชื่อว่า ทุกคนที่ได้รับทราบข่าวช้างต้องตายด้วยวิธีนี้จะต้องพากันสงสารช้าง เพราะเหตุที่ช้างต้องออกมากินพืชไร่ของชาวบ้าน ถ้าไม่เป็นเพราะป่าไม้ถูกทำลายจนมีอาหารไม่พอให้ช้างกิน ก็อาจจะเกิดจากมีจำนวนช้างป่ามากขึ้น จนบางตัวต้องแตกโขลงออกมาหากินนอกป่าตามลำพัง

    ต่อไปนี้ เอาอย่างนี้ดีไหมครับ คือปล่อยให้ช้างป่ากินพืชไร่ของชาวบ้านได้ตามสบายโดยให้เจ้าของพืชไร่แจ้งให้กำนันผู้ใหญ่บ้านรับทราบว่าช้างกินไปเท่าไร ต้องเสียหายมากแค่ไหน เพื่อเสนอจังหวัดขอเงินค่าชดเชย

    หากทำอย่างที่ว่านี้ได้ ก็จะช่วยทั้งช้างและคน ไม่ให้เดือดร้อน

    เท่าที่ผมทราบ แต่ละจังหวัด โดยผู้ว่าราชการจังหวัดมีเงินเลี้ยงรับรองคน ปีละไม่น้อยเลย

    น่าจะแบ่งเงินส่วนหนึ่งมาเลี้ยงรับรองช้างป่าบ้างก็ไม่น่าจะผิดกติกาแต่ประการใด.

    ไมตรี ลิมปิชาติ
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สตางค์ทองคำราคากว่าล้าน

    Daily News Online > โลกสีสวย > ศิลปวัฒนธรรม > พบกันวันอาทิตย์ > สตางค์ทองคำราคากว่าล้าน

    [​IMG]

    หลังจากที่ตีพิมพ์เรื่องสตางค์แดงสมัย ร.5 รวม 3 ราคาคือ 1 ส.ต. 5 ส.ต. และ 10 ส.ต. ไปเมื่อเร็ว ๆ นี้

    ปรากฏว่ามีผู้สอบถามมามากมายต้องการจะขายสตางค์แดงที่ตนมีอยู่ เพราะตามที่เผยแพร่ไปนั้น สตางค์ทั้ง 3 อัน มีราคาถึง 1 ล้าน 2 แสนบาท

    ขอย้ำขอบอกให้ทราบกันอีกครั้ง ว่าสตางค์ราคา 1 ส.ต. 5 ส.ต. และ 10 ส.ต. ดังกล่าวนั้น “เป็นทองคำ” สั่งทำเป็นตัวอย่าง

    สตางค์ทองคำดังกล่าวจัดสร้างสมัยรัชกาลที่ 5 ระบุมีในสตางค์ว่าปี ร.ศ.127

    สำหรับสตางค์ชนิดปกติธรรมดานั้น

    ชนิดราคา 5 ส.ต. และ 10 ส.ต. นั้นเป็นสตางค์นิกเกิล

    ส่วนสตางค์แดง 1 ส.ต. นั้น ผสมทองแดงร้อยละ 95 ดีบุก 4 และสังกะสี 1

    สตางค์ทั้ง 3 ชนิดนี้ ออกใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451 เป็นการใช้เงินตราตามระบบทศนิยมตามพระราชมาตราทองคำ ร.ศ.127

    สตางค์เหล่านี้เจาะรูตรงกลางเพื่อร้อยผูกเป็นพวง พกพาไปได้สะดวก

    คนในยุคนั้นผู้หญิงจะมีเข็มกลัดขนาดใหญ่ร้อยสตางค์คาดไว้กับเข็มขัดที่เอว

    ด้านหน้าของสตางค์ รอบรูกลางเป็นรูปอุณาโลม หมายถึงพระโลมา ระหว่างพระขนงของพระพุทธเจ้า หมายความว่าประเทศไทยนับถือพระพุทธศาสนา และพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ มีอักษรคำว่า “สยามรัฐ” กับ “สตางค์” และมีเลขบอกราคาอยู่ด้านล่าง

    ด้านหลังเป็นรูปจักรทักษิณาวัตรมีศักราชบอกปีที่ผลิตอยู่รอบรูตรงกลางวงขอบเรียบ ปีแรกสร้าง ร.ศ.127 ผลิตจากประเทศเบลเยียม

    สตางค์ 10 ส.ต. มีเฉพาะปี ร.ศ.127 และ 129 ซึ่งไม่มีคำว่า ร.ศ.อยู่ข้างหน้า ราคาปัจจุบันประมาณ 50 บาท ถึง 1,000 บาท แล้วแต่สภาพของเหรียญ

    ส่วนชนิดราคา 5 ส.ต. มีปี ร.ศ.127 ส่วนปี ร.ศ. 128 และ 129 ไม่มีคำว่า ร.ศ.อยู่ข้างหน้า ราคา 50 ถึง 1,000 บาท

    ชนิดทองแดงราคา 1 ส.ต. ปี ร.ศ.127 ส่วนปี ร.ศ. 128 และ ปี ร.ศ.129 ไม่มีคำว่า ร.ศ.อยู่ข้างหน้า ราคา 50 ถึง 1,000 บาท

    สตางค์ชุดนี้สมัย ร.6 มีลักษณะอย่างเดียวกัน

    ชนิดราคา 10 ส.ต. มีปี ร.ศ.130 และ 131 ไม่มีอักษร ร.ศ.อยู่ข้างหน้า นอกจากนี้ก็มีปี พ.ศ. 2456, 2457, 2461, 2462, 2463 และ 2464

    ส่วนปี 2466 และ 2467 นั้นหายากมาก

    ส่วนราคานั้นก็ประมาณ 50 ถึง 1,000 บาท เว้นปี พ.ศ. เลข ๖ หางสั้น ราคา 1,000-5,000 บาท เช่นเดียวกับปี 2463 ไม่มีคำว่า พ.ศ. ราคาสูงเช่นกัน

    ส่วนสตางค์ 5 ส.ต. นั้น มีปี ร.ศ.131 ไม่มีคำว่า ร.ศ. นอกจากนั้นก็มีปี พ.ศ. 2456, 2457, 2461, 2463, 2464 และ 2466 ราคาประมาณ 50 ถึง 1,000 บาท

    ส่วนสตางค์แดง 1 ส.ต. นั้นมีปี ร.ศ.130 ไม่มีคำว่า ร.ศ. นอกจากนั้นก็มีปี พ.ศ. 2456, 2457, 2458, 2461, 2462, 2463, 2464, 2466 และ 2467 ราคานั้นประมาณ 50 ถึง 1,000 บาท เว้นปี พ.ศ. 2464 ราคา 1,000-3,000 บาท

    สตางค์ชุดนี้ผลิตใช้ใน ร.7 และ ร.8 ต่อมาจึงเปลี่ยนรูปใหม่ในปี 2480

    พบกันอาทิตย์หน้า.

    สมเจตน์ วัฒนาธร
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    'ริดสีดวงทวารหนัก'


    อาการผิดปกติทางทวารหนักที่พบได้บ่อยที่สุดเรื่องหนึ่งคือ การถ่ายเป็นเลือดสด มีเลือดออกหลังถ่าย หรือ ขณะทำความสะอาด ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าเป็นโรคริดสีดวงทวารหนัก ทั้งที่ในความเป็นจริงอาการถ่ายเป็นเลือดอาจเกิดได้จากสาเหตุอื่นอีก เช่น โรคแผลปริปากทวารหนัก โรคติดเชื้อของลำไส้ใหญ่และทวารหนัก โรคลำไส้เป็นกระเปาะ และโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก เป็นต้น

    ริดสีดวงทวารหนัก (hemorrhoid, pile) เกิดจากเยื่อบุและกระจุกเส้นเลือดปกติบริเวณ ใกล้รูทวารหนักซึ่งทำหน้าที่เป็นหมอนกันกระแทกอยู่ภายในเกิดการขยายตัวและหย่อนยาน ทำให้เนื้อเยื่อดังกล่าวเกิดการเลื่อนที่ลงล่างออกมาสู่บริเวณปากทวารหนัก อาจร่วมกับมีการฉีกขาดของเส้นเลือด ทำให้เกิดโรคริดสีดวงทวารหนัก

    อาการของโรคริดสีดวงทวารหนัก มักจะมีอาการถ่ายเป็นเลือดสด โดยไม่มีอาการปวด อาจพบก้อนยื่นออกมาขณะถ่าย หรือ มีก้อนที่ปากทวารหนักอยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าเกิดมีลิ่มเลือดอุดตันในริดสีดวงทวาร จะทำให้มีอาการปวดมาก สาเหตุที่ทำให้เกิดริดสีดวงทวารหนักยังไม่ทราบแน่ชัด มีปัจจัยหลายอย่างที่อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นริดสีดวงทวารหนัก ได้แก่ ท้องผูก เบ่งมาก นั่งส้วมนาน โดยเฉพาะผู้ที่ชอบอ่านหนังสือขณะเข้าห้องน้ำ หรือคนที่ท้องเสียถ่ายบ่อย รวมถึงผู้ที่มีประวัติมีคนในครอบครัวเป็นก็จะมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้สูงขึ้น

    อุบัติการณ์ของโรคนี้ สามารถประเมินได้ยาก เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรง และผู้ป่วยบางคนที่มีอาการมากแล้ว แต่มีความอายหรือกลัวที่จะมาพบแพทย์ จึงทำให้สถิติผู้ป่วยโรคนี้ต่ำกว่าความเป็นจริงมาก มีบางรายงานในต่างประเทศพบว่าสามารถพบโรคนี้มากถึง 86% ตลอดช่วงชีวิตของประชากร จึงอาจกล่าวได้ว่า โรคริดสีดวงทวารหนักเป็นโรคที่มีความชุกสูง มากโรคหนึ่ง

    ทางการแพทย์มักแบ่งริดสีดวงทวารหนักออกเป็น 2 ชนิดคือ ริดสีดวงภายใน (internal hemorrhoid) และ ริดสีดวงภายนอก (external hemorrhoid)

    ริดสีดวงทวารหนักภายใน คือ ริดสีดวงซึ่งเกิดในช่องทวารเหนือรอยต่อของเยื่อบุของลำไส้ตรงกับผิวหนังของช่องทวารหนัก ซึ่งเยื่อบุของริดสีดวงชนิดนี้จะมีประสาทรับความเจ็บปวดน้อยมาก นิยมแบ่งความรุนแรงของริดสีดวงทวารหนักภายในออกเป็น 4 ระยะ คือ

    ระยะที่ 1 มีเพียงอาการถ่ายเป็นเลือด โดยไม่มีก้อนโผล่จากปากทวารหนัก

    ระยะที่ 2 มีก้อนโผล่ออกมาขณะถ่ายและกลับเข้าในปากทวารได้เองหลังถ่ายเสร็จ

    ระยะที่ 3 ก้อนที่โผล่ออกมาไม่สามารถกลับเข้าไปได้เอง ต้องใช้นิ้วช่วยดัน

    ระยะที่ 4 มีก้อนโผล่ออกมาตลอดเวลาหรือดันกลับเข้าไปแล้วก็ยังออกมาอีก

    การรักษาทำได้หลายวิธี

    วิธีที่ 1 วิธีการรักษาแบบประคับประ คอง ทำได้โดยการสร้างสุขนิสัยที่ดี ขับถ่ายให้ เป็นเวลา ไม่ควรนั่งส้วมนาน รับประทานผักผลไม้และดื่มน้ำให้เพียงพอ การรับประทานยาเพิ่มกากใยอาหารเพื่อให้ถ่ายง่ายขึ้น

    วิธีที่ 2 การฉีดยาบริเวณรอบหัวริดสีดวง (sclerosing injection) เพื่อให้เกิดพังผืดรัดหัวริดสีดวงและฝ่อไปเองภายหลัง ข้อดีคือไม่เจ็บ ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล ฉีดยาเสร็จกลับบ้านได้เลย ได้ผลดีในริดสีดวงระยะที่ 1 และ 2 แต่ในริดสีดวงระยะที่ 3 ได้ผลไม่ค่อยดีนัก

    วิธีที่ 3 การรัดยาง (rubber band ligation) วิธีการคือ แพทย์จะใช้เครื่องมือจับเหนือตัวริดสีดวงและยิงห่วงยางขนาดเล็ก เพื่อรัดเหนือหัวริดสีดวงซึ่ง เป็นบริเวณที่มีเส้นเลือดเข้ามาเลี้ยง หลังจากรัดยาง เนื้อเยื่อที่ถูกรัดจะค่อย ๆ ขาดเลือด ประมาณ 5-7 วันหัวริดสีดวงก็จะหลุดออกมาเอง ริดสีดวงก็จะถูกรั้งไว้ภายในโดยพังผืดที่เกิดตามมา หลังจากรัดยางผู้ป่วยจะ มีเพียงอาการปวดถ่วงในทวารหนักเล็กน้อย น้อยรายที่จะมีอาการปวดมาก ที่สำคัญเป็นวิธีที่ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล วิธีนี้เหมาะกับริดสีดวงระยะที่ 2 และ 3 หรือระยะที่ 4 บางราย

    วิธีที่ 4 การผ่าตัดหัวริดสีดวงออก เหมาะกับริดสีดวงระยะที่ 4 หรือระยะที่ 3 บางรายที่รักษาด้วยวิธีฉีดยาหรือรัดยางแล้วไม่ได้ผล ริดสีดวงทวารหนักภายในร่วมกับภายนอก และในกรณีที่เกิดโรคแทรกซ้อน เช่น ริดสีดวงอักเสบซึ่งทำให้เจ็บปวดรุนแรงมาก หรือมีเลือดออกมาก

    การผ่าตัดทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับลักษณะ ของริดสีดวงทวาร ความเหมาะสมให้กับผู้ป่วย แต่ละคน และความชำนาญของศัลยแพทย์ ศัลย แพทย์ลำไส้ใหญ่และทวารหนักมักจะตัดริดสีดวงทวารออกและเย็บปิดแผลผ่าตัดโดยการใช้ยาชาเฉพาะที่ฉีดรอบปากทวารหนัก ไม่จำเป็นต้องฉีดยาชาเข้าไขสันหลังหรือดมยาสลบ ภายหลังผ่าตัดผู้ป่วยสามารถกลับบ้านได้ภายใน 1 วัน และ อาการปวดแผลมักจะไม่รุนแรง ส่วนการดูแลแผลผ่าตัดก็ไม่ยุ่งยาก และสามารถกลับเข้าทำงานตามปกติได้เร็ว

    มีการนำเครื่องมือผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์มาใช้ในการผ่าตัดริดสีดวงทวารหนักแทนมีดผ่าตัดธรรมดาในระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา พบว่า สามารถห้ามเลือดได้ดี อาการปวดแผลผ่าตัดและระยะเวลาการหายน้อยกว่าการผ่าตัดธรรมดา แต่มีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นมาก จึงไม่ได้รับความนิยมเท่า ที่ควร

    การผ่าตัดริดสีดวงด้วยเครื่องมือตัดและเย็บลำไส้อัตโนมัติ (staples hemorrhoidopexy) เป็นการผ่าตัดวิธีใหม่ที่เริ่มมีการทำกันมากขึ้น เหมาะกับริดสีดวงภายในที่ปลิ้นออกมาด้านนอกและสามารถดันกลับเข้าด้านในได้หมด ข้อดีคือใช้เวลาผ่าตัดสั้น อาการปวดหลังผ่าตัดไม่รุนแรง ข้อเสียคือเครื่องมือมีราคาค่อนข้างแพง อัตราการกลับเป็นใหม่สูงกว่าการผ่าตัดธรรมดา และไม่สามารถกำจัดริดสีดวงภายนอกที่เป็นมาก ๆ ได้

    สำหรับริดสีดวงภายนอก โดยทั่วไปเป็นเพียงติ่งเนื้อที่อยู่ภายนอกปากทวารหนักและมักจะไม่สร้างปัญหา อาจมีเพียงความรำคาญ ทำความสะอาดยากหรือมีอาการคัน โดยทั่วไปไม่จำเป็นต้องรักษา ยกเว้นจะก่อให้เกิดความรำคาญมากหรือเกิดการปวดบวมจากการมีลิ่มเลือดในหัวริดสีดวง การรักษามีเพียงวิธีเดียวคือ การผ่าตัดหัวริดสีดวงออก

    การป้องกันไม่ให้เป็นริดสีดวงทวารหนัก ทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการขับถ่ายโดยฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา ไม่นั่งส้วมนาน รับประทานอาหารที่มีกากใยอาหารสูง เช่น ผักและผลไม้ดื่มน้ำให้เพียงพอ และที่สำคัญเมื่อมีอาการผิดปกติ เกี่ยวกับการขับถ่ายควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางที่ชำนาญเพื่อตรวจหาสาเหตุที่แท้จริงต่อไป

    ข้อมูลจาก นายแพทย์นพดล นฤปิติ ศัลยแพทย์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก โรงพยาบาล พญาไท 3.

    นายแพทย์สุรพงศ์ อำพันวงษ์


    Daily News Online > โลกสีสวย > แรงงาน-สาธารณสุข > ชีวิตและสุขภาพ > 'ริดสีดวงทวารหนัก'
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    [​IMG]
    3.8 KB, ดาวน์โหลด 160 ครั้ง
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าท่านใดต้องการชมพระกริ่งสมเด็จกรมพระยาปวเรศบ้างครับ[​IMG] ผมจะส่งรูปให้ชมทาง Email ครับ

    [​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร

    [​IMG]
    หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ

    [​IMG]

    พระครูวิมลคุณากร หลวงปู่ศุขวัดปากคลองมะขามเฒ่า

    [​IMG]

    พระครูธรรมานุกูล (ภู จนฺทเกสโร)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    พระกริ่งสมเด็จกรมพระยาปวเรศ ผมจะส่งรูปให้ชมทาง Email แล้วนะครับ ผมส่งให้คุณnongnooo และคุณpsombat ครับ

    [​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร

    [​IMG]
    หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ

    [​IMG]

    พระครูวิมลคุณากร หลวงปู่ศุขวัดปากคลองมะขามเฒ่า

    [​IMG]

    พระครูธรรมานุกูล (ภู จนฺทเกสโร)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    [​IMG]
    3.8 KB, ดาวน์โหลด 12 ครั้ง
    15 กันยายน 2552 เวลา 07:06 PM
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    3.8 KB, ดาวน์โหลด 119 ครั้ง
    15-09-2009 07:06 PM<!-- google_ad_section_end -->

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    อ่า...เปิดประเด็นให้ท่านเลขาหน่อยครับจากวิกิพีเดียครับ เงินสเตอร์ริงครับคร่าวๆ เค้ามักเรียกกันว่าเงิน925 เป็นโลหะผสมระหว่าเงิน 92.5% กับ ทองแดง 7.5% ครับ ค้นพบมาตั้งแต่ ประมาณ ศตวรรษที่13แล้วครับ

    Sterling silver

    From Wikipedia, the free encyclopedia


    Jump to: navigation, search
    <TABLE class="metadata plainlinks ambox ambox-style"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>[​IMG]

    </TD><TD class=mbox-text>This article includes a list of references, related reading or external links, but its sources remain unclear because it lacks inline citations. Please improve this article by introducing more precise citations where appropriate. <SMALL>(June 2009)</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>Sterling silver is an alloy of silver containing 92.5% by weight of silver and 7.5% by weight of other metals, usually copper. The sterling silver standard has a minimum millesimal fineness of 925.
    [​IMG] [​IMG]
    Pair of sterling silver forks


    Fine silver (99.9% pure) is generally too soft for producing large functional objects; therefore, the silver is usually alloyed with copper to give it strength, while at the same time preserving the ductility and beauty of the precious metal. Other metals can replace the copper, usually with the intent to improve various properties of the basic sterling alloy such as reducing casting porosity, eliminating firescale, and increasing resistance to tarnish. These replacement metals include germanium, zinc and platinum, as well as a variety of other additives, including silicon and boron. A number of alloys, such as Argentium sterling silver have appeared in recent years, formulated to lessen firescale or to inhibit tarnish, and this has sparked heavy competition among the various manufacturers, who are rushing to make claims of having the best formulation. However, no one alloy has emerged to replace copper as the industry standard, and alloy development is a very active area.

    <TABLE class=toc id=toc summary=Contents><TBODY><TR><TD>Contents

    [hide]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "show"; var tocHideText = "hide"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [edit] Origin of the alloy metal

    Although the origin of the word "sterling" is controversial, there is general agreement that the sterling alloy originated in continental Europe, and was being used for commerce as early as the 12th century in the area that is now northern Germany.

    [edit] Origin of the word "sterling", used to refer to the silver alloy

    The word "sterling", used in reference to the 925 grade of silver, emerged in England by the 13th century. The terms "sterling" and "pound sterling" acquired their meaning in more than a century, and from convergent sources. There are three possible origins for the word "sterling"; two originate from 12th and 13th century coinage, and one is generally discounted. The word could have derived from the Old English word "stiere", meaning "strong, firm, immovable".

    [edit] Starling theory, discounted

    Although marks of birds have been used in some coins of Edward the Confessor, sterling is not likely to have been derived from starling, as the word for starling at the time was spelled stær.
    Challenge to discount: the 'ling' suffix was often used in old english as a mark of quality in connection with / following on from the prefix. This would imply that, dropping the 'a' of 'æ' in 'stær' (method sometimes used to distinguish between meanings or articles of words, or to create words for new things that have a relation to existing things) and adding the suffix 'ling' would create 'sterling' (poss. orig. 'stærling' - conjecture) meaning 'a thing of quality relating to the stær'.

    [edit] Mint mark theory

    The 1955 edition of the Oxford English Dictionary states that the early Middle English name sterling was presumably descriptive of small stars that were visible on early Norman pennies. (Old English: steorling.)

    [edit] "Easterling" theory

    An alternative explanation put forth by Walter de Pinchebek circa 1300 is that sterling silver may have been known first as "Easterling Silver". The term "Easterling Silver" is believed to have been used to refer to the grade of silver that had originally been used as the local currency in an area of Germany, known as "The Easterling".
    This "Easterling" area consisted of five towns in northern Germany that banded together in the 12th century under the name Hanseatic League. The Hanseatic League proceeded to engage in considerable commerce with England. In payment for English cattle and grain, the League used their local currency. This currency was in the form of 92.5% silver coins. England soon learned that these coins, which they referred to as "the coins of the Easterlings", were of a reliably high quality and hardness.
    King Henry II set about to adopt the alloy as the standard for English currency. He recruited metal refiners from The Easterling and put them to work making silver coins for England. The silver these refiners produced came into usage as currency by 1158 in the form of what are now known as "Tealby Pennies", and was eventually adopted as a standard alloy throughout England. The original name "Easterling Silver" later became known as simply "sterling silver".
    The original English silver penny was 22½ troy grains of fine silver (as pure as can readily be made). 22½ troy grains is equivalent to 30 so-called tower grains or one tower pennyweight. When Henry II reformed the coinage, he based the new coinage on the then international standard of the troy pound rather than the pre-conquest English standard of the tower pound. A troy pennyweight is 24 troy grains. To maintain the same amount of silver (and thus the same value) in a coin that weighed more required less silver. It required that the alloy be only 92½% pure.
    Though coin weights and silver purity varied considerably (reaching a low point before the reign of Elizabeth I, who reinstated sterling silver coinage for the first time since the early 14th century), the pound sterling was used as currency in England from the 12th century until the middle of the 20th century. Specifically this was in the silver coins of the British Empire: Britain, British colonies, and some former British colonies. This sterling coin silver is not to be confused with American "coin silver".
    Sterling silver, no longer used in circulating currency, is still used for flatware, jewellery and plate, and is a grade of silver respected for both relatively high purity and sufficient hardness to form durable objects in daily use.

    [edit] A century of dining regalia: the silver craze of 1840 to 1940

    [​IMG] [​IMG]
    19th-century Tiffany & Co. Pitcher. Circa 1871. Pitcher has paneled sides, and repousse design with shells, scrolls and flowers. Top edge is repousse arrowhead leaf design.


    From about 1840 to somewhere around 1940 in the United States and Europe, sterling silver flatware became de rigueur when setting a proper table. In fact, there was a marked increase in the number of silver companies that emerged during that period.
    The height of the silver craze was during the 50-year period from 1870 to 1920. Flatware lines during this period sometimes included up to 100 different types of pieces. In conjunction with this, the dinner went from three courses to sometimes ten or more. There was a soup course, a salad course, a fruit course, a cheese course, an antipasto course, a fish course, the main course and a pastry or dessert course.
    Individual eating implements often included forks (dinner fork, place fork, salad fork, pastry fork, shrimp or cocktail fork), spoons (teaspoon, coffee spoon, demitasse spoon, bouillon spoon, gumbo soup spoon, iced tea spoon) and knives (dinner knife, place knife, butter spreader, fruit knife, cheese knife). This was especially true during the Victorian time period, when etiquette dictated that nothing should be touched with one's fingers.
    Serving pieces were often elaborately decorated and pierced and embellished with ivory, and could include any or all of the following: carving knife and fork, salad knife and fork, cold meat fork, punch ladle, soup ladle, gravy ladle, casserole serving spoon, berry spoon, lasagna server, macaroni server, asparagus server, cucumber server, tomato server, olive spoon, cheese scoop, fish knife and fork, pastry server, petit four server, cake knife, bon bon spoon, tiny salt spoon, sugar sifter or caster and crumb remover with brush.
    Flatware sets were often accompanied by tea services, hot water pots, chocolate pots, trays and salvers, goblets, demitasse cups and saucers, liqueur cups, bouillon cups, egg cups, sterling plates, napkin rings, water and wine pitchers and coasters, candelabra and even elaborate centerpieces.
    In fact, the craze with sterling even extended to business (sterling page clips, mechanical pencils, letter openers, calling card boxes, cigarette cases), to the boudoir (sterling dresser trays, mirrors, hair and suit brushes, pill bottles, manicure sets, shoehorns, perfume bottles, powder bottles, hair clips) and even to children (cups, flatware, rattles, christening sets).
    A number of factors converged to make sterling fall out of favor around the time of World War II. The cost of labor rose (sterling pieces were all still mostly hand-made, with only the basics being done by machine). Only the wealthy could afford the large number of servants required for fancy dining with ten courses. And changes in aesthetics resulted in people desiring simpler dinnerware that was easier to clean.

    [edit] Hallmarks


    Over the years, most countries in the world have developed their own systems of hallmarking silver. The purpose of hallmark application is manifold:
    • To indicate the purity of the silver alloy used in the manufacture or hand-crafting of the piece.
    • To identify the silversmith or company that made the piece.
    • To note the date and/or location of the manufacture.
    [edit] Miscellaneous


    In addition to the uses of sterling silver mentioned above, there are some little known uses of sterling:
    • Medical instruments: Evidence of silver and/or silver-alloy surgical and medical instruments has been found in civilisations as early as Ur, Hellenistic-era Egypt and Rome, and their use continued until largely replaced in Western countries in the mid to late 20th century by cheaper, disposable plastic items. Its natural malleability is an obvious physical advantage, but it also exhibits medically-specific utility, including the fact that it is naturally aseptic, and, in respect of modern medical practices, it is resistant to antiseptics, heat sterilisation and body fluids.
    • Musical instruments: Due to sterling silver having a special sound character, some brasswind instrument manufacturers use 92.5% sterling silver as the material for making their instruments, including the flute and saxophones. For example, some leading saxophone manufactuers such as Selmer and Yanagisawa have crafted some of their saxophones from sterling silver, which they believe will make the instruments more resonant and colorful in timbre.
    [edit] Tarnish and corrosion

    As the purity of the silver decreases, the problem of corrosion or tarnishing increases.
    Chemically, silver is not very reactive — it does not react with oxygen or water at ordinary temperatures, so does not easily form a silver oxide. However, other metals in the alloy, usually copper, may react with oxygen in the air.
    The black silver sulfide (Ag<SUB>2</SUB>S) is among the most insoluble salts in aqueous solution, a property that is exploited for separating silver ions from other positive ions.
    Sodium chloride (NaCl) or common table salt is known to corrode silver-copper alloy, typically seen in silver salt shakers where corrosion appears around the holes in the top.
    <TABLE class="metadata plainlinks mbox-small" style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #f9f9f9"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>[​IMG]</TD><TD class=mbox-text>The Wikibook Do-It-Yourself has a page on the topic of Polishing silver

    </TD></TR></TBODY></TABLE>Several products have been developed for the purpose of polishing silver that serve to remove sulfur from the metal without damaging or warping it. Because harsh polishing and buffing can permanently damage and devalue a piece of antique silver, valuable items are typically hand-polished to preserve the unique patinas of older pieces. Techniques such as wheel polishing, which are typically performed by professional jewelers or silver repair companies, are reserved for extreme tarnish or corrosion. See also Tarnish, Removal.

    [edit] References
    • All About Antique Silver with International Hallmarks, 2nd printing (2007), by Diana Sanders Cinamon, AAA Publishing, San Bernardino, CA.
    • Origins: A Short Etymological Dictionary of Modern English, by lexicographer Eric Partridge.
    • The Oxford English Dictionary, by John Simpson and Edmund Weiner.
    • Silver in America, 1840–1940: A Century of Splendor, third edition (1997), by Charles L. Venable; Harry N. Abrams, Inc., New York, NY.
    • Tiffany Silver Flatware, 1845–1905: When Dining Was an Art, by William P. Hood, Jr.; 1999; published by the Antique Collectors Club Ltd., Suffolk, England.
    • The Encyclopedia of American Silver Manufacturers, revised fourth edition (1998), by Dorothy T. Rainwater and Judy Redfield; Schiffer Publishing Ltd., Atglen, PA.
    • The Book of Old Silver, English – American – Foreign, With All Available Hallmarks Including Sheffield Plate Marks, by Seymour B. Wyler; 1937; Crown Publishers, Inc., New York, NY.
    • International Hallmarks on Silver Collected by Tardy, 5th English Language reprint (2000); original publication date unknown, date of first softcover publication 1985; author unknown; publisher unknown.
    [edit] External links
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: gold" colSpan=2>[hide]
    v d e


    Jewellery
    </TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Forms</TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Anklet · Belt buckle · Bracelet · Brooch · Chatelaine · Crown · Cufflink · Earring · Necklace · Ring · Tiara · Tie bar · Watch (pocket)

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Making</TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">
    <TABLE class="nowraplinks navbox-subgroup" style="WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">People

    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Bench jeweler · Goldsmith · Jewelry designer · Lapidary · Watchmaker

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Processes

    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Casting (centrifugal, lost-wax, vacuum) · Enameling · Engraving · Filigree · Metal clay · Plating · Polishing · Repoussé and chasing · Soldering · Stonesetting · Wire wrapping

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Tools

    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Draw plate · File · Hammer · Mandrel · Pliers

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Materials</TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">
    <TABLE class="nowraplinks navbox-subgroup" style="WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Precious metals

    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Gold · Palladium · Platinum · Rhodium · Silver

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Precious metal alloys

    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Colored gold · Crown gold · Electrum · Platinum sterling · Sterling silver · Britannia silver · Tumbaga

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Base metals/alloys

    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Brass · Bronze · Copper · Pewter · Stainless steel · Titanium

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Mineral Gemstones

    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Aventurine · Agate · Alexandrite · Amethyst · Aquamarine · Carnelian · Citrine · Diamond · Emerald · Garnet · Jade · Jasper · Malachite · Lapis lazuli · Moonstone · Onyx · Opal · Peridot · Quartz · Ruby · Sapphire · Sodalite · Sunstone · Tanzanite · Tiger's Eye · Topaz · Tourmaline

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Organic Gemstones

    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Amber · Copal · Coral · Jet · Pearl · Abalone

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Terms</TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Carat (mass) · Carat (purity) · Finding · Millesimal fineness

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เหอๆๆๆๆ ผมไปเห็นมาแล้วครับที่วัดไ.... ซึ่งเจ้าของวัดไ...... การันตีว่า เป็นเงินสเตอร์ริง

    แต่อย่างไรก็ตาม สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือคลำ หุหุหุ
     
  7. มูริญโญ่

    มูริญโญ่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +583

    ผมจองด้วยนะครับ 1 เล่มcatt13
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    เกือบลืม

    วันศุกร์ที่ 18 กันยายน 2552 พี่แอ๊ว ,คุณแด๋น ,ผมและผบทบ.ผม ได้ร่วมทำบุญกับทุนนิธิสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร โดยผ่านทางพี่ใหญ่

    และได้มอบเงินร่วมทำบุญงานกฐิน ให้กับทางพี่ใหญ่เรียบร้อยแล้ว

    มาโมทนาบุญร่วมกันครับ

    .

    .
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์

    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 19.92552/ จำนวน 1,000 บาท
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 19.92552/
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435705", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม โอนเงินแล้ววันที่ 19.92552/
    6.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ลุงจิ๋ว<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435951", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน(โอนวันที่ 28 กย 52)
    7.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Natachai<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2408238", true); </SCRIPT> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    8.น้องชาsira (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    9.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->มูริญโญ่<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    10.
    11.
    12.
    13.
    14.
    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.

    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สำหรับเรื่องการพูดคุยกับพี่ใหญ่ ไว้วันนัดพบกันในเดือนหน้า ผมจะนำไปเล่าให้ฟังกัน และมีเรื่องที่จะคุยกันเยอะ รวมทั้งงานใหญ่ปลายปีนี้ด้วยครับ

    ({)-----------------------**(*)(*)(*)(*)**-----------------------(})
     
  12. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  13. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,438
    หุหุ...กระผมอึ้งแล้วไม่เป็นไรมากเพราะเริ่มจะชินแล้ว...แต่รู้สึกว่าลูกพี่งานเข้าต้องปรับปรุงตำราใหม่ โดยเฉพาะตารางการจัดลำดับพระวังหน้า ทั้งๆที่พึ่งปรับปรุงเมื่อเดือนก่อน เฮ้อ..ไม่รู้ว่าเดือนต่อไปพวกเราจะไปเจออะไรอีกมั่ง อยากหัวเราะให้ก้องเวป แต่ติดที่ต้องสงวนไว้ซึ่งสมบัติผู้(ดี)ยากไร้เสียหน่อย ก๊ากก!
     
  14. มูริญโญ่

    มูริญโญ่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +583
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead></TD><TD class=thead width="14%"><CENTER"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 77 คน ( เป็นสมาชิก 5 คน และ บุคคลทั่วไป 72 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>มูริญโญ่, suksit, sithiphong, psombat, narin96 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สวัสดีครับคุณ สมบัติ
    เหนื่อยครับช่วงนี้ ฮิฮิฮิฮิฮิฮิ
    แล้วค่อยเจอกันวันประชุมนะครับ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  16. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,438
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 20 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 17 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>psombat, chantasakuldecha, มูริญโญ่ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สวัสดีครับ ท่านพี่มูฯ - ท่านเลขาฯ และท่านอื่นๆ ดูแลสุขภาพด้วยนะครับ
     
  17. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    ได้รับแล้วครับ สุดยอดๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เกิดมมาเพิ่งเคยเห็นนี่แหละครับ
    ขอบคุณมากครับผม
     
  18. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 23 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 20 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>แหน่ง, nongnooo, psombat </TD></TR></TBODY></TABLE>


    สวัสดีครับท่านรองฯ และคุณสมบัติ สบายดีกันทุกท่านนะครับ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  20. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,438
    อ่าสวัสดีครับ...งานเข้า ขัดข้องหลายอย่างตั้งแต่เช้าแล้ว ตอนนี้ก็ยังไม่เสร็จ คาดว่ากลับบ้านดึกครับ :) เป็นไงครับ Audit ผ่านมั๊ย?
     

แชร์หน้านี้

Loading...